title
stringlengths
8
870
text
stringlengths
0
298k
__index_level_0__
int64
0
54.3k
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 31/2560 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 31/2560 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภท ตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองในข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2558 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “คําว่า “ผู้ลงทุนสถาบัน” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 16/1 และข้อ 16/2 ในหมวด 3 เงื่อนไขภายหลังการอนุญาต ของภาค 1 การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2558 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “ข้อ 16/1 ในการเสนอขายตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการจําหน่ายหุ้นตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจําหน่ายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทหุ้นและใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นของบริษัทที่ออกตราสารทุน โดยอนุโลม เว้นแต่ข้อกําหนดในส่วนนี้จะกําหนดไว้เป็นอย่างอื่น เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในวรรคหนึ่ง สํานักงานอาจกําหนดการอนุโลมใช้ในรายละเอียดให้เหมาะสมกับลักษณะของการเสนอขายตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศได้ ข้อ 16/2 ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ ดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศได้ เว้นแต่เป็นกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ประเภทนั้นอยู่แล้ว โดยผู้ได้รับอนุญาตต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการดังกล่าวตามประเภทของบริษัทหลักทรัพย์ด้วย โดยอนุโลม แต่ไม่รวมถึงข้อห้ามในการจัดสรรหลักทรัพย์ (2) การเสนอขายตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศดังกล่าวเป็นการเสนอขายทั้งจํานวนต่อผู้ลงทุนสถาบัน” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 18 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2558 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “หากผู้ได้รับอนุญาตไม่สามารถเสนอขายตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศได้ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ให้การอนุญาตให้เสนอขายตราสารดังกล่าวเป็นอันสิ้นสุดลง โดยผู้ได้รับอนุญาตต้องยกเลิกการขายทั้งหมด” ข้อ 4 ให้ยกเลิกความในข้อ 19 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2558 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 19 ให้ผู้ได้รับอนุญาตระบุข้อมูลเกี่ยวกับเหตุในการยกเลิกการขายตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ และการดําเนินการเมื่อมีการยกเลิกการขายตราสารดังกล่าวไว้ในเอกสารประกอบการเสนอขายอย่างชัดเจน” ข้อ 5 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2560 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
600
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 6/2561 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 6/2561 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภท ตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ (ฉบับที่ 4) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2559 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 14 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2558 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 14 หน่วยของอีทีเอฟต่างประเทศตามข้อ 12(1) (ข) ต้องมีลักษณะที่เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยข้อกําหนดเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยของโครงการจัดการลงทุนต่างประเทศ เว้นแต่หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดให้มีตัวแทน (local representative) ในประเทศไทยมิให้นํามาใช้บังคับ” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
601
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 82/2563 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 82/2563 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภท ตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ (ฉบับที่ 5) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 21 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2558 เรื่อง การออกและเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 21 ผู้ได้รับอนุญาตจะออกตราสารแสดงสิทธิการฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศให้แก่ผู้ลงทุนที่จองซื้อตราสารดังกล่าวได้ ต่อเมื่อผู้ได้รับอนุญาตมั่นใจว่ามีหลักทรัพย์ต่างประเทศเพียงพอที่จะรองรับจํานวนตราสารดังกล่าวที่ต้องจัดสรรให้แก่ผู้ลงทุน ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงระบบการชําระราคาและส่งมอบหลักทรัพย์ของตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
602
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 52/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใหม่ที่ยังไม่มีหลักเกณฑ์รองรับ
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 52/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใหม่ ที่ยังไม่มีหลักเกณฑ์รองรับ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 มาตรา 56 มาตรา 67 มาตรา 69 และมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป อื่นๆ ๑ ภาค 1 บททั่วไป หมวด ๑ วัตถุประสงค์ของประกาศ ข้อ ๒ เพื่อเพิ่มความคล่องตัวและความยืดหยุ่นของกระบวนการกํากับดูแลการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมให้การระดมทุนและการลงทุนในตราสารใหม่ ๆ ทันต่อความต้องการของภาคธุรกิจและผู้ลงทุนมากขึ้น ตลอดจนเพิ่มทางเลือกในการระดมทุนหรือให้บริการทางการเงินแก่ผู้ออกหลักทรัพย์และขยายโอกาสในการสร้างผลตอบแทนให้แก่ผู้ลงทุน โดยยังคงหลักการของการคุ้มครองผู้ลงทุนอย่างเหมาะสม ซึ่งจะช่วยยกระดับการพัฒนาและศักยภาพในการแข่งขันของตลาดทุนไทยให้เพิ่มขึ้น หลักเกณฑ์ตามประกาศนี้จึงกําหนดขึ้นในลักษณะที่มุ่งเน้นหลักการเป็นสําคัญ (principle-based regulation) เพื่อให้สามารถรองรับนวัตกรรมทางการเงินที่หลากหลายรูปแบบได้ โดยให้ความสําคัญกับกระบวนการพัฒนาตราสารของผู้ออกหลักทรัพย์ซึ่งต้องคํานึงถึงความเหมาะสมของตราสารที่พัฒนาให้สอดคล้องกับกลุ่มผู้ลงทุนที่เป็นเป้าหมาย (sophistication match) และแผนการดําเนินการตามข้อผูกพันในการออกตราสารนั้น หมวด ๒ ขอบเขตการใช้ ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ซึ่งยังไม่มีข้อกําหนดไว้เป็นการเฉพาะในประกาศฉบับอื่น และคณะกรรมการกํากับตลาดทุนมีมติเห็นชอบให้การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ดังกล่าวอยู่ภายใต้บังคับแห่งประกาศนี้ ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการกํากับตลาดทุนอาจไม่นําหลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อตามประกาศนี้มาใช้บังคับกับการเสนอขายหลักทรัพย์ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรืออาจกําหนดเงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างให้ต้องปฏิบัติเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมกับลักษณะของหลักทรัพย์ ผู้ออกหลักทรัพย์ ผู้ลงทุน และการเสนอขาย เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของประกาศนี้ ข้อ ๔ ประกาศนี้มีข้อกําหนดเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ ในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การยื่นคําขออนุญาต ตามหมวด 1 ของภาค 3 (2) หลักเกณฑ์การอนุญาต ตามหมวด 2 ของภาค 3 (3) เงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาต ตามหมวด 3 ของภาค 3 (4) การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน ตามภาค 4 (5) การเปิดเผยข้อมูลอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ตามภาค 5 หมวด ๓ บทนิยาม ข้อ ๕ ในประกาศนี้ “บริษัท” หมายความว่า บริษัทตามบทนิยามคําว่า “บริษัท” ที่กําหนดไว้ตามมาตรา 4 “บริษัทไทย” หมายความว่า บริษัทตามมาตรา 4 ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยและให้หมายความรวมถึงสาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ “บริษัทต่างประเทศ” หมายความว่า บริษัทตามมาตรา 4 ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ “สาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ” หมายความว่า สาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศที่สามารถประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน “ผู้ลงทุนสถาบัน” หมายความว่า ผู้ลงทุนสถาบันตามบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ “ผู้สอบบัญชี” หมายความว่า ผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน “แบบแสดงรายการข้อมูล” หมายความว่า แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ “ข้อกําหนดสิทธิ” หมายความว่า ข้อกําหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหลักทรัพย์และผู้ถือหลักทรัพย์ “ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์” หมายความว่า ข้อมูลที่ใช้ในขั้นตอนการเสนอขายหลักทรัพย์ดังต่อไปนี้ (1) จํานวนและราคาหลักทรัพย์ที่เสนอขาย (2) ระยะเวลาของการเสนอขาย (3) อัตราผลประโยชน์ตอบแทน (4) รายละเอียดเกี่ยวกับการจอง การจัดจําหน่าย และการจัดสรร (5) ผลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ (ถ้ามี) (6) ข้อมูลอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ หรือที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน หรือเกี่ยวกับข้อมูลตาม (1) (2) (3) (4) และ (5) คําว่า “ผู้บริหาร” “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” “ผู้มีอํานาจควบคุม” “งบการเงินรวม” และ “ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หมวด ๔ ภาษาที่ใช้ในการยื่นข้อมูลหรือเอกสาร และงบการเงิน ข้อ ๖ การยื่นข้อมูลหรือเอกสารต่อสํานักงานตามประกาศนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงานเนื่องจากมีเหตุจําเป็นและสมควร (1) ในกรณีผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้เป็นบริษัทไทยแต่ไม่รวมถึงสาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ ให้ยื่นข้อมูลหรือเอกสารเป็นภาษาไทย ทั้งนี้ ในกรณีที่จะเสนอขายหลักทรัพย์ต่อผู้ลงทุนในต่างประเทศในช่วงเวลาเดียวกันหรือใกล้เคียงกันกับการเสนอขายต่อผู้ลงทุนในประเทศไทย ผู้มีหน้าที่ดังกล่าวอาจยื่นข้อมูลหรือเอกสารเป็นภาษาอังกฤษมาพร้อมด้วยก็ได้ (2) ในกรณีผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้เป็นบริษัทต่างประเทศหรือสาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ อาจยื่นข้อมูลหรือเอกสารที่จัดทําเป็นภาษาลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) ภาษาไทย (ข) ภาษาอังกฤษ (ค) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (3) ในกรณีที่ข้อมูลหรือเอกสารที่ยื่นต่อสํานักงานแปลมาจากข้อมูลหรือเอกสารภาษาอื่นนอกจากภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ให้ผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้ดําเนินการดังนี้ด้วย (ก) ดําเนินการให้ผู้แปลรับรองความถูกต้องว่า สาระของการแปลถูกต้องตรงตามสาระของข้อมูลหรือเอกสารที่เป็นต้นฉบับ (ข) ผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้ต้องรับรองว่า สาระของข้อมูลหรือเอกสารที่แปลนั้น เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นหรือมีอยู่จริง และมิได้มีการปกปิดข้อเท็จจริงที่พึงเปิดเผย ข้อมูลหรือเอกสารที่ยื่นต่อสํานักงานตามประกาศนี้ หากได้จัดทําเป็นภาษาใดในครั้งแรกให้จัดทําโดยใช้ภาษานั้นต่อไป ไม่ว่าจะมีการจัดทําด้วยภาษาอื่นด้วยหรือไม่ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงานในกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควร ข้อ ๗ งบการเงินที่เปิดเผยในรายงานหรือเอกสารตามประกาศนี้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) งบการเงินและงบการเงินรวมประจํารอบปีบัญชี รวมทั้งงบการเงินรายไตรมาส ต้องผ่านการตรวจสอบหรือสอบทาน แล้วแต่กรณี จากผู้สอบบัญชี และต้องจัดทําตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังนี้ (ก) กรณีผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้เป็นบริษัทไทย งบการเงินดังกล่าวต้องจัดทําตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย เว้นแต่ผู้มีหน้าที่เป็นสาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศงบการเงินดังกล่าวต้องจัดทําตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่หน่วยงานทางการซึ่งเป็นผู้กํากับดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรงของสาขาธนาคารพาณิชย์นั้นกําหนด (ข) กรณีผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้เป็นบริษัทต่างประเทศ งบการเงินดังกล่าวต้องจัดทําตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ 1. International Financial Reporting Standards (IFRS) 2. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่หน่วยงานทางการซึ่งเป็นผู้กํากับดูแลการประกอบธุรกิจโดยตรงของบุคคลนั้นกําหนด ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ได้จัดทําและเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินโดยแสดงผลกระทบของรายการที่แตกต่างจาก IFRS (Reconcile IFRS) ไว้ด้วย 3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินอื่นที่สํานักงานยอมรับ (2) รายงานของผู้สอบบัญชี ต้องไม่มีความหมายในลักษณะดังนี้ (ก) การจัดทําและเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินไม่เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ต้องใช้ในการจัดทํางบการเงินนั้น (ข) ผู้สอบบัญชีถูกจํากัดขอบเขตการตรวจสอบหรือสอบทาน แล้วแต่กรณี โดยการกระทําหรือไม่กระทําของผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้ หรือของกรรมการหรือผู้บริหารของบุคคลดังกล่าว อื่นๆ ๒ ภาค 2 อํานาจของสํานักงาน ข้อ ๘ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจไม่อนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ตามประกาศนี้ได้ (1) ผู้ขออนุญาตหรือการเสนอขายหลักทรัพย์มีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการเสนอขายหลักทรัพย์นั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศนี้ ทหรือประกาศอื่น (2) การเสนอขายหลักทรัพย์อาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐ (3) การเสนอขายหลักทรัพย์อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม (4) การเสนอขายหลักทรัพย์อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุนโดยรวม หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนโดยรวมไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน ข้อ ๙ ในกรณีที่เข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจผ่อนผันไม่นําหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้มาใช้พิจารณาคําขออนุญาต หรือไม่นําเงื่อนไขตามประกาศนี้มาใช้บังคับกับการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตได้ (1) มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจนซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผันให้ไม่มีนัยสําคัญสําหรับการพิจารณาอนุญาตในกรณีนั้น และประโยชน์ที่จะได้ไม่คุ้มค่ากับต้นทุนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขดังกล่าว (2) ผู้ขออนุญาตมีข้อจํากัดตามกฎหมายอื่นที่ทําให้ไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน (3) ผู้ขออนุญาตมีมาตรการอื่นที่เพียงพอ และสามารถทดแทนการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน การผ่อนผันตามวรรคหนึ่งให้คํานึงถึงความเหมาะสมและความเพียงพอของข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนและมาตรการคุ้มครองผู้ลงทุนเป็นสําคัญ ทั้งนี้ สํานักงานอาจกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ขออนุญาตต้องปฏิบัติด้วยก็ได้ ข้อ ๑๐ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงเพิ่มเติมต่อสํานักงานภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ ซึ่งหากข้อเท็จจริงดังกล่าวปรากฏต่อสํานักงานก่อนการอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์นั้น อาจทําให้การพิจารณาของสํานักงานเปลี่ยนแปลงไป หรือในกรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในประกาศนี้หรือตามข้อผูกพันที่ให้ไว้ในคําขออนุญาต หรือแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน สํานักงานอาจดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) สั่งให้ผู้ได้รับอนุญาต กรรมการ หรือผู้บริหารชี้แจง หรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมภายในระยะเวลาที่กําหนด และให้ผู้ได้รับอนุญาตระงับการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตไว้ก่อนจนกว่าจะได้ชี้แจงหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (2) สั่งให้ผู้ได้รับอนุญาตหยุดการเสนอขายหลักทรัพย์ในส่วนที่ยังมิได้เสนอขายหรือยังไม่มีผู้จองซื้อ และให้การอนุญาตเป็นอันสิ้นสุดลงโดยไม่มีผลกระทบต่อการเสนอขายหลักทรัพย์ในส่วนที่ได้เสนอขายหรือมีผู้จองซื้อแล้ว ข้อ ๑๑ สํานักงานอาจผ่อนผันการเปิดเผยรายละเอียดของข้อมูลในเอกสารดังต่อไปนี้ได้ หากผู้เสนอขายหลักทรัพย์หรือบริษัทที่ออกหลักทรัพย์สามารถแสดงได้ว่าข้อมูลดังกล่าวมิใช่ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ และมีเหตุอันควรที่จะไม่แสดงรายละเอียดของข้อมูลดังกล่าวไว้ในเอกสารนั้นหรือได้ดําเนินการประการอื่นเพื่อทดแทนอย่างเพียงพอแล้ว (1) แบบแสดงรายการข้อมูลตามที่กําหนดในภาค 4 (2) รายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ตามที่กําหนดในภาค 5 ข้อ ๑๒ ในการพิจารณาข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน หากสํานักงานเห็นว่ามีเหตุจําเป็นและสมควรเพื่อให้ผู้ลงทุนมีข้อมูลที่มีนัยสําคัญเพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน สํานักงานอาจกําหนดให้ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ดําเนินการดังต่อไปนี้ภายในระยะเวลาที่สํานักงานกําหนด (1) เปิดเผยข้อมูลที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนเพิ่มเติม (2) ชี้แจง หรือแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูล หรือส่งเอกสารหลักฐานเพิ่มเติม (3) จัดให้มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่เป็นอิสระจัดทําความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วน หรือความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน หากผู้เสนอขายหลักทรัพย์ไม่ดําเนินการตามที่สํานักงานกําหนดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้เสนอขายหลักทรัพย์ไม่ประสงค์จะยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงานอีกต่อไป ในการกําหนดให้ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ดําเนินการตามวรรคหนึ่ง สํานักงานอาจกําหนดให้ผู้เสนอขายหลักทรัพย์เปิดเผยการสั่งการ การดําเนินการ ข้อสังเกตของสํานักงาน หรือคําชี้แจงของผู้เสนอขายหลักทรัพย์ ผ่านทางเว็บไซต์ของสํานักงานตามแนวทางที่สํานักงานกําหนดด้วยก็ได้ ข้อ ๑๓ ในกรณีมีเหตุจําเป็นและสมควรทําให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ไม่สามารถส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานต่อสํานักงานภายในระยะเวลาที่กําหนดในภาค 5บริษัทที่ออกหลักทรัพย์อาจมีหนังสือขอผ่อนผันการส่งรายงานดังกล่าวต่อสํานักงานก่อนวันครบระยะเวลาที่กําหนดไว้ พร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลในการขอผ่อนผันและแจ้งกําหนดระยะเวลาที่จะจัดส่งรายงานนั้น ในกรณีที่สํานักงานไม่ผ่อนผันให้ตามที่บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ร้องขอตามวรรคหนึ่ง บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ต้องรับผิดเนื่องจากการไม่ปฏิบัติตามมาตรา 56 นับแต่วันครบระยะเวลาที่กําหนดในการส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานตามที่กําหนดในภาค 5 ข้อ ๑๔ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามประกาศนี้ สํานักงานอาจดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) กําหนดหลักเกณฑ์ในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้ ให้มีความชัดเจนเพียงพอที่ผู้ขออนุญาตหรือผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้จะสามารถปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ในแนวเดียวกันทั้งนี้ การกําหนดหลักเกณฑ์ดังกล่าวอาจกําหนดตามลักษณะของหลักทรัพย์ ผู้ออกหลักทรัพย์ ผู้ลงทุน หรือการเสนอขายก็ได้ (2) กําหนดแนวทาง (guideline) การปฏิบัติในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้เพื่อเป็นการให้แนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเหมาะสมและสอดคล้องตามประกาศนี้ และหากผู้ขออนุญาตหรือผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าบุคคลดังกล่าวมีการปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้ในเรื่องที่มีการออกแนวทางนั้น ในการดําเนินการของสํานักงานตามวรรคหนึ่ง ให้นําปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ มาประกอบการพิจารณาดําเนินการด้วย (1) การส่งเสริมให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์มีความรับผิดชอบต่อผู้ลงทุน (2) ความได้สัดส่วนระหว่างภาระของผู้อยู่ใต้บังคับแห่งประกาศนี้ กับประโยชน์ที่ผู้ลงทุนโดยรวมจะได้รับ (3) การส่งเสริมให้เกิดทางเลือกในการระดมทุนและการลงทุน (4) การส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยรวม (5) การส่งเสริมการแข่งขันอย่างเป็นธรรมของภาคเอกชน ข้อ ๑๕ เพื่อให้สํานักงานสามารถติดตามการปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ ให้สํานักงานกําหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตหรือผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้จัดส่งข้อมูล รายงาน หรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง ต่อสํานักงานภายในระยะเวลาที่เหมาะสมได้ หรือจะสั่งการเป็นรายกรณีโดยต้องไม่เป็นภาระต่อบุคคลนั้นจนเกินสมควร ทั้งนี้ ระยะเวลาที่สํานักงานจะกําหนดให้เป็นไปตามกรอบดังนี้ (1) ในกรณีที่เป็นเรื่องเร่งด่วนและมีผลกระทบต่อบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ผู้ลงทุน หรือตลาดทุน อย่างมีนัยสําคัญ สํานักงานอาจกําหนดให้ดําเนินการภายในวันทําการที่เกิดกรณีดังกล่าวได้ (2) ในกรณีอื่นนอกจาก (1) ให้กําหนดระยะเวลาอย่างสมเหตุสมผลตามสภาพการณ์ เรื่อง และประเด็นที่เกี่ยวข้อง อื่นๆ ๓ ภาค 3 การขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ หมวด ๑ การยื่นคําขออนุญาต ข้อ ๑๖ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๑๗ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๑๘ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว หมวด ๒ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ส่วน ๑ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๑๙ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๒๐ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๒๑ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๒๒ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๒๓ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๒๔ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ส่วน ๒ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๒๕ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๒๖ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๒๗ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๒๘ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ส่วน ๓ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๒๙ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว หมวด ๓ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๓๐ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ส่วน ๑ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๓๑ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๓๒ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๓๓ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ส่วน ๒ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๓๔ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๓๕ ในการเสนอขายหลักทรัพย์ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งมีสาระตรงตามสรุปข้อมูลสําคัญของตราสารที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูล ในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือแผ่นบันทึกข้อมูลไปพร้อมกับการแจกใบจองซื้อหลักทรัพย์ด้วย (2) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในตราสารดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับตราสารได้ เว้นแต่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะแก่ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหลักทรัพย์ด้วย (3) ให้ความร่วมมือกับบริษัทหลักทรัพย์ในการตรวจสอบและสอบทานหลักทรัพย์ (product due diligence) ที่นําไปชักชวน แนะนํา หรือขาย รวมทั้งให้ข้อมูลแก่บริษัทหลักทรัพย์อย่าเพียงพอเพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (4) ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่บริษัทหลักทรัพย์ ผู้ได้รับอนุญาตต้องไม่กําหนดค่าตอบแทนในลักษณะที่เป็นการจูงใจหรือสนับสนุนให้มีการจําหน่ายหลักทรัพย์โดยไม่คํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนของผู้ลงทุน (5) ในกรณีที่ปรากฏว่าบริษัทหลักทรัพย์ดําเนินการใด ๆ ที่แตกต่างจากที่กําหนดไว้ในสัญญาจําหน่ายหลักทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ หรือกระทําการใดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ลงทุน ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการให้บริษัทหลักทรัพย์กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม (ก) ระงับการดําเนินการดังกล่าว (ข) แก้ไขหรือเยียวยาความเสียหายที่เกิดจากการดําเนินการดังกล่าว ข้อ ๓๖ ในกรณีที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (public offering) หากผู้ได้รับอนุญาตจะไม่จัดให้มีตลาดรอง (organized market) สําหรับการซื้อขายหลักทรัพย์ดังกล่าว สํานักงานอาจกําหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดให้มีกลไกที่เปิดโอกาสให้ผู้ลงทุนสามารถทบทวน ยกเลิก หรือไถ่ถอนการลงทุนตามควรแก่กรณีได้ ซึ่งรวมถึง (1) การกําหนดให้ผู้ลงทุนต้องมีการยืนยันคําสั่งซื้อหลักทรัพย์เมื่อพ้นระยะเวลาใดระยะเวลาหนึ่งนับแต่วันส่งคําสั่งซื้อหลักทรัพย์นั้น (pre-sale cooling-off period) (2) การให้สิทธิผู้ลงทุนยกเลิกหรือเพิกถอนการลงทุนภายหลังปิดการเสนอขาย โดยผู้ได้รับอนุญาตสามารถหักค่าใช้จ่ายที่จําเป็นตามสมควรจากเงินที่ต้องชําระคืนให้แก่ผู้ลงทุนได้ (post-sale cooling-off period) ส่วน ๓ เงื่อนไขภายหลังการเสนอขาย ข้อ ๓๗ ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดให้มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่เป็นไปตามข้อ 31 อย่างต่อเนื่องตลอดอายุของตราสาร เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควร สํานักงานอาจผ่อนผันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือโดยกําหนดเงื่อนเวลาหรือเงื่อนไขไว้ด้วยก็ได้ ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงความจําเป็นของผู้ลงทุนในการมีข้อมูลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือนั้น ข้อ ๓๘ ในกรณีเป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่มีการดําเนินการเพื่อเพิ่มระดับความน่าเชื่อถือ (credit enhancement) ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ด้วย (1) จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดําเนินการเพื่อเพิ่มระดับความน่าเชื่อถือ (credit enhancement) อย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาที่การดําเนินการดังกล่าวยังมีผลใช้บังคับ (2) ในกรณีที่เป็นการให้ทรัพย์สินเป็นหลักประกัน (ก) ดําเนินการตามกระบวนการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ทรัพย์สินนั้นเป็นหลักประกันได้ตามกฎหมาย (ข) จัดให้มีการประเมินและทบทวนการปรับอัตราส่วนลด (haircut) ของหลักประกันดังกล่าวอย่างต่อเนื่องตลอดอายุของตราสาร พร้อมทั้งเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวผ่านช่องทางที่ผู้ลงทุนสามารถเข้าถึงได้ ทั้งนี้ การประเมินและทบทวนดังกล่าวต้องกระทําโดยวิธีการและภายในระยะเวลาที่เหมาะสมโดยคํานึงถึงสภาพของหลักประกันแต่ละประเภท ข้อ ๓๙ การแก้ไขเพิ่มเติมสิทธิ หน้าที่ ความรับผิด หรือหลักประกันภายหลังการออกหลักทรัพย์ จะกระทําได้ต่อเมื่อการแก้ไขเพิ่มเติมนั้นมิได้ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดในประกาศนี้ และการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวได้ดําเนินการโดยชอบตามข้อกําหนดสิทธิหรือข้อตกลงที่เกี่ยวข้อง โดยผู้ได้รับอนุญาตต้องแจ้งการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวพร้อมทั้งส่งสําเนาเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อสํานักงานภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่การแก้ไขเพิ่มเติมนั้นมีผลใช้บังคับ และดําเนินการใด ๆ เพื่อให้ผู้ถือหลักทรัพย์ทราบถึงการแก้ไขเพิ่มเติมนั้นภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ในกรณีที่มีข้อกําหนดให้การดําเนินการตามวรรคหนึ่งจะกระทําได้จะต้องได้รับมติจากที่ประชุมผู้ถือหลักทรัพย์ หนังสือนัดประชุมผู้ถือหลักทรัพย์ดังกล่าวต้องระบุอย่างชัดเจนถึงสาเหตุแห่งการดําเนินการนั้น และผลกระทบที่เกิดขึ้นหรืออาจเกิดขึ้นกับผู้ถือหลักทรัพย์ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ การตัดสินใจของผู้ถือหลักทรัพย์ ข้อ ๔๐ ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดให้มีการทบทวนและปรับปรุงแผนดําเนินการก่อนและหลังการออกตราสารในส่วนที่เกี่ยวกับแผนการดําเนินการหลังได้รับอนุญาต (Compliance Plan - Ongoing Obligations) ให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ําเสมอตลอดอายุของตราสารโดยผู้ได้รับอนุญาตต้องแจ้งการปรับปรุงดังกล่าวพร้อมทั้งส่งสําเนาเอกสารต่อสํานักงาน และดําเนินการใด ๆ เพื่อให้ผู้ถือหลักทรัพย์ทราบถึงการปรับปรุงนั้นภายในระยะเวลาอันสมควร อื่นๆ ๔ ภาค 4 การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน หมวด ๑ ข้อกําหนดทั่วไป ข้อ ๔๑ การเสนอขายหลักทรัพย์ที่อยู่ภายใต้บังคับแห่งประกาศนี้ จะกระทําได้ต่อเมื่อผู้เสนอขายหลักทรัพย์ได้ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน และแบบแสดงรายการข้อมูลดังกล่าวมีผลใช้บังคับแล้ว ข้อ ๔๒ ในกรณีที่ระยะเวลาการเสนอขายหลักทรัพย์ตามที่กําหนดในแบบแสดงรายการข้อมูลสิ้นสุดลงแล้ว หากผู้เสนอขายหลักทรัพย์ประสงค์จะเสนอขายหลักทรัพย์ส่วนที่เหลือจากการเสนอขายครั้งก่อนอีก ให้ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนฉบับใหม่ต่อสํานักงาน หมวด ๒ วิธีการยื่น และค่าธรรมเนียม ข้อ ๔๓ ให้ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลตามที่กําหนดในข้อ 45 และร่างหนังสือชี้ชวนตามแบบที่กําหนดตามมาตรา 72 ต่อสํานักงาน โดยให้ดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนพร้อมเอกสารหลักฐานตามที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงานในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์จํานวนหนึ่งชุด รวมทั้งสําเนาแบบแสดงรายการข้อมูลจํานวนหนึ่งชุด (2) ส่งข้อมูลในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบการรับส่งข้อมูลตามที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ข้อมูลที่ยื่นต่อสํานักงานตามวรรคหนึ่งทั้งในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์และข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ต้องมีข้อความถูกต้องตรงกัน ข้อ ๔๔ ให้ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ชําระค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคําขอต่าง ๆ ในวันที่ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล หมวด ๓ แบบแสดงรายการข้อมูล ข้อ ๔๕ แบบแสดงรายการข้อมูลที่ยื่นต่อสํานักงาน ต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) ไม่มีข้อมูลที่เป็นเท็จ หรือที่อาจทําให้สําคัญผิด และไม่ขาดข้อความที่ควรต้องแจ้งในสาระสําคัญ (2) ในกรณีเป็นการเสนอขายหลักทรัพย์พร้อมกันหรือในระยะเวลาใกล้เคียงกันในประเทศอื่นด้วย ต้องมีรายละเอียดข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องที่พึงเปิดเผยต่อผู้ลงทุนไม่น้อยกว่าที่เปิดเผยในประเทศอื่น (3) มีข้อมูลตามที่กําหนดในมาตรา 69(1) ถึง (10) (4) มีข้อมูลเพิ่มเติมตามที่กําหนดในข้อ 46 แบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนที่ยื่นต่อสํานักงานตามวรรคหนึ่งต้องมีที่ปรึกษาทางการเงินที่อยู่ในบัญชีที่สํานักงานให้ความเห็นชอบเป็นผู้ร่วมจัดทําและรับรองความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูล ข้อ ๔๖ ให้ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลที่มีรายการครบถ้วนเป็นปัจจุบันต่อสํานักงาน ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีเป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน ให้ระบุข้อมูลตามที่กําหนดในมาตรา 69(1) ถึง (10) และข้อมูลอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน (2) กรณีอื่นนอกจาก (1) ให้ระบุรายละเอียดของรายการอย่างน้อยในเรื่องดังนี้ (ก) สรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ซึ่งแสดงสาระสําคัญของตราสารโดยสรุป รวมทั้งลักษณะพิเศษและความเสี่ยงที่สําคัญ (ข) ข้อมูลสรุป (executive summary) ซึ่งแสดงข้อมูลโดยย่อของผู้ออกหลักทรัพย์และวัตถุประสงค์การใช้เงิน (ค) ข้อมูลผู้ออกหลักทรัพย์ (ง) ข้อมูลเกี่ยวกับหลักทรัพย์และการเสนอขายหลักทรัพย์ (จ) ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน ผู้ค้ําประกันหรือคู่สัญญาบริหารความเสี่ยง (ถ้ามี) (ฉ) ข้อมูลผู้ดูแลรักษาผลประโยชน์ของผู้ลงทุน (ถ้ามี) ในกรณีเป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริษัทต่างประเทศ หรือเป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่มีการชําระค่าหลักทรัพย์เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ แบบแสดงรายการข้อมูลต้องมีข้อมูลเพิ่มเติมตามที่กําหนดในข้อ 48 หรือข้อ 49 แล้วแต่กรณีด้วย ข้อ ๔๗ ในการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลตามข้อ 46 ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ต้องจัดให้มีข้อมูลดังต่อไปนี้เป็นภาคผนวกต่อท้ายแบบแสดงรายการข้อมูลดังกล่าวด้วย (1) ร่างข้อกําหนดสิทธิ (2) รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ออกหลักทรัพย์ (3) งบการเงินประจํารอบปีบัญชีล่าสุด และงบการเงินรายไตรมาสล่าสุดของผู้ออกหลักทรัพย์และผู้ค้ําประกัน (ถ้ามี) (4) เอกสารอื่นใดตามที่สํานักงานประกาศกําหนดเพิ่มเติม ข้อ ๔๘ ในกรณีเป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริษัทต่างประเทศ แบบแสดงรายการข้อมูลที่ยื่นต่อสํานักงานต้องมีข้อมูลเพิ่มเติมอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) ข้อมูลเกี่ยวกับข้อจํากัดและความเสี่ยงในเรื่องดังนี้ (ก) สิทธิและความคุ้มครองที่ผู้ลงทุนได้รับจากการลงทุนในหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริษัทต่างประเทศ ซึ่งไม่แตกต่างจากกรณีที่ผู้ลงทุนไปลงทุนในต่างประเทศเองโดยตรง ดังนั้นผู้ลงทุนจึงต้องศึกษาและติดตามข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมายและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องของประเทศที่จะใช้บังคับกับสิทธิตามหลักทรัพย์นั้น ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวให้แสดงในหน้าปกของแบบแสดงรายการข้อมูลด้วยตัวอักษรที่เน้นและสามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน (ข) การดําเนินคดีทางกฎหมายกับบริษัทที่ออกหลักทรัพย์หรือผู้เสนอขายหลักทรัพย์ เนื่องจากมิได้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย ทั้งนี้ ให้ระบุถึงเขตอํานาจศาลในการฟ้องร้องบังคับคดีต่อบริษัทต่างประเทศด้วย (ค) ผลกระทบที่ผู้ถือหลักทรัพย์ของบริษัทต่างประเทศอาจได้รับ ในกรณีที่กฎหมายของประเทศที่เกี่ยวข้องกับบริษัทต่างประเทศนั้นมีข้อจํากัดในการส่งเงินออกนอกประเทศ (ถ้ามี) (ง) ข้อจํากัดในการซื้อหลักทรัพย์ของบริษัทต่างประเทศ ในกรณีที่หลักทรัพย์ดังกล่าวที่จะจัดสรรให้ผู้ลงทุนในประเทศ มีมูลค่าเกินกว่าวงเงินคงเหลือที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกําหนดสําหรับการควบคุมการทําธุรกรรมในตลาดทุนที่เกี่ยวข้องกับเงินตราต่างประเทศ (จ) ข้อจํากัดหรือความเสี่ยงอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการใช้สิทธิหรือการตัดสินใจของผู้ลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ (2) ข้อความที่ระบุไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับภาษาที่จะใช้ในการจัดทําหนังสือชี้ชวน งบการเงิน แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี และการให้ข้อมูลอื่นหรือรายงานเกี่ยวกับกิจการที่ผู้ออกหลักทรัพย์จัดทําเพื่อเผยแพร่ต่อสาธารณชน ข้อ ๔๙ ในกรณีเป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่มีการชําระค่าหลักทรัพย์เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ แบบแสดงรายการข้อมูลที่ยื่นต่อสํานักงานต้องมีข้อมูลเพิ่มเติมอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) ข้อจํากัดหรือความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา วิธีการจองซื้อ การชําระราคา การส่งมอบหลักทรัพย์ และวิธีการโอนหลักทรัพย์ รวมทั้งข้อมูลตามที่กําหนดในข้อ 48(1) (จ) (2) ข้อความที่ระบุไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับภาษาที่จะใช้ในการจัดทําเอกสารตามที่กําหนดในข้อ 48(2) ข้อ ๕๐ ในกรณีที่ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลที่จัดทําเฉพาะภาษาอังกฤษ หากผู้เสนอขายหลักทรัพย์ประสงค์จะเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์เป็นภาษาไทย ต้องจัดให้มีข้อมูลที่จะเผยแพร่ดังกล่าวไว้เป็นภาคผนวกต่อท้ายแบบแสดงรายการข้อมูลด้วย และให้ถือว่าข้อมูลดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของแบบแสดงรายการข้อมูล ข้อ ๕๑ ก่อนปิดการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาต หากผู้เสนอขายหลักทรัพย์ได้เปิดเผยข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญที่มิได้แสดงอยู่ในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวนให้แก่บุคคลใดเป็นการเฉพาะรายเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ความเหมาะสมของการลงทุนในหลักทรัพย์ที่เสนอขาย หรือการตัดสินใจลงทุนในหลักทรัพย์ที่เสนอขาย ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ต้องดําเนินการให้มีการเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าวในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวนโดยพลัน ทั้งนี้ ต้องไม่ช้ากว่าวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลมีผลใช้บังคับ หรือในกรณีที่แบบแสดงรายการข้อมูลมีผลใช้บังคับแล้ว ต้องไม่ช้ากว่าวันทําการถัดจากวันที่ได้เปิดเผยข้อเท็จจริงต่อบุคคลนั้น ข้อ ๕๒ ในกรณีที่ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ได้เสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใดในต่างประเทศ โดยมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายต่างประเทศนั้น เมื่อมีการเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทเดียวกันในประเทศไทย ให้ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ดังกล่าวเปิดเผยรายละเอียดของข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน ไม่น้อยกว่ารายละเอียดของข้อมูลที่ได้เปิดเผยในการเสนอขายหลักทรัพย์นั้นในต่างประเทศ หมวด ๔ การรับรองข้อมูล ข้อ ๕๓ การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) การเสนอขายหลักทรัพย์โดยผู้ออกหลักทรัพย์ซึ่งเป็นบริษัทไทย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ เว้นแต่เข้ากรณีตาม (3) (ก) กรณีการเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป 1. กรณีที่ผู้ออกหลักทรัพย์มิใช่บริษัทจดทะเบียน ให้กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุด และผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ลงลายมือชื่อ 2. กรณีที่ผู้ออกหลักทรัพย์เป็นบริษัทจดทะเบียน ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันมิใช่ผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดหรือผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี การลงลายมือชื่อดังกล่าวต้องมีผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดหรือผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ลงลายมือชื่อด้วย (ข) กรณีการเสนอขายหลักทรัพย์ต่อผู้ลงทุนสถาบัน ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ (2) การเสนอขายหลักทรัพย์โดยผู้ออกหลักทรัพย์ซึ่งเป็นบริษัทต่างประเทศ ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทดังกล่าว ลงลายมือชื่อ (3) การเสนอขายหลักทรัพย์โดยผู้ออกหลักทรัพย์ที่เป็นสาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศหรือนิติบุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันสาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศหรือนิติบุคคลดังกล่าว ลงลายมือชื่อ (4) การเสนอขายหลักทรัพย์โดยผู้ถือหลักทรัพย์ ให้ผู้ถือหลักทรัพย์ลงลายมือชื่อซึ่งในกรณีที่ผู้ถือหลักทรัพย์เป็นนิติบุคคล ให้ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลทุกคนลงลายมือชื่อ ในการนี้ ผู้ถือหลักทรัพย์ต้องจัดให้บุคคลที่ต้องลงลายมือชื่อของผู้ออกหลักทรัพย์ตาม (1) (2) หรือ (3) แล้วแต่กรณี ลงลายมือชื่อด้วย (5) ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงินลงลายมือชื่อ ข้อ ๕๔ ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควรทําให้บุคคลที่ต้องลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องของข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนตามที่กําหนดในข้อ 53(1) (2) (3) หรือ (4) แล้วแต่กรณี ไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ ให้ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน (1) หากเหตุที่ทําให้บุคคลดังกล่าวคนใดไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ เกิดจากการที่บุคคลดังกล่าวอยู่ในภาวะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บป่วยทางร่างกายหรือทางจิต ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน (2) หากเหตุที่ทําให้บุคคลดังกล่าวคนใดไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ เกิดจากกรณีอื่นนอกจากที่ระบุใน (1) เมื่อเหตุดังกล่าวหมดสิ้นไป ให้ผู้เสนอขายหลักทรัพย์จัดให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อทันที เพื่อให้แบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับได้ตามข้อ 55 หมวด ๕ วันมีผลใช้บังคับของแบบแสดงรายการข้อมูล และร่างหนังสือชี้ชวน ข้อ ๕๕ ภายใต้บังคับมาตรา 75 ให้แบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับเมื่อได้ดําเนินการตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้แล้ว (1) ในกรณีเป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ต้องได้รับอนุญาตตามมาตรา 33 (2) ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ได้ชําระค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล (3) เมื่อพ้นสิบวันทําการนับแต่วันที่สํานักงานได้รับแบบแสดงรายการข้อมูลที่แก้ไขเพิ่มเติมครั้งหลังสุด (ไม่รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์หรือข้อมูลอื่นที่มิใช่ข้อมูลสําคัญซึ่งสํานักงานผ่อนผันให้แก้ไขเพิ่มเติมได้) (4) ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ได้แก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลและ ได้เปิดเผยข้อมูลตามข้อ 12 วรรคหนึ่ง (1) หรือวรรคสาม (ถ้ามี) 00(5) ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ได้ระบุข้อมูลตามรายการในข้อ 46 ครบถ้วน อื่นๆ ๕ ภาค 5 การเปิดเผยข้อมูลอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ข้อ ๕๖ ให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ตามประกาศนี้ซึ่งมีการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์นั้นต่อสํานักงาน ไม่ว่าโดยบริษัทที่ออกหลักทรัพย์หรือผู้ถือหลักทรัพย์ มีหน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานตามภาคนี้ เว้นแต่มีเหตุที่ทําให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์สิ้นสุดหน้าที่ตามที่กําหนดในข้อ 63 ข้อ ๕๗ รายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานได้แก่ประเภทข้อมูลดังต่อไปนี้ (1) งบการเงิน (2) แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ข้อ ๕๘ ให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานตามข้อ 57 ต่อสํานักงาน ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ในส่วนที่เกี่ยวกับบริษัทที่ออกหุ้นกู้ โดยอนุโลม เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดในประกาศนี้ ข้อ ๕๙ การจัดทําและส่งรายงานตามข้อ 57 ให้เริ่มเมื่อแบบแสดงรายการข้อมูลที่ยื่นต่อสํานักงานมีผลใช้บังคับแล้ว ให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ที่เริ่มมีหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง จัดทําและส่งงบการเงินตามรอบระยะเวลาที่ถัดจากงบการเงินที่ปรากฏในแบบแสดงรายการข้อมูลดังกล่าว ข้อ ๖๐ แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปีของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ต้องมีข้อมูลสอดคล้องกับแบบแสดงรายการข้อมูลที่ยื่นต่อสํานักงานสําหรับการเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทนั้น โดยข้อมูลดังกล่าวต้องปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน ข้อ ๖๑ ในกรณีบริษัทที่ออกหลักทรัพย์มีหน้าที่ส่งรายงานเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานต่อตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศหรือหน่วยงานทางการในต่างประเทศ ให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ด้วย (1) ส่งรายงานที่บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ส่งต่อตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศหรือหน่วยงานทางการในต่างประเทศตามรอบระยะเวลาที่ตลาดหลักทรัพย์หรือหน่วยงานดังกล่าวกําหนดต่อสํานักงานด้วย (2) ในการจัดทําและส่งรายงานซึ่งบริษัทที่ออกหลักทรัพย์มีหน้าที่ส่งต่อสํานักงานตามภาคนี้ รายงานดังกล่าวต้องมีรายละเอียดของข้อมูลไม่น้อยกว่ารายงานที่บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ได้จัดทําและเปิดเผยต่อตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศหรือหน่วยงานทางการในต่างประเทศ (3) ในกรณีบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ต้องเปิดเผยข้อมูลในรายงานที่บริษัทส่งต่อตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศหรือหน่วยงานทางการในต่างประเทศตาม (1) เพิ่มเติม ให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อสํานักงานด้วย (4) บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ต้องส่งรายงานตาม (1) และ (2) และเปิดเผยข้อมูลตาม (3) (ถ้ามี) ต่อสํานักงานภายในระยะเวลาไม่ช้ากว่าที่บริษัทที่ออกหลักทรัพย์เปิดเผยต่อตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศหรือหน่วยงานทางการในต่างประเทศ ข้อ ๖๒ การจัดทําและจัดส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานต่อสํานักงานตามภาคนี้ ให้เป็นไปตามรูปแบบและวิธีการที่สํานักงานประกาศกําหนด ข้อ ๖๓ ให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์สิ้นสุดหน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทต่อสํานักงาน เมื่อเกิดกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) ผู้เสนอขายหลักทรัพย์ไม่ได้ขายหลักทรัพย์ภายในระยะเวลาที่สํานักงานอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ หรือผู้เสนอขายหลักทรัพย์ยกเลิกการเสนอขายหลักทรัพย์ตามที่ระบุในหนังสือชี้ชวน ทั้งนี้ ให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์สิ้นสุดหน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทเฉพาะเนื่องจากการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลสําหรับการเสนอขายหลักทรัพย์นั้น (2) บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ได้ชําระหนี้ตามหลักทรัพย์จนครบถ้วนแล้ว (3) บริษัทที่ออกหลักทรัพย์มีการชําระบัญชีเพื่อเลิกกิจการ (4) บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด (5) บริษัทที่ออกหลักทรัพย์เป็นสถาบันการเงินที่ถูกระงับการดําเนินกิจการตามคําสั่งของเจ้าพนักงานหรือหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ตามกฎหมาย ข้อ ๖๔ ให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์แจ้งเหตุที่ทําให้หน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทสิ้นสุดลงตามข้อ 63 ต่อสํานักงานก่อนถึงกําหนดเวลาส่งรายงานดังกล่าว ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557 (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
603
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 45/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใหม่ที่ยังไม่มีหลักเกณฑ์รองรับ (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 45/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใหม่ ที่ยังไม่มีหลักเกณฑ์รองรับ (ฉบับที่ 2) อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในข้อ 17 และข้อ 18 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 52/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใหม่ที่ยังไม่มีหลักเกณฑ์รองรับ ลงวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 17 ให้ผู้ขออนุญาตชําระค่าธรรมเนียมคําขออนุญาตต่อสํานักงานเมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาตที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ทั้งนี้ อัตราค่าธรรมเนียมให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และการขออนุมัติโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ข้อ 18 เมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาตพร้อมเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้สํานักงานดําเนินการสอบทานข้อเท็จจริงตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนและแจ้งประเด็นข้อสังเกตที่ได้จากการสอบทานข้อเท็จจริงเพื่อให้ผู้ขออนุญาตชี้แจงข้อสังเกตนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือแจ้งข้อสังเกต โดยต้องดําเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุญาตภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับคําชี้แจงต่อข้อสังเกตจากการสอบทานข้อเท็จจริงจากผู้ขออนุญาต ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ ให้ผู้ขออนุญาตยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงานก่อนที่สํานักงานจะเริ่มการพิจารณาตามวรรคสอง ทั้งนี้ ตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน โดยสํานักงานจะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาอนุญาตตามวรรคสอง” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
604
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 83/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใหม่ที่ยังไม่มีหลักเกณฑ์รองรับ (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 83/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใหม่ ที่ยังไม่มีหลักเกณฑ์รองรับ (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 35 และมาตรา 69 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกข้อ 28 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 52/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใหม่ที่ยังไม่มีหลักเกณฑ์รองรับ ลงวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ข้อ ๒ ให้ยกเลิก (ง) ใน (1) ของข้อ 48 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 52/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ประเภทใหม่ที่ยังไม่มีหลักเกณฑ์รองรับ ลงวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
605
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็น เงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 และมาตรา 40(11) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ต่อผู้ลงทุนในประเทศไทย ข้อ ๓ ในประกาศนี้ คําว่า “หุ้นกู้อนุพันธ์” “ผู้ลงทุนสถาบัน” “ผู้ลงทุนรายใหญ่” และ “การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายตราสารหนี้ทุกประเภท “ตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุน” หมายความว่า หุ้นกู้ที่ออกใหม่ประเภทไม่มีประกันที่มีการกําหนดให้สิทธิในการรับชําระหนี้ของผู้ถือหุ้นกู้ด้อยกว่าสิทธิของเจ้าหนี้สามัญ และมีลักษณะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในการนับเป็นเงินกองทุน โดยเป็นหุ้นกู้ชนิดใดชนิดหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) มีการกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ถือหุ้นกู้ปลดหนี้ (2) เป็นตราสารแปลงสภาพ “ตราสารแปลงสภาพ” หมายความว่า หุ้นกู้แปลงสภาพชนิดที่มีการกําหนดเงื่อนไขบังคับแปลงสภาพเป็นหุ้นที่ออกใหม่ของผู้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ “หุ้นรองรับ” หมายความว่า หุ้นออกใหม่ที่จัดไว้เพื่อรองรับการแปลงสภาพ “เงินกองทุน” หมายความว่า เงินกองทุนสําหรับธนาคารพาณิชย์ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย “ธนาคารพาณิชย์” หมายความว่า ธนาคารพาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน แต่ไม่รวมถึงสาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ “ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย” หมายความว่า ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยองค์ประกอบของเงินกองทุนสําหรับธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศ โดยอ้างอิงจากหลักเกณฑ์ BASEL III “ข้อกําหนดสิทธิ” หมายความว่า ข้อกําหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกตราสารและผู้ถือตราสาร “สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย” หมายความว่า สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยที่ได้รับใบอนุญาตและจดทะเบียนกับสํานักงาน หมวด ๑ บททั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔ เพื่อให้การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์เป็นไปโดยเหมาะสมกับประเภทผู้ลงทุนและความเสี่ยงของตราสาร ซึ่งมีลักษณะพิเศษโดยเป็นตราสารที่ต้องสามารถรองรับผลขาดทุนของธนาคารพาณิชย์ได้ในระหว่างดําเนินการใกล้เคียงกับหุ้นสามัญ (absorb losses on a going-concern basis) หรือเมื่อธนาคารพาณิชย์มีผลการดําเนินงานที่ไม่สามารถดําเนินกิจการต่อไปได้ (gone-concern basis) จึงกําหนดให้ธนาคารพาณิชย์สามารถเสนอขายตราสารดังกล่าวได้ โดยให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศนี้ ข้อ ๕ เอกสารหรือหลักฐานที่ต้องยื่นต่อสํานักงานตามที่ประกาศนี้กําหนด ไม่ว่าก่อนหรือภายหลังได้รับอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่สํานักงานประกาศกําหนด ข้อ ๖ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยกรณีใดกรณีหนึ่งหรือหลายกรณีดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจไม่อนุญาตให้เสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนตามคําขออนุญาตได้ (1) ผู้ขออนุญาตหรือการเสนอขายตราสารมีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการเสนอขายตราสารนั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือประกาศนี้ (2) การเสนอขายตราสารอาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐ (3) การเสนอขายตราสารอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม (4) การเสนอขายตราสารอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุนโดยรวม หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนโดยรวมไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน ข้อ ๗ ในกรณีที่ปรากฏต่อสํานักงานภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุน ว่าข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ที่สํานักงานนํามาพิจารณาเพื่ออนุญาตให้เสนอขายตราสารดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นปรากฏต่อสํานักงานก่อนการอนุญาต สํานักงานอาจไม่อนุญาตให้เสนอขายตราสารนั้น ให้สํานักงานมีอํานาจดังต่อไปนี้ (1) สั่งให้ผู้ได้รับอนุญาต กรรมการ หรือผู้บริหารของผู้ได้รับอนุญาต ชี้แจงหรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมภายในระยะเวลาที่กําหนด และระงับการอนุญาตให้ออกตราสารหรือให้ผู้ได้รับอนุญาตระงับการเสนอขายตราสารไว้ก่อนจนกว่าจะได้ชี้แจงหรือแก้ไขให้ถูกต้อง และหากผู้ได้รับอนุญาต กรรมการ หรือผู้บริหารของผู้ได้รับอนุญาต ไม่สามารถชี้แจงหรือดําเนินการแก้ไขให้ถูกต้องได้ภายในระยะเวลาที่กําหนด สํานักงานอาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตตาม (2) ได้ (2) สั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายตราสารในส่วนที่ยังมิได้เสนอขายหรือยังไม่มีผู้จองซื้อ ในการสั่งการตามวรรคหนึ่งให้สํานักงานคํานึงถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ประกอบการพิจารณา (1) ความร้ายแรงของข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป (2) ผลกระทบต่อผู้ลงทุนที่จองซื้อตราสารนั้น ข้อ ๘ ในกรณีที่เข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจผ่อนผันไม่นําหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้มาใช้พิจารณาคําขออนุญาต หรือไม่นําเงื่อนไขตามประกาศนี้มาใช้บังคับกับการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนที่ได้รับอนุญาตได้ (1) มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจนซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผันให้ไม่มีนัยสําคัญสําหรับการพิจารณาอนุญาตในกรณีนั้น และประโยชน์ที่จะได้ไม่คุ้มค่ากับต้นทุนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขดังกล่าว (2) ผู้ขออนุญาตมีข้อจํากัดตามกฎหมายอื่นที่ทําให้ไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน (3) ผู้ขออนุญาตมีมาตรการอื่นที่เพียงพอ และสามารถทดแทนการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน การผ่อนผันตามวรรคหนึ่งให้คํานึงถึงความเหมาะสมและความเพียงพอของข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนและมาตรการคุ้มครองผู้ลงทุนเป็นสําคัญ ทั้งนี้ สํานักงานอาจกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ขออนุญาตต้องปฏิบัติด้วยก็ได้ หมวด ๒ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขออนุญาตและการอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๑ การยื่นคําขออนุญาตและการพิจารณาคําขออนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๙ ให้ธนาคารพาณิชย์ที่ประสงค์จะเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนยื่นคําขออนุญาตต่อสํานักงาน และชําระค่าธรรมเนียมในวันยื่นคําขอดังกล่าวตามอัตราที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และการขออนุมัติโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ในกรณีที่เป็นการขออนุญาตเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนที่ประสงค์จะจัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ด้วย ให้ธนาคารพาณิชย์ดําเนินการดังต่อไปนี้มาพร้อมกับการยื่นคําขออนุญาตตามวรรคหนึ่ง (1) เสนอร่างข้อกําหนดสิทธิและร่างสัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ (2) เสนอรายชื่อบุคคลที่จะแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ซึ่งเป็นบุคคลที่มีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยคุณสมบัติของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ และการกระทําตามอํานาจหน้าที่ของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ข้อ ๑๐ ในการพิจารณาคําขออนุญาต ให้สํานักงานมีอํานาจแจ้งเป็นหนังสือให้ธนาคารพาณิชย์มาชี้แจง หรือส่งเอกสารหลักฐานอื่นเพิ่มเติมได้ภายในระยะเวลาที่สํานักงานกําหนด ในกรณีที่ธนาคารพาณิชย์ไม่มาชี้แจง หรือไม่ส่งเอกสารหลักฐานภายในระยะเวลาที่สํานักงานกําหนด ให้ถือว่าธนาคารพาณิชย์ไม่ประสงค์จะขออนุญาตเพื่อเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนนั้นอีกต่อไป ข้อ ๑๑ ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุญาตภายในเจ็ดวันทําการนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วน ในกรณีที่ธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชนิดที่เป็นตราสารแปลงสภาพ ให้ถือว่าธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นรองรับด้วย ในกรณีที่ธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนที่จัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ให้ถือว่าสํานักงานได้ให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ในวันที่ได้รับอนุญาตดังกล่าวด้วย ส่วน ๒ หลักเกณฑ์การอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๒ ธนาคารพาณิชย์จะได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ตราสารที่จะเสนอขายดังกล่าวมีลักษณะตามข้อ 13 (2) มีคําเรียกชื่อที่บ่งชี้ลักษณะเฉพาะตามที่กําหนดในข้อ 14 (3) เป็นการเสนอขายตราสารต่อผู้ลงทุนที่มีลักษณะตามข้อ 15 (4) ผู้ถือหุ้นของธนาคารพาณิชย์มีมติโดยชัดแจ้งให้ธนาคารพาณิชย์ออกตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนได้ โดยมติดังกล่าวเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด เว้นแต่กรณีที่ธนาคารพาณิชย์ต้องออกตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนตามแผนฟื้นฟูกิจการตากฎหมายว่าด้วยล้มละลายซึ่งศาลเห็นชอบด้วยแผนนั้นแล้ว หรือกรณีอื่นใดที่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน (5) ในกรณีที่เป็นการขออนุญาตเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชนิดที่เป็นตราสารแปลงสภาพ จะต้องดําเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 16 (6) ยื่นจดข้อจํากัดการโอนตราสารที่จะเสนอขายต่อสํานักงานโดยต้องมีข้อความซึ่งแสดงได้ว่าผู้ออกตราสารจะไม่รับจดทะเบียนการโอนตราสารไม่ว่าทอดใด ๆ แก่ผู้ลงทุนที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 15 แล้วแต่กรณี เว้นแต่เป็นการโอนทางมรดก ข้อ ๑๓ ตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์จะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยไว้อย่างแน่นอน หรือเป็นอัตราที่ผันแปรตามอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยอื่น (2) ไม่มีลักษณะเป็นหุ้นกู้อนุพันธ์ (3) มีข้อตกลงให้ชําระค่าตราสารเป็นสกุลเงินบาท ข้อ ๑๔ คําเรียกชื่อที่บ่งชี้ลักษณะเฉพาะของตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) ระบุชื่อเรียกว่า “ตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนประเภทที่ 1” สําหรับตราสารที่เสนอขายเพื่อนับเป็นเงินกองทุนประเภทเงินกองทุนชั้นที่ 1 หรือเรียกว่า “ตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนประเภทที่ 2” สําหรับตราสารที่เสนอขายเพื่อนับเป็นเงินกองทุนประเภทเงินกองทุนชั้นที่ 2 แล้วแต่กรณี (2) ระบุข้อความเพิ่มเติมต่อท้ายชื่อตราสารตาม (1) เพื่อแสดงถึงคุณสมบัติและเงื่อนไขของตราสารที่เสนอขายเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 หรือเงินกองทุนชั้นที่ 2 แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ หากตราสารดังกล่าวมีกําหนดเวลาไถ่ถอนให้ระบุปีที่ครบกําหนดไถ่ถอนด้วย ข้อ ๑๕ การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนจะเสนอขายได้เฉพาะต่อผู้ลงทุนที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) ผู้ลงทุนสถาบัน (2) ผู้ลงทุนรายใหญ่ ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ตราสารดังกล่าวมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นตราสารชนิดที่มีการกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ถือตราสารปลดหนี้ให้แก่ธนาคารพาณิชย์ภายหลังการลดทุนของธนาคารพาณิชย์และเป็นตราสารเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 2 โดยการปลดหนี้ดังกล่าวต้องกําหนดไว้ไม่มากกว่าอัตราส่วนการลดทุนนั้น (ข) เป็นตราสารแปลงสภาพ (3) ผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งไม่เกินสิบรายในรอบระยะเวลาสี่เดือนใด ๆ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ลงทุนในจํานวนดังกล่าวจะมีผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่รวมอยู่ด้วยหรือไม่ก็ตาม ในกรณีที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ผู้รับฝากทรัพย์สิน นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ผู้ค้าหลักทรัพย์หรือบุคคลอื่นใด มีการถือครองตราสารแทนบุคคลอื่น การนับจํานวนผู้ลงทุนตา,วรรคหนึ่ง (3) ให้นับจากบุคคลที่เป็นเจ้าของที่แท้จริงของตราสารนั้น ข้อ ๑๖ ในกรณีที่เป็นการขออนุญาตเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชนิดที่เป็นตราสารแปลงสภาพ ธนาคารพาณิชย์จะต้องมีการดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อขออนุมัติการออกตราสารดังกล่าวและหุ้นรองรับ โดยหนังสือนัดประชุมต้องระบุข้อมูลดังนี้ (ก) ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับตราสาร เช่น ราคาหรืออัตราที่คาดว่าจะเป็น ราคาหรืออัตราการแปลงสภาพ ระยะเวลาและวันสิ้นสุดของการดําเนินการแปลงสภาพ เป็นต้น (ข) ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นของธนาคารพาณิชย์ (dilution effect) หากมีการดําเนินการตามข้อกําหนดบังคับการแปลงสภาพของตราสาร โดยอย่างน้อยให้ระบุผลกระทบต่อราคาตลาดของหุ้น (price dilution) และผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือผลกระทบต่อสิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้นเดิม (control dilution) (ค) วิธีการจัดสรรตราสาร (ง) ข้อมูลอื่นใดตามที่สํานักงานประกาศกําหนดโดยคํานึงถึงการคุ้มครองประโยชน์ของผู้ถือหุ้นของธนาคารพาณิชย์ที่ได้รับอนุญาต (2) จัดให้ได้มาซึ่งมติโดยชัดแจ้งจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของธนาคารพาณิชย์ให้ออกหุ้นรองรับตามข้อกําหนดบังคับการแปลงสภาพ (3) มีการกําหนดราคาและอัตราแปลงสภาพไว้อย่างชัดเจน ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันตามข้อ 15(1) หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 15(2) ราคาแปลงสภาพของตราสารที่ธนาคารพาณิชย์กําหนดไว้ในข้อกําหนดสิทธิต้องเป็นราคาที่จะสามารถสะท้อนถึงมูลค่าตลาดของหุ้นสามัญของธนาคารพาณิชย์ในช่วงระยะเวลาก่อนหรือขณะที่เกิดเหตุการณ์ซึ่งเป็นเงื่อนไขการบังคับแปลงสภาพ หรือเป็นราคาตามมูลค่าทางบัญชี (book value) ที่ผ่านการตรวจสอบหรือสอบทานโดยผู้สอบบัญชีในช่วงระยะเวลาดังกล่าวหากไม่สามารถใช้ราคาที่จะสามารถสะท้อนถึงมูลค่าตลาดได้ ข้อ ๑๗ ในกรณีที่ธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชนิดที่เป็นตราสารแปลงสภาพ หากต่อมาภายหลังการขายตราสารดังกล่าวธนาคารพาณิชย์จะต้องมีการออกหุ้นใหม่เพิ่มเติมเนื่องจากเหตุดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้ออกหุ้นใหม่เพิ่มเติมเพื่อรองรับการแปลงสภาพเมื่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นของธนาคารพาณิชย์มีมติให้ออกหุ้นเพิ่มเติมเพื่อรองรับการแปลงสภาพนั้นและได้ยื่นมติดังกล่าวต่อสํานักงานแล้ว (1) มีเหตุตามข้อตกลงที่ทําให้ธนาคารพาณิชย์ต้องเปลี่ยนแปลงข้อกําหนดบังคับการแปลงสภาพ (2) มีการกําหนดอัตราการแปลงสภาพไว้แบบผันแปรตามราคาตลาดของหุ้นรองรับ ซึ่งเมื่อคํานวณจํานวนหุ้นตามอัตราดังกล่าวแล้วทําให้จํานวนหุ้นที่เดิมได้รับอนุญาตจากสํานักงานมีไม่เพียงพอรองรับการแปลงสภาพนั้น หมวด ๓ เงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๑ เงื่อนไขทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๘ แต่งตั้งบุคคลที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตามข้อ 9 วรรคสอง (2) ประกอบกับข้อ 11 วรรคสาม เป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ภายหลังการออกตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุน บุคคลที่จะได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้รายใหม่จะต้องเป็นบุคคลที่มีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยคุณสมบัติของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ และการกระทําตามอํานาจหน้าที่ของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ให้ธนาคารพาณิชย์ส่งเอกสารหรือหลักฐานการเปลี่ยนแปลงผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ต่อสํานักงานตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานประกาศกําหนดตามข้อ 5 ข้อ ๑๙ ธนาคารพาณิชย์ที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้ตราสารที่จะเสนอขายเป็นชนิดระบุชื่อผู้ถือ และต้องมีข้อความในใบตราสารที่เสนอขายซึ่งระบุว่าธนาคารพาณิชย์หรือผู้ได้รับมอบหมายจากธนาคารพาณิชย์จะไม่รับจดทะเบียนการโอนตราสารไม่ว่าในทอดใด ๆ หากการโอนนั้นจะขัดกับข้อจํากัดการโอนที่ได้จดจดทะเบียนไว้ต่อสํานักงาน (2) จัดให้เอกสารประกอบการเสนอขายมีข้อความที่ระบุถึงข้อจํากัดการโอนตาม (1) และให้ระบุรายละเอียดการด้อยสิทธิ เงื่อนไขการปลดหนี้ หรือเงื่อนไขการบังคับแปลงสภาพ ไว้ให้ชัดเจน (3) จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเงินกองทุนเป็นรายเดือนภายในวันที่ยี่สิบห้า ของเดือนถัดไปไว้บนเว็บไซต์ของธนาคารพาณิชย์ดังนี้ (ก) เงินกองทุนขั้นต่ําและเงินกองทุนส่วนเพิ่ม (minimum capital requirement and capital buffer) ตามอัตราที่ธนาคารแห่งประเทศไทยกําหนดดังนี้ 1. อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ (common equity tier 1 ratio: CET1 ratio) 2. อัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 (tier 1 ratio) 3. อัตราส่วนเงินกองทุนทั้งสิ้น (total capital ratio) (ข) อัตราส่วนของเงินกองทุนตาม (ก) 1. 2. และ 3. ที่ธนาคารพาณิชย์ดํารงได้ ณ สิ้นวันทําการสุดท้ายของแต่ละเดือน (4) กรณีที่เป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งไม่เกินสิบรายตามข้อ 15(3) ธนาคารพาณิชย์ต้องไม่โฆษณาการเสนอขายตราสารดังกล่าว และหากจะมีการแจกจ่ายเอกสารประกอบการเสนอขาย ธนาคารพาณิชย์ต้องแจกจ่ายให้แก่ผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งไม่เกินสิบรายตามที่ได้รับอนุญาตนั้น (5) กรณีที่เป็นการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชนิดที่เป็นตราสารแปลงสภาพ ให้ธนาคารพาณิชย์ดําเนินการดังนี้ (ก) เสนอขายตราสารให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติอนุมัติให้ธนาคารพาณิชย์ออกตราสารดังกล่าวและหุ้นรองรับ (ข) จัดให้มีข้อตกลงเกี่ยวกับค่าเสียหายหรือมาตรการเยียวยาอื่น ๆ ที่ผู้ถือตราสารจะได้รับ ในกรณีที่ธนาคารพาณิชย์ไม่สามารถจัดให้มีหุ้นรองรับได้ ข้อ ๒๐ ในกรณีที่มีบุคคลใดแสดงความประสงค์ที่จะลงทะเบียนการโอนตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุน ให้ธนาคารพาณิชย์ตรวจสอบความถูกต้องของการโอนตราสารดังกล่าว หากพบว่าเป็นการโอนที่ขัดต่อข้อจํากัดการโอนที่ได้จดทะเบียนไว้ต่อสํานักงาน ให้ธนาคารพาณิชย์ปฏิเสธการลงทะเบียนการโอนตราสารนั้น ในกรณีที่ธนาคารพาณิชย์มอบหมายบุคคลอื่นให้จัดทําทะเบียนตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุน ธนาคารพาณิชย์ต้องควบคุมและดูแลให้บุคคลที่ได้รับมอบหมายนั้นปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในวรรคหนึ่งด้วย ส่วน ๒ เงื่อนไขเพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายต่อ ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๑ ความในหมวดนี้ให้ใช้บังคับกับการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนไม่ว่าเป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันตามข้อ 15(1) หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 15(2) เว้นแต่ข้อ 22 ข้อ 23 และข้อ 24 ให้ใช้บังคับเฉพาะกรณีที่เป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 15(2) ข้อ ๒๒ ก่อนการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนในแต่ละครั้งต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 15(2) ธนาคารพาณิชย์ต้องจัดให้มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของตราสาร (issue rating) ที่เสนอขาย โดยสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับกรณีดังต่อไปนี้ (1) สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานได้มีหนังสือแจ้งต่อสํานักงานว่าไม่สามารถทําการจัดอันดับความน่าเชื่อถือตราสารนั้นได้โดยมีเหตุอันสมควร และเหตุนั้นมิได้เกิดจากผู้ออกตราสาร สํานักงานอาจผ่อนผันให้การจัดอันดับความน่าเชื่อถือนั้นกระทําโดยสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถืออื่นที่สํานักงานกําหนดได้ (2) กรณีที่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงานโดยมีเหตุจําเป็นและสมควร หรือเป็นกรณีที่พิจารณาได้ว่าไม่จําเป็นต้องมีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ข้อ ๒๓ เมื่อธนาคารพาณิชย์ได้ออกตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนแล้ว ธนาคารพาณิชย์ต้องจัดให้มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือตามหลักเกณฑ์ในข้อ 22 อย่างต่อเนื่องจนกว่าสิทธิเรียกร้องตามตราสารจะระงับลง เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควร สํานักงานอาจผ่อนผันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของตราสารโดยกําหนดเงื่อนเวลาหรือเงื่อนไขไว้ด้วยก็ได้ ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงความจําเป็นของผู้ลงทุนในการมีข้อมูลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือนั้น ข้อ ๒๔ ในการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 15(2) ธนาคารพาณิชย์ต้องจัดให้การชักชวนให้มีการลงทุนหรือการให้คําแนะนําเพื่อการซื้อหรือขายตราสาร กระทําโดยบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการเช่นนั้นได้ เว้นแต่ธนาคารพาณิชย์เป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้ธนาคารพาณิชย์ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการชักชวนให้มีการลงทุน หรือการให้คําแนะนําเพื่อการซื้อหรือขายตราสารด้วย ข้อ ๒๕ ธนาคารพาณิชย์ต้องจัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (fact sheet) ให้แก่ผู้ลงทุนก่อนการเสนอขายตราสาร ข้อ ๒๖ ให้ธนาคารพาณิชย์ยื่นคําขอให้สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยพิจารณารับตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนเป็นตราสารหนี้ที่ขึ้นทะเบียนกับสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยภายในสามสิบวันนับแต่วันออกตราสารดังกล่าว ข้อ ๒๗ ธนาคารพาณิชย์ต้องจัดให้มีข้อกําหนดสิทธิที่มีรายการอย่างน้อยตามที่กําหนดไว้ในมาตรา 42(1) ถึง (9) การแก้ไขเพิ่มเติมข้อกําหนดสิทธิจะกระทําได้ต่อเมื่อการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวมิได้ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดในประกาศนี้ และการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวได้ดําเนินการโดยชอบตามข้อกําหนดสิทธิ ทั้งนี้ ให้ธนาคารพาณิชย์แจ้งการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น พร้อมทั้งส่งสําเนาเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อสํานักงานและสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่การแก้ไขเพิ่มเติมนั้นมีผลใช้บังคับ ข้อ ๒๘ ให้ธนาคารพาณิชย์มีหนังสือแจ้งให้ผู้ถือตราสารทราบโดยไม่ชักช้าเมื่อปรากฏข้อเท็จจริงที่เป็นไปตามเงื่อนไขในการปลดหนี้ตามตราสารให้แก่ธนาคารพาณิชย์ หรือเมื่อมีกรณีต้องบังคับแปลงสภาพตราสารเป็นหุ้นสามัญของธนาคารพาณิชย์ โดยต้องระบุรายละเอียดในการดําเนินการในเรื่องดังกล่าวไว้ให้ชัดเจนในหนังสือที่แจ้ง ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
606
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 39/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 39/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็น เงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (7) ในข้อ 12 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 “(7) ไม่เคยเสนอขายหุ้นกู้ไม่ว่าประเภทใด ๆ ตั๋วเงิน หรือศุกูก ที่เป็นการฝ่าฝืนลักษณะการขายที่จํากัดเฉพาะผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ภายในระยะเวลาสองปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาต เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน โดยธนาคารพาณิชย์แสดงได้ว่ามีเหตุจําเป็นและสมควร รวมทั้งมีมาตรการจัดการเกี่ยวกับการเสนอขายอย่างเหมาะสมแล้ว” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557 (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
607
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 9/2558 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 9/2558 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็น เงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 และมาตรา 40(11) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 4/1 และข้อ 4/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 “ข้อ 4/1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนต่อผู้ลงทุนในประเทศไทยเท่านั้น ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนซึ่งเป็นตราสารแปลงสภาพต่อผู้ถือหุ้นของธนาคารพาณิชย์ตามสัดส่วนการถือหุ้น แต่ผู้ที่จะใช้สิทธิแปลงสภาพอาจไม่ใช่ผู้ถือหุ้นของธนาคารพาณิชย์ ให้กรณีดังกล่าวอยู่ภายใต้บังคับประกาศฉบับนี้ด้วย ข้อ 4/2 ในกรณีที่เป็นการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนซึ่งเป็นตราสารแปลงสภาพต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (public offering) ธนาคารพาณิชย์มีหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจําหน่ายตราสารหนี้และใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ที่ออกใหม่ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ด้วย” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 9 ให้ธนาคารพาณิชย์ที่ประสงค์จะเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนยื่นคําขออนุญาตต่อสํานักงาน และชําระค่าธรรมเนียมในวันยื่นคําขอดังกล่าว ตามอัตราที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วย การกําหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และการขออนุมัติ โครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ในกรณีที่เป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนตามข้อ 15(1) (2) หรือ (3) ซึ่งธนาคารพาณิชย์ประสงค์จะจัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ให้ธนาคารพาณิชย์ดําเนินการดังต่อไปนี้มาพร้อมกับการยื่น คําขออนุญาตตามวรรคหนึ่ง (1) เสนอร่างข้อกําหนดสิทธิและร่างสัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ (2) เสนอรายชื่อบุคคลที่จะแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ซึ่งเป็นบุคคลที่มีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยคุณสมบัติของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ และการกระทําตามอํานาจหน้าที่ของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ในกรณีที่เป็นการเสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (public offering) ตามข้อ 15(4) ธนาคารพาณิชย์ต้องจัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้และดําเนินการตามที่กําหนดในวรรคสองด้วย” ข้อ 4 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ 11 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 11 ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุญาตภายในระยะเวลาดังต่อไปนี้ (1) ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วน ใกรณีที่เป็นการขออนุญาตเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนซึ่งเป็นตราสารแปลงสภาพ ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (public offering) หรือต่อผู้ถือหุ้นของธนาคารพาณิชย์ตามสัดส่วนการถือหุ้น แต่ผู้ที่จะใช้สิทธิแปลงสภาพอาจไม่ใช่ผู้ถือหุ้นของธนาคารพาณิชย์และผู้ที่ใช้สิทธิแปลงสภาพอาจมีจํานวนมากกว่าสิบรายและไม่ใช่ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ (2) ภายในเจ็ดวันทําการนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องและครบถ้วน ในกรณีอื่นใดนอกเหนือจากกรณีตาม (1)” ข้อ 5 ให้ยกเลิกความใน (6) ของข้อ 12 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 39/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(6) ยื่นจดข้อจํากัดการโอนตราสารที่จะเสนอขายต่อสํานักงานสําหรับการเสนอขาย ต่อผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่ หรือผู้ลงทุนไม่เกินสิบราย ตามข้อ 15 โดยต้องมีข้อความซึ่งแสดงได้ว่า ผู้ออกตราสารจะไม่รับจดทะเบียนการโอนตราสารไม่ว่าทอดใด ๆ แก่ผู้ลงทุนที่มีลักษณะไม่เป็นไปตามข้อจํากัดการโอนที่ได้ยื่นไว้ เว้นแต่เป็นการโอนทางมรดก” ข้อ 6 ให้ยกเลิกความในข้อ 13 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 13 ตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์จะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยไว้อย่างแน่นอน หรือเป็นอัตราที่ผันแปรตามอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยอื่น (2) ในกรณีที่เป็นตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนซึ่งเป็นตราสารแปลงสภาพ ต้องมีการกําหนดอัตราและราคาแปลงสภาพไว้อย่างชัดเจนในข้อกําหนดสิทธิ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการ กําหนดอัตราที่แน่นอนหรือกําหนดเป็นสูตรการคํานวณก็ได้ การกําหนดราคาแปลงสภาพตามวรรคหนึ่ง ธนาคารพาณิชย์ต้องไม่กําหนดราคา แปลงสภาพที่ต่ํากว่าร้อยละห้าสิบของราคาหุ้นสามัญของธนาคารพาณิชย์ในช่วงก่อนหรือระหว่าง การเสนอขายตามแนวทางที่สมาคมธนาคารไทยกําหนด (floor conversion price) เว้นแต่เป็นกรณีตามข้อ 17 (3) ไม่มีลักษณะเป็นหุ้นกู้อนุพันธ์ เว้นแต่เป็นหุ้นกู้อนุพันธ์ที่มีการกําหนดเงื่อนไขให้ธนาคารพาณิชย์สามารถไถ่ถอนหุ้นกู้อนุพันธ์คืนก่อนกําหนดได้ โดยมูลค่าผลตอบแทนและต้นเงินที่ไถ่ถอนไม่ได้ขึ้นอยู่กับปัจจัยอ้างอิงที่กําหนดไว้ล่วงหน้า (4) มีข้อตกลงให้ชําระค่าตราสารเป็นสกุลเงินบาท” ข้อ 7 ให้ยกเลิกความในข้อ 15 ข้อ 16 และข้อ 17 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 15 การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนจะเสนอขายได้ ต่อผู้ลงทุนตามลักษณะและเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) ผู้ลงทุนสถาบัน (2) ผู้ลงทุนรายใหญ่ ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ตราสารดังกล่าวมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นตราสารชนิดที่มีการกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ถือตราสารปลดหนี้ให้แก่ ธนาคารพาณิชย์ภายหลังการลดทุนของธนาคารพาณิชย์และเป็นตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 2 โดยการปลดหนี้ดังกล่าวต้องกําหนดไว้ไม่มากกว่าอัตราส่วนการลดทุนนั้น (ข) เป็นตราสารแปลงสภาพ (3) ผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งไม่เกินสิบรายในรอบระยะเวลาสี่เดือนใด ๆ ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้ลงทุนในจํานวนดังกล่าวจะมีผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่รวมอยู่ด้วยหรือไม่ก็ตาม ในกรณีที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ผู้รับฝากทรัพย์สิน นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ผู้ค้าหลักทรัพย์หรือบุคคลอื่นใด มีการถือครองตราสารแทนบุคคลอื่น การนับจํานวนผู้ลงทุนตามวรรคหนึ่ง ให้นับจากบุคคลที่เป็นเจ้าของที่แท้จริงของตราสารนั้น (4) ผู้ลงทุนใด ๆ สําหรับการเสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (public offering) ทั้งนี้ เฉพาะตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 2 ซึ่งเป็นตราสารแปลงสภาพ ข้อ 16 ในกรณีที่เป็นการขออนุญาตเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุน ซึ่งเป็นตราสารแปลงสภาพ ให้นําหลักเกณฑ์การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพที่ออกใหม่ ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการขออนุญาต และการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพที่ออกใหม่ในกรณีทั่วไปมาใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการอนุญาตตามประกาศนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับประกาศนี้ โดยอนุโลม ทั้งนี้ ในการอนุโลมใช้ให้สํานักงานพิจารณาตามประเภทผู้ลงทุนของประกาศดังกล่าวที่สอดคล้องกับลักษณะของผู้ลงทุนตามข้อ 15 การอนุโลมใช้ตามวรรคหนึ่งไม่รวมถึงหลักเกณฑ์ที่กําหนดเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ (1) จํานวนหุ้นที่รองรับหุ้นกู้แปลงสภาพ การกําหนดอัตราและราคาแปลงสภาพ และการบังคับแปลงสภาพ (2) การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกหุ้นรองรับ และการกําหนดลักษณะของ ผู้ขออนุญาตตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขาย หุ้นที่ออกใหม่ ข้อ 17 ในกรณีที่ธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนซึ่งเป็นตราสารแปลงสภาพ หากต่อมาภายหลังการขายตราสารดังกล่าวธนาคารพาณิชย์จะต้องมีการออกหุ้นใหม่เพิ่มเติมเนื่องจากมีเหตุตามข้อตกลงที่ทําให้ธนาคารพาณิชย์ต้องเปลี่ยนแปลงข้อกําหนดเกี่ยวกับการแปลงสภาพ ให้ถือว่าธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้ออกหุ้นใหม่เพิ่มเติมเพื่อรองรับการแปลงสภาพเมื่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นของธนาคารพาณิชย์มีมติให้ออกหุ้นเพิ่มเติมเพื่อรองรับการแปลงสภาพนั้นและได้ยื่นมติดังกล่าวต่อสํานักงานแล้ว มิให้นําราคาแปลงสภาพที่กําหนดตามข้อ 13(2) วรรคสองมาใช้บังคับกับกรณีที่มีเหตุ ตามวรรคหนึ่ง ทั้งนี้ ราคาแปลงสภาพที่กําหนดใหม่เนื่องจากเหตุตามวรรคหนึ่ง ต้องไม่ต่ํากว่าร้อยละ ห้าสิบของราคาหุ้นสามัญของธนาคารพาณิชย์ในช่วงที่มีเหตุดังกล่าวตามแนวทางที่สมาคมธนาคารไทยกําหนด” ข้อ 8 ให้ยกเลิกความใน (1) และ (2) ของข้อ 19 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) จัดให้ตราสารที่จะเสนอขายเป็นชนิดระบุชื่อผู้ถือ และต้องมีข้อความในใบตราสาร ที่เสนอขายซึ่งระบุว่าธนาคารพาณิชย์หรือผู้ได้รับมอบหมายจากธนาคารพาณิชย์จะไม่รับจดทะเบียนการโอนตราสารไม่ว่าในทอดใด ๆ หากการโอนนั้นจะขัดกับข้อจํากัดการโอนที่ได้จดทะเบียนไว้ต่อสํานักงาน เว้นแต่เป็นการเสนอขายตราสารต่อผู้ลงทุนตามข้อ 15(4) (2) จัดให้เอกสารประกอบการเสนอขาย ระบุรายละเอียดการด้อยสิทธิ เงื่อนไขการปลดหนี้ หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการแปลงสภาพไว้ให้ชัดเจน ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนตามข้อ 15(1) (2) หรือ (3) ให้มีข้อความที่ระบุถึงข้อจํากัดการโอนตาม (1) ด้วย” ข้อ 9 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 20/1 ในส่วนที่ 1 เงื่อนไขทั่วไป ของหมวด 3 เงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาต แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 “ข้อ 20/1 ในกรณีที่เป็นตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนซึ่งเป็นตราสารแปลงสภาพ ให้นําเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาตตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการขออนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพที่ออกใหม่ มาใช้เป็นเงื่อนไขที่ธนาคารพาณิชย์ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้ง กับหลักเกณฑ์ตามหมวดนี้ โดยอนุโลม ทั้งนี้ ในการอนุโลมใช้ให้สํานักงานพิจารณาตามประเภทผู้ลงทุนของประกาศดังกล่าวที่สอดคล้องกับลักษณะของผู้ลงทุนตามข้อ 15” ข้อ 10 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นส่วนที่ 3 เงื่อนไขเพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (public offering) ข้อ 29 ของหมวด 3 เงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลัง ได้รับอนุญาต แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 “ส่วนที่ 3 เงื่อนไขเพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายต่อประชาชน เป็นการทั่วไป (public offering) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 29 ให้นําความในข้อ 22 ข้อ 23 ข้อ 24 ข้อ 26 ข้อ 27 และข้อ 28 มาใช้บังคับกับ การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนต่อประชาชนเป็นการทั่วไปตามข้อ 15(4) ด้วย” ข้อ 11 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 ----------------------------------- (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
608
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2558 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2558 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็น เงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 4) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 9/2558 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 9 ให้ธนาคารพาณิชย์ที่ประสงค์จะเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนยื่นคําขออนุญาตต่อสํานักงาน และให้ธนาคารพาณิชย์ดังกล่าวชําระค่าธรรมเนียมคําขออนุญาตต่อสํานักงานเมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาตที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ทั้งนี้ อัตราค่าธรรมเนียมให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และการขออนุมัติโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์” ข้อ 2 ให้ยกเลิกข้อ 10 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 11 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 9/2558 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 11 เมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาตพร้อมเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้สํานักงานดําเนินการสอบทานข้อเท็จจริงตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนและแจ้งประเด็นข้อสังเกตที่ได้จากการสอบทานข้อเท็จจริงเพื่อให้ธนาคารพาณิชย์ชี้แจงข้อสังเกตนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือแจ้งข้อสังเกต โดยต้องดําเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุญาตภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับคําชี้แจงต่อข้อสังเกตจากการสอบทานข้อเท็จจริงจากธนาคารพาณิชย์ ในกรณีที่ธนาคารพาณิชย์ประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ ให้ธนาคารพาณิชย์ยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงานก่อนที่สํานักงานจะเริ่มการพิจารณาตามวรรคสอง ทั้งนี้ ตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน โดยสํานักงานจะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาอนุญาตตามวรรคสอง ในกรณีที่ธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชนิดที่เป็นตราสารแปลงสภาพ ให้ถือว่าธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นรองรับด้วย ในกรณีที่ธนาคารพาณิชย์ได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนที่จัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ให้ถือว่าสํานักงานได้ให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ในวันที่ได้รับอนุญาตดังกล่าวด้วย” ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ------------------------------------- (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
609
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 19/2559 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 5)
- ร่าง --ร่าง- ร่างประกาศตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ที่ผ่านการพิจารณาของฝ่ายพัฒนากฎเกณฑ์ เมื่อวันที่ .................................................... CSDS เลขที่...78/2558... ครั้งที่.................. ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 19/2559 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็น เงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 5) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 3 ในประกาศนี้ คําว่า “การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ” “ผู้ลงทุนสถาบัน” “ผู้ลงทุนรายใหญ่” และ“หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายตราสารหนี้ทุกประเภท “ตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุน” หมายความว่า หุ้นกู้ที่ออกใหม่ประเภทไม่มีประกันที่มีการกําหนดให้สิทธิในการรับชําระหนี้ของผู้ถือหุ้นกู้ด้อยกว่าสิทธิของเจ้าหนี้สามัญ และมีลักษณะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในการนับเป็นเงินกองทุน โดยเป็นหุ้นกู้ชนิดใดชนิดหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) มีการกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ถือหุ้นกู้ปลดหนี้ (2) เป็นตราสารแปลงสภาพ “ตราสารแปลงสภาพ” หมายความว่า หุ้นกู้แปลงสภาพชนิดที่มีการกําหนดเงื่อนไขบังคับแปลงสภาพเป็นหุ้นที่ออกใหม่ของผู้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพ “หุ้นรองรับ” หมายความว่า หุ้นออกใหม่ที่จัดไว้เพื่อรองรับการแปลงสภาพ “เงินกองทุน” หมายความว่า เงินกองทุนสําหรับธนาคารพาณิชย์ตามประกาศ ธนาคารแห่งประเทศไทย “ธนาคารพาณิชย์” หมายความว่า ธนาคารพาณิชย์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน แต่ไม่รวมถึงสาขาของธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ “ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย” หมายความว่า ประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยว่าด้วยองค์ประกอบของเงินกองทุนสําหรับธนาคารพาณิชย์ที่จดทะเบียนในประเทศ โดยอ้างอิงจากหลักเกณฑ์ BASEL III “ข้อกําหนดสิทธิ” หมายความว่า ข้อกําหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกตราสารและผู้ถือตราสาร “สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย” หมายความว่า สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยที่ได้รับใบอนุญาตและจดทะเบียนกับสํานักงาน” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในข้อ 13 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 9/2558 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 13 ตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์จะต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยไว้อย่างแน่นอน หรือเป็นอัตราที่ผันแปรตามอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยอื่น (2) มีข้อตกลงให้ชําระค่าตราสารเป็นสกุลเงินบาท (3) ไม่มีลักษณะเป็นหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง เว้นแต่เป็นตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนที่มีลักษณะลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) มีการกําหนดเงื่อนไขให้ธนาคารพาณิชย์สามารถไถ่ถอนตราสารดังกล่าวคืนก่อนกําหนดได้ (puttable) โดยมูลค่าผลตอบแทนและต้นเงินที่ไถ่ถอนไม่ได้ขึ้นอยู่กับปัจจัยอ้างอิงที่กําหนดไว้ล่วงหน้า (ข) มีการกําหนดเงื่อนไขให้สิทธิตามตราสารดังกล่าวมีลักษณะเป็นตราสารแปลงสภาพ (4) ในกรณีที่เป็นตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนซึ่งเป็นตราสารแปลงสภาพ ต้องมีการกําหนดอัตราและราคาแปลงสภาพไว้อย่างชัดเจนในข้อกําหนดสิทธิ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็น การกําหนดอัตราที่แน่นอนหรือกําหนดเป็นสูตรการคํานวณก็ได้ การกําหนดราคาแปลงสภาพตามวรรคหนึ่ง ธนาคารพาณิชย์ต้องไม่กําหนดราคาแปลงสภาพที่ต่ํากว่าร้อยละห้าสิบของราคาหุ้นสามัญของธนาคารพาณิชย์ในช่วงก่อนหรือระหว่างการเสนอขายตามแนวทางที่สมาคมธนาคารไทยกําหนด (floor conversion price) เว้นแต่เป็นกรณีตามข้อ 17” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 17 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 9/2558 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มิให้นําราคาแปลงสภาพที่กําหนดตามข้อ 13(4) วรรคสองมาใช้บังคับกับกรณีที่มีเหตุตามวรรคหนึ่ง ทั้งนี้ ราคาแปลงสภาพที่กําหนดใหม่เนื่องจากเหตุตามวรรคหนึ่ง ต้องไม่ต่ํากว่าร้อยละห้าสิบของราคาหุ้นสามัญของธนาคารพาณิชย์ในช่วงที่มีเหตุดังกล่าวตามแนวทางที่สมาคมธนาคารไทยกําหนด” ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ------------------------------------ (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
610
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 8/2564 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 6)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 8/2564 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็น เงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 6) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (ข) ของ (2) ในข้อ 15 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 9/2558 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ข) เป็นตราสารแปลงสภาพ ทั้งนี้ กรณีที่เป็นตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต้องมีอันดับความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสาร (issuer rating) อยู่ในระดับที่ลงทุนได้ (investment grade)” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ 22 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 22 ก่อนการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนในแต่ละครั้งต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 15(2) ธนาคารพาณิชย์ต้องจัดให้มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของตราสาร(issue rating) ที่เสนอขาย และในกรณีที่เป็นการเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนชั้นที่ 1 ต้องจัดให้มีอันดับความน่าเชื่อถือของผู้ออกตราสาร (issuer rating) ที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 15(2) (ข) ด้วย ทั้งนี้ การจัดอันดับความน่าเชื่อถือต้องดําเนินการโดยสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 23 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 16/2557 เรื่อง การเสนอขายตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 23 เมื่อธนาคารพาณิชย์ได้ออกตราสารด้อยสิทธิเพื่อนับเป็นเงินกองทุนแล้วธนาคารพาณิชย์ต้องจัดให้มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของตราสาร (issue rating) อย่างต่อเนื่องตลอดอายุของตราสาร เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควร สํานักงานอาจผ่อนผันการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของตราสารโดยกําหนดเงื่อนเวลาหรือเงื่อนไขไว้ด้วยก็ได้ ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงความจําเป็นของผู้ลงทุนในการมีข้อมูลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือนั้น” ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
611
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 16/2564 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 16/2564 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 27 และข้อ 28 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 27 ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนที่บุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใดจะถือได้ในแต่ละกองทุนรวม ต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในวรรคหนึ่ง มิให้ใช้บังคับกับผู้ถือหน่วยลงทุนที่เป็นผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนซึ่งรับหน่วยลงทุนไว้ตามสัญญารับประกันการจัดจําหน่ายหน่วยลงทุน โดยผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนดังกล่าวอาจถือหน่วยลงทุนได้โดยไม่จํากัดสัดส่วนภายในระยะเวลา 1 ปีนับแต่วันที่รับหน่วยลงทุนนั้นไว้ ข้อ 28 ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนที่เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ทุกรายและกลุ่มบุคคลเดียวกันของบุคคลดังกล่าวจะถือได้ในแต่ละกองทุนรวม เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความใน (ข) ของ (1) ในข้อ 31 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ข) การใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในส่วนที่ถือหน่วยลงทุนเกินกว่าข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน (2) ของข้อ 34 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(2) แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนเกินข้อจํากัดจําหน่ายหน่วยลงทุนในส่วนที่ถือเกินกว่าข้อจํากัดดังกล่าว ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่เป็นการถือหน่วยลงทุนเกินข้อจํากัดตามข้อ 27 วรรคหนึ่ง หรือข้อ 28” ข้อ 4 ให้ยกเลิกความในข้อ 98 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 98 ในกรณีที่ปรากฏพฤติการณ์ว่าบริษัทจัดการดําเนินการใด ๆ หรือบุคคลใดถือหน่วยลงทุนโดยรู้เห็นหรือตกลงกับบุคคลอื่น อันเป็นการปกปิดหรืออําพรางลักษณะที่แท้จริงในการถือหน่วยลงทุนของบุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใดที่ประสงค์จะถือหน่วยลงทุนเกินกว่าร้อยละ 50 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม สํานักงานอาจเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมนั้น” ข้อ 5 ให้ยกเลิกความในข้อ 103 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 103 ในกรณีที่กองทุนรวมมีผู้ถือหน่วยลงทุนดังต่อไปนี้ ถือหน่วยลงทุนเกินกว่าร้อยละ 50 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดอยู่แล้วก่อนวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552ให้บริษัทจัดการดําเนินการตามวรรคสอง (1) กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ กองทุนประกันสังคม กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ หรือกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป (2) นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยซึ่งไม่อยู่ภายใต้บังคับต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (3) บุคคลอื่นใดที่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงานเมื่อมีเหตุจําเป็นและสมควร เมื่อมีเหตุการณ์ตามวรรคหนึ่ง ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนดังกล่าวได้ตามที่กําหนดในรายละเอียโครงการจัดการกองทุนรวมและข้อผูกพัน ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 (2) ไม่ต้องดําเนินการตามข้อ 34(2) ความในวรรคสองมิให้นํามาใช้บังคับในกรณีที่ผู้ถือหน่วยลงทุนดังกล่าวลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเพิ่มเติมตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552” ข้อ 6 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
612
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 37/2564 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 37/2564 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 17 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) ดําเนินการตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมได้มาจากการลงทุนให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งการเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์จากบริษัทจัดการ และดําเนินการตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์ครั้งต่อ ๆ ไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ การตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์อาจดําเนินการด้วยวิธีการหรือกลไกที่น่าเชื่อถือตามที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมและบริษัทจัดการตกลงกันได้” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในข้อ 35 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 35 กองทุนรวมต้องลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ที่พร้อมจะนําไปจัดหาผลประโยชน์ คิดเป็นมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม ณ วันสิ้นรอบปีบัญชีเว้นแต่ในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ บริษัทจัดการจะไม่ดํารงมูลค่าดังกล่าวก็ได้ (1) รอบปีบัญชีสุดท้ายก่อนสิ้นอายุโครงการจัดการกองทุนรวม (2) กรณีมีเหตุจําเป็นและสมควรโดยได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ 42 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 42 ให้บริษัทจัดการจัดให้มีการตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมลงทุนให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่กองทุนรวมเข้าครอบครองอสังหาริมทรัพย์ และดําเนินการตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์นั้นในครั้งต่อ ๆ ไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ การตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์ อาจดําเนินการด้วยวิธีการหรือกลไกที่น่าเชื่อถือตามที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมและบริษัทจัดการตกลงกันได้” ข้อ 4 ให้ยกเลิกข้อ 45 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 ข้อ 5 ให้ยกเลิกความใน (1) และ (2) ของข้อ 46 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) จัดหาผลประโยชน์โดยการให้เช่าเท่านั้น และมิให้ดําเนินการในลักษณะใดที่เป็นการใช้กองทุนรวมเพื่อประกอบธุรกิจอื่น เช่น ธุรกิจโรงแรม หรือธุรกิจโรงพยาบาล เป็นต้น เว้นแต่ในกรณีที่กองทุนรวมมีความจําเป็นอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์หรืออยู่ระหว่างสรรหาผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์รายใหม่ กองทุนรวมอาจดําเนินการในลักษณะที่เป็นการใช้กองทุนรวมเพื่อประกอบธุรกิจอื่นดังกล่าวเป็นการชั่วคราวได้ (2) ในกรณีที่กองทุนรวมจะให้เช่าอสังหาริมทรัพย์แก่บุคคลที่จะนําอสังหาริมทรัพย์นั้นไปประกอบธุรกิจที่กองทุนรวมไม่สามารถดําเนินการได้เอง เช่น ธุรกิจโรงแรม หรือธุรกิจโรงพยาบาล เป็นต้น ต้องมีข้อตกลงกําหนดค่าเช่าไว้ล่วงหน้าเป็นจํานวนที่แน่นอน และอาจกําหนดค่าเช่าที่อ้างอิงกับผลประกอบการของผู้เช่าเพิ่มเติมด้วยก็ได้ ทั้งนี้ ให้เปิดเผยข้อมูลข้อตกลงดังกล่าวในหนังสือชี้ชวน แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี และรายงานประจําปี” ข้อ 6 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 46/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 “ข้อ 46/1 ในกรณีที่กองทุนรวมมีความจําเป็นต้องประกอบธุรกิจอื่นเป็นการชั่วคราวตามข้อ 46(1) ก่อนการดําเนินการดังกล่าว ให้บริษัทจัดการเปิดเผยรายงานเพื่อชี้แจงสาเหตุในการเปลี่ยนแปลงผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์ พร้อมทั้งแจ้งแนวทางการดําเนินการของกองทุนรวมในระหว่างการสรรหาผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์รายใหม่ และรายงานความคืบหน้าของการดําเนินการดังกล่าวทุก 6 เดือนนับแต่วันที่มีการประกอบธุรกิจอื่นเป็นการชั่วคราวจนกว่าจะมีผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์รายใหม่ การเปิดเผยรายงานและการรายงานตามวรรคหนึ่ง ให้เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวผ่านระบบการเปิดเผยสารสนเทศของตลาดหลักทรัพย์” ข้อ 7 ให้ยกเลิกข้อ 47 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 ข้อ 8 ให้ยกเลิกความในข้อ 77 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 77 บริษัทจัดการต้องจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วในแต่ละรอบปีบัญชี ทั้งนี้ ภายใน 90 วันนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชี หรือวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่ายเงินปันผลนั้น แล้วแต่กรณี กําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วตามวรรคหนึ่ง ให้หมายถึงกําไรสุทธิที่หักด้วยรายการเงินสํารองเฉพาะเพื่อการดังนี้ (ก) การซ่อมแซม บํารุงรักษา หรือปรับปรุงอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมตามแผนที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวน แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี รายงานประจําปี หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า (ข) การชําระหนี้เงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันของกองทุนรวมตามนโยบายการกู้ยืมเงินที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวน แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี รายงานประจําปี หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า (ค) การจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนชนิดที่ให้สิทธิในการได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนในลําดับแรก (ถ้ามี) (2) ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการจะต้องพิจารณาถึงความจําเป็นในการดํารงเงินสดของกองทุนรวมให้เหมาะสม ทั้งนี้ ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด (3) บริษัทจัดการต้องไม่กู้ยืมเงินเพื่อจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน (4) ในกรณีที่กองทุนรวมยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ ห้ามมิให้บริษัทจัดการจ่ายเงินปันผล ในกรณีที่บริษัทจัดการไม่สามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง (1) ผู้ดูแลผลประโยชน์และบริษัทจัดการต้องชี้แจงเหตุผลความจําเป็นต่อสํานักงาน ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด และเปิดเผยให้ผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมทราบในการประชุมสามัญประจําปี” ข้อ 9 ให้ยกเลิกข้อ 78 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 ข้อ 10 ในกรณีที่สัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ใดมีข้อกําหนดเกี่ยวกับหน้าที่ของผู้ดูแลผลประโยชน์ที่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดในประกาศนี้ ให้บริษัทจัดการดําเนินการให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดในประกาศนี้ภายในโอกาสแรกที่กระทําได้ ข้อ 11 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
613
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับประมวล)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับประมวล) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 117 และมาตรา 119 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และมาตรา 129/2 วรรคสาม และมาตรา 129/3 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๗๐ ยกเลิก ข้อ ๗๑ ในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ ให้บริษัทจัดการจัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน (๑) เมื่อบริษัทจัดการเห็นสมควรให้มีการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อประโยชน์ ในการจัดการกองทุนรวม (๒) เมื่อผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งถือหน่วยลงทุนรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ของจํานวน หน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม เข้าชื่อกันทําหนังสือขอให้บริษัทจัดการ เรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน โดยระบุเหตุผลในการขอให้เรียกประชุมไว้อย่างชัดเจน ในกรณีที่ปรากฏเหตุตามวรรคหนึ่ง (๒) บริษัทจัดการต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนภายใน ๔๕ วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือของผู้ถือหน่วยลงทุน” ข้อ ๗๗ ในกรณีที่บริษัทจัดการไม่สามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ตามวรรคหนึ่ง (๑) ผู้ดูแลผลประโยชน์และบริษัทจัดการต้องชี้แจงเหตุผลความจําเป็นต่อสํานักงาน ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด และเปิดเผยให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด ในข้อ ๘/๑ แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. ๒๐/๒๕๖๑ เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลของกองทุนรวมและทรัสต์ที่มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์หรือโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
614
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 7/2565 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 7/2565 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 4 ) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในบทนิยามคําว่า “ผู้จองซื้อพิเศษ” ในข้อ 3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2562 เรื่อง การจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ““ผู้จองซื้อพิเศษ” หมายความว่า ผู้ลงทุนที่หนังสือชี้ชวนระบุวิธีการจัดสรร ไว้แยกต่างหากจากผู้จองซื้อทั่วไปโดยผู้ลงทุนดังกล่าวเป็นบุคคลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) ผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 39/2564 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2564 แต่ไม่รวมถึงผู้ลงทุนตามข้อ 5(10) (17) (21) (22) (23) (24) (25) และ (26) แห่งประกาศฉบับดังกล่าว (2) กองทุนส่วนบุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์รับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนตาม (1) หรือ ผู้ลงทุนตาม (3) ถึง (10) (3) ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือ นิติบุคคลอื่นที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น (4) สภากาชาดไทย หรือมูลนิธิเพื่อสาธารณะประโยชน์ (5) สหกรณ์ออมทรัพย์ หรือชุมนุมสหกรณ์ (6) สถาบันการเงินระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นสมาชิก (7) โครงการจัดการลงทุนต่างประเทศที่เสนอขายหน่วยต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป (8) ผู้ลงทุนต่างประเทศซึ่งมีลักษณะเดียวกับผู้ลงทุนดังต่อไปนี้ (ก) ผู้ลงทุนสถาบันตาม (1) แต่ไม่รวมถึงบริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ กองทุนรวม และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ข) ผู้ลงทุนตาม (3) (ค) กองทุนส่วนบุคคลที่เป็นการรับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนตาม (ก) หรือ (ข) (9) นิติบุคคลซึ่งมีผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (8) ถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด (10) ผู้ลงทุนอื่นใดตามที่สํานักงานประกาศกําหนด” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2565 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
615
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขาย หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 มาตรา 40(11) มาตรา 41(3) และ (4) มาตรา 42(10) และมาตรา 43(3) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ข้อ ๒ (1) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้อนุพันธ์ที่ออกใหม่ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 (2) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 17/2555 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้อนุพันธ์ที่ออกใหม่ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2555 (3) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 37/2555 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้อนุพันธ์ที่ออกใหม่ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2555 (4) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 15/2556 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้อนุพันธ์ที่ออกใหม่ (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556 (5) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 35/2557 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้อนุพันธ์ที่ออกใหม่ (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557 (6) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 45/2557 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้อนุพันธ์ที่ออกใหม่ (ฉบับที่ 6) ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 (7) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 28/2558 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้อนุพันธ์ที่ออกใหม่ (ฉบับที่ 7) ลงวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (8) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 26/2555 เรื่อง การเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ประเภทหุ้นกู้อนุพันธ์หรือหุ้นกู้ที่ผู้ถือหุ้นกู้มีภาระผูกพันซึ่งออกโดยสถาบันการเงิน ลงวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 (9) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 20/2557 เรื่อง การเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ประเภทหุ้นกู้อนุพันธ์หรือหุ้นกู้ที่ผู้ถือหุ้นกู้มีภาระผูกพันซึ่งออกโดยสถาบันการเงิน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557 (10) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 36/2557 เรื่อง การเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ประเภทหุ้นกู้อนุพันธ์หรือหุ้นกู้ที่ผู้ถือหุ้นกู้มีภาระผูกพันซึ่งออกโดยสถาบันการเงิน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557 (11) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 46/2557 เรื่อง การเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ประเภทหุ้นกู้อนุพันธ์หรือหุ้นกู้ที่ผู้ถือหุ้นกู้มีภาระผูกพันซึ่งออกโดยสถาบันการเงิน (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ข้อ ๓ ในประกาศนี้ คําว่า “ผู้บริหาร” “ผู้ลงทุนรายใหญ่” “ผู้ลงทุนสถาบัน” และ “หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายตราสารหนี้ทุกประเภท “หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงระยะสั้น” หมายความว่า หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่มีกําหนดเวลาชําระหนี้ไม่เกิน 270 วันนับแต่วันที่ออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงนั้น “บริษัท” หมายความว่า (1) บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด (2) สถาบันการเงิน “สถาบันการเงิน” หมายความว่า (1) ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน (2) บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ หรือการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ ซึ่งมิได้จํากัดเฉพาะเพียงบางประเภทหลักทรัพย์ (3) สถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงิน “ตลาดหลักทรัพย์” หมายความว่า ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย “ข้อกําหนดสิทธิ” หมายความว่า ข้อกําหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงและผู้ถือหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง “ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้” หมายความว่า ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ซึ่งมีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ตามที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยคุณสมบัติของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ และการกระทําตามอํานาจหน้าที่ของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ “บุคคลภายในของบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิง” หมายความว่า บุคคลที่อยู่ในฐานะที่อาจมีโอกาสล่วงรู้ข้อมูลภายในของบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิงอันเนื่องมาจากการมีโครงสร้างการถือหุ้นหรือกาจัดการร่วมกับบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิง โดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคคลที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ด้วย (1) ถือหุ้นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 25 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิง (2) มีบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิงเป็นผู้ถือหุ้นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 25 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด (3) มีผู้ถือหุ้นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 25 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดเป็นกลุ่มบุคคลเดียวกับผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิงเกินกว่าร้อยละ 25 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด (4) มีกรรมการหรือผู้บริหารเป็นกลุ่มบุคคลเดียวกับกรรมการที่มีอํานาจลงนามผูกพันหรือผู้บริหารของบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิง (5) มีโครงสร้างการถือหุ้นหรือการจัดการในลักษณะอื่นใดที่แสดงให้เห็นได้ว่าผู้ที่ประสงค์จะยื่นคําขออนุญาตมีอํานาจควบคุมบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิง หรือมีบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิงเป็นผู้มีอํานาจควบคุม หรือมีผู้มีอํานาจควบคุมเป็นบุคคลเดียวกับผู้มีอํานาจควบคุมบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิง การนับรวมจํานวนหุ้นตามวรรคหนึ่ง (1) หรือ (2) หรือ (3) ให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวด้วย และในกรณีที่บุคคลนั้นเป็นนิติบุคคล ให้นับรวมการถือหุ้นของกรรมการและผู้บริหารในสายงานที่เกี่ยวข้องกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้อนุพันธ์ของนิติบุคคลดังกล่าวด้วย หมวด ๑ บททั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๑ ขอบเขตการใช้บังคับ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔ เนื่องจากหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงเป็นตราสารหนี้ซึ่งมีลักษณะของข้อตกลงและเงื่อนไขที่มีองค์ประกอบรวมกันระหว่างหุ้นกู้ที่เป็นการกู้ยืมเงินโดยทั่วไปกับสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ในการกํากับดูแลการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงจึงมีประกาศเกี่ยวข้อง 2 ส่วน ส่วนแรกคือประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่กําหนดเกี่ยวกับการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่เป็นการกู้ยืมเงินโดยทั่วไป เช่น ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหุ้นกู้สกุลเงินตราต่างประเทศในประเทศไทย และประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายตราสารหนี้ของหน่วยงานภาครัฐไทย และส่วนที่สองคือประกาศฉบับนี้ที่กําหนดหลักเกณฑ์การกํากับดูแลเพิ่มเติมจากประกาศในส่วนแรกซึ่งเน้นการกํากับดูแลในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลที่อยู่ในข่ายที่ควรเป็นผู้ออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ลักษณะของหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง และการเสนอขายตราสารดังกล่าวต่อผู้ลงทุนในแต่ละประเภท ในการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง จึงให้ปฏิบัติตามประกาศ 2 ส่วนดังกล่าวควบคู่กัน เว้นแต่เป็นหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงตามข้อ 5 และในกรณีที่ข้อกําหนดใดของประกาศทั้ง 2 ส่วนนั้นขัดหรือแย้งกัน ให้ใช้ข้อกําหนดตามประกาศนี้เป็นหลัก ข้อ ๕ หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ ไม่ต้องอยู่ภายใต้บังคับประกาศนี้ (1) ผู้ออกมีสิทธิในการบังคับไถ่ถอนคืนก่อนกําหนด (callable) หรือผู้ถือมีสิทธิเรียกให้ผู้ออกชําระหนี้คืนก่อนกําหนด (puttable) โดยมีการกําหนดผลตอบแทนไว้อย่างแน่นอนหรือเป็นอัตราที่ผันแปรตามอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยอื่น และไม่มีการกําหนดเงื่อนไขการจ่ายผลตอบแทนที่อ้างอิงกับปัจจัยอ้างอิงอื่นเพิ่มเติม (2) สิทธิตามหุ้นกู้ดังกล่าวมีลักษณะเป็นหุ้นกู้แปลงสภาพ และเป็นไปตามเงื่อนไขครบถ้วนดังนี้ (ก) กําหนดมูลค่าผลตอบแทนก่อนการใช้สิทธิในการแปลงสภาพไว้อย่างแน่นอนหรือเป็นอัตราที่ผันแปรตามอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยอื่น และไม่มีการกําหนดเงื่อนไขการจ่ายผลตอบแทนที่อ้างอิงกับปัจจัยอ้างอิงอื่นเพิ่มเติม (ข) มีข้อกําหนดในการแปลงสภาพที่ระบุให้แปลงสภาพเป็นหุ้นของผู้ออกหุ้นกู้เท่านั้น (ค) กําหนดราคาแปลงสภาพโดยไม่ผูกอยู่กับปัจจัยอ้างอิงอื่น ข้อ ๖ ข้อกําหนดตามประกาศนี้ใช้เฉพาะกับกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงในประเทศไทยเท่านั้น ข้อ ๗ ข้อกําหนดเพิ่มเติมสําหรับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (1) หลักเกณฑ์การอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อประชาชนเป็นการทั่วไป เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทั่วไปในส่วนที่ 3 ของหมวดนี้ และหมวด 2 (2) หลักเกณฑ์การออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัด เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทั่วไปในส่วนที่ 3 ของหมวดนี้ และหมวด 3 ข้อ ๘ ในการจําหน่ายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อประชาชนเป็นการทั่วไปตามหมวด 2 บริษัทที่ได้รับอนุญาตมีหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจําหน่ายตราสารหนี้และใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ที่ออกใหม่ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ด้วย ส่วน ๒ อํานาจของสํานักงาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๙ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจไม่อนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงตามคําขออนุญาตได้ (1) บริษัทที่ขออนุญาตหรือการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงมีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงนั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือประกาศนี้ (2) การเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงอาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐ (3) การเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม (4) การเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุนโดยรวม หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนโดยรวมไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน ข้อ ๑๐ ในกรณีที่ปรากฏต่อสํานักงานภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงว่าข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ที่สํานักงานนํามาพิจารณาเพื่ออนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นปรากฏต่อสํานักงานก่อนการอนุญาต สํานักงานอาจไม่อนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงนั้น ให้สํานักงานมีอํานาจดังต่อไปนี้ (1) สั่งให้บริษัทที่ได้รับอนุญาต กรรมการ หรือผู้บริหารของบริษัทที่ได้รับอนุญาต ชี้แจงหรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมภายในระยะเวลาที่กําหนด และระงับการอนุญาตให้ออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงหรือให้บริษัทที่ได้รับอนุญาตระงับการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงไว้ก่อนจนกว่าจะได้ชี้แจงหรือแก้ไขให้ถูกต้อง และหากบริษัทที่ได้รับอนุญาต กรรมการ หรือผู้บริหารของบริษัทที่ได้รับอนุญาต ไม่สามารถชี้แจงหรือดําเนินการแก้ไขให้ถูกต้องได้ภายในระยะเวลาที่กําหนด สํานักงานอาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตตาม (2) ได้ (2) สั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงในส่วนที่ยังมิได้เสนอขายหรือยังไม่มีผู้จองซื้อ ในการสั่งการตามวรรคหนึ่งให้สํานักงานคํานึงถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ประกอบการพิจารณา (1) ความร้ายแรงของข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป (2) ผลกระทบต่อผู้ลงทุนที่จองซื้อหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงนั้น ข้อ ๑๑ ในกรณีที่เข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจผ่อนผันไม่นําหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้มาใช้พิจารณาคําขออนุญาต หรือไม่นําเงื่อนไขตามประกาศนี้มาใช้บังคับกับการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่ได้รับอนุญาตได้ (1) มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจนซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผันให้ไม่มีนัยสําคัญสําหรับการพิจารณาอนุญาตในกรณีนั้น และประโยชน์ที่จะได้ไม่คุ้มค่ากับต้นทุนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขดังกล่าว (2) บริษัทที่ขออนุญาตมีข้อจํากัดตามกฎหมายอื่นที่ทําให้ไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน (3) บริษัทที่ขออนุญาตมีมาตรการอื่นที่เพียงพอ และสามารถทดแทนการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน การผ่อนผันตามวรรคหนึ่งให้คํานึงถึงความเหมาะสมและความเพียงพอของข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนและมาตรการคุ้มครองผู้ลงทุนเป็นสําคัญ ทั้งนี้ สํานักงานอาจกําหนดเงื่อนไขให้บริษัทที่ขออนุญาตต้องปฏิบัติด้วยก็ได้ ส่วน ๓ หลักเกณฑ์ทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๒ บริษัทที่จะขออนุญาตออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ต้องมีสถานะดังต่อไปนี้ (1) บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (2) สถาบันการเงิน ทั้งนี้ กรณีเป็นธนาคารต่างประเทศซึ่งมีสาขาที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทยตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน ธนาคารต่างประเทศดังกล่าวต้องมีความรับผิดต่อเจ้าหนี้ในการชําระหนี้อย่างเต็มจํานวนจากทรัพย์สินของตน ข้อ ๑๓ ข้อตกลงในการชําระค่าซื้อและการชําระหนี้ตามหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงจะมีการกําหนดเป็นสกุลเงินบาทหรือสกุลเงินต่างประเทศก็ได้ ข้อ ๑๔ เอกสารหรือหลักฐานที่ต้องยื่นต่อสํานักงานตามที่ประกาศนี้กําหนด ไม่ว่าก่อนหรือภายหลังได้รับอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่สํานักงานประกาศกําหนด ข้อ ๑๕ ปัจจัยอ้างอิงของหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงจะต้องเป็นตัวแปร สินค้า หรือดัชนี อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างประกอบกันดังต่อไปนี้ (1) หลักทรัพย์ไทย (2) หลักทรัพย์ต่างประเทศ (3) อัตราดอกเบี้ย (4) อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (5) อัตราเงินเฟ้อ (6) เครดิตอื่นใด เช่น อันดับความน่าเชื่อถือ หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการชําระหนี้ตามที่ระบุในข้อตกลง (7) สินค้าโภคภัณฑ์ เช่น สินค้าเกษตร ทองคํา น้ํามันดิบ เป็นต้น (8) ดัชนีอ้างอิงอื่นใดซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่กําหนดดังนี้ (ก) มีองค์ประกอบของดัชนีที่สามารถใช้เป็นปัจจัยอ้างอิงได้ตาม (1) ถึง (7) (ข) มีการกําหนดวิธีการคํานวณดัชนีไว้อย่างชัดเจน และมีการระบุถึงแหล่งข้อมูลของปัจจัยอ้างอิงหรือปัจจัยต่าง ๆ ที่นํามาใช้ในการคํานวณ รวมถึงมีการคํานวณดัชนีให้เป็นปัจจุบันตามความเหมาะสมขององค์ประกอบของดัชนี ทั้งนี้ ปัจจัยอ้างอิงหรือปัจจัยดังกล่าวต้องมีการเคลื่อนไหวตามสภาวะตลาดอย่างเป็นอิสระด้วย (ค) เป็นดัชนีที่ได้รับการพัฒนาโดยสถาบันที่มีความน่าเชื่อถือและทําหน้าที่ได้อย่างอิสระจากบริษัทที่ขออนุญาต ทั้งนี้ หากปรากฏว่าสถาบันดังกล่าวเป็นบริษัทในเครือของบริษัทที่ขออนุญาต บริษัทที่ขออนุญาตนั้นต้องจัดให้มีมาตรการป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพด้วย (ง) มีการแสดงดัชนีนั้น ๆ อย่างต่อเนื่องเป็นประจําทุกวันทําการผ่านสื่อที่มีการเสนอข้อมูลอย่างทันเหตุการณ์ ข้อ ๑๖ ในกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงซึ่งมีการชําระหนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนโดยการส่งมอบเป็นหุ้น หุ้นที่จะนํามาใช้เป็นปัจจัยอ้างอิงได้ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) หุ้นที่เป็นองค์ประกอบของดัชนีหลักทรัพย์ SET 50 ของตลาดหลักทรัพย์ (2) หุ้นที่เป็นองค์ประกอบของดัชนีหลักทรัพย์ SET 100 ของตลาดหลักทรัพย์ โดยหุ้นในลําดับที่ 51 ถึง 100 แต่ละหุ้นดังกล่าวต้องมีมูลค่าตลาดเฉลี่ยแต่ละไตรมาสไม่ต่ํากว่า 10,000 ล้านบาทรวมติดต่อกัน 4 ไตรมาสล่าสุด ทั้งนี้ หลักเกณฑ์มูลค่าตลาดเฉลี่ยดังกล่าวไม่ใช้บังคับกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 21(2) (3) และ (4) (3) หุ้นที่ออกโดยบริษัทต่างประเทศ โดยหุ้นดังกล่าวต้องเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศที่มีมูลค่าตลาดเฉลี่ยแต่ละไตรมาสไม่ต่ํากว่า 10,000 ล้านบาทรวมติดต่อกัน4 ไตรมาสล่าสุด และตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศดังกล่าวจะต้องเป็นสมาชิกของ World Federation of Exchanges (WFE) ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ดังกล่าวไม่ใช้บังคับกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 21(2) (3) และ (4) (4) หุ้นของบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยที่ไม่ได้เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เฉพาะกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 21(2) (3) และ (4) ข้อ ๑๗ ในกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงซึ่งมีการชําระหนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนโดยการส่งมอบเป็นหุ้น บริษัทต้องยื่นคําขอตรวจสอบการใช้หุ้นอ้างอิงต่อสํานักงานโดยยื่นเอกสารหลักฐานตามที่สํานักงานประกาศกําหนดตามข้อ 14 และเมื่อสํานักงานได้รับคําขอตรวจสอบการใช้หุ้นอ้างอิง พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาตที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้บริษัทดังกล่าวชําระค่าธรรมเนียมคําขอตรวจสอบการใช้หุ้นอ้างอิงต่อสํานักงานทั้งนี้ อัตราค่าธรรมเนียมให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และการขออนุมัติโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ให้สํานักงานมีอํานาจประกาศกําหนดลักษณะของหุ้นอ้างอิงที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องยื่นคําขอตรวจสอบการใช้หุ้นอ้างอิงตามวรรคหนึ่งได้ ข้อ ๑๘ เพื่อมิให้มีการออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่อาจก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมกับผู้ลงทุนอื่นเนื่องจากผู้ออกหุ้นกู้ดังกล่าวสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่ตนสามารถเข้าถึงได้ก่อนบุคคลทั่วไป ในการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่มีการชําระหนี้ทั้งหมดหรือบางส่วนโดยการส่งมอบเป็นหุ้น บริษัทที่ขออนุญาตต้องไม่เป็นบุคคลภายในของบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิงนั้น เว้นแต่เป็นไปตามเงื่อนไขที่ได้รับยกเว้นดังต่อไปนี้ (1) เป็นการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 21(2) (3) และ (4) (2) เป็นการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อผู้ลงทุนอื่นนอกจากกรณีตาม (1) และบริษัทที่ขออนุญาตได้ดําเนินการตามเงื่อนไขครบถ้วนดังนี้ (ก) แสดงได้ว่ามีหุ้นอ้างอิงในจํานวนที่เพียงพอสําหรับส่งมอบเพื่อชําระหนี้ตามหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง และมีกลไกในการดูแลรักษาหุ้นอ้างอิงดังกล่าว โดยกลไกนั้นจะต้องสามารถป้องกันมิให้มีการนําหุ้นอ้างอิงไปใช้เพื่อการอื่นได้ (ข) มีการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุนอย่างชัดเจนว่าบริษัทที่ขออนุญาตเป็นบุคคลภายในของบริษัทที่ออกหุ้นอ้างอิง หมวด ๒ หลักเกณฑ์การอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๙ บริษัทที่ขออนุญาตออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อประชาชนเป็นการทั่วไปจะได้รับอนุญาตเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) บริษัทที่ขออนุญาตต้องมีคุณสมบัติหรือลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ (ก) เป็นผู้ได้รับอนุญาตหรือจดทะเบียนเป็นผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 (ข) ในกรณีบริษัทที่ขออนุญาตไม่มีคุณสมบัติตาม (ก) บริษัทดังกล่าวจะต้องแสดงได้ว่ามีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ 1. มีความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยอ้างอิง เช่น มีธุรกิจหลักที่เกี่ยวข้องกับสินค้าโภคภัณฑ์หรือดัชนีที่เป็นปัจจัยอ้างอิง เป็นต้น 2. จะมีฐานะสัญญาซื้อขายล่วงหน้ากับผู้ได้รับอนุญาตหรือจดทะเบียนเป็นผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 เพื่อป้องกันความเสี่ยงทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นจากการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (2) ในการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่มีปัจจัยอ้างอิงเป็นหุ้นซึ่งต้องมีการตรวจสอบการใช้หุ้นอ้างอิงนั้นด้วย บริษัทที่ขออนุญาตจะต้องได้รับการแจ้งผลการยืนยันให้ใช้หุ้นนั้นเป็นปัจจัยอ้างอิงได้แล้ว (3) ไม่มีข้อกําหนดที่ทําให้ผู้ถือหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงซึ่งถือหุ้นกู้จนครบกําหนดอายุของหุ้นกู้จะได้รับชําระเงินลงทุนคืนน้อยกว่าร้อยละ 80 ของจํานวนเงินซึ่งบริษัทที่ขออนุญาตได้รับจากผู้ลงทุน เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันเป็นการเฉพาะจากสํานักงาน ข้อ ๒๐ ให้บริษัทที่ได้รับอนุญาตที่แสดงว่ามีลักษณะเป็นไปตามข้อ 19(1) (ข) 2. มีหน้าที่ต้องปฏิบัติภายหลังการอนุญาตโดยต้องส่งสําเนาหลักฐานการมีฐานะสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามที่กําหนดในข้อ 19(1) (ข) 2. ต่อสํานักงานภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีฐานะสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หมวด ๓ การออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ต่อบุคคลในวงจํากัด \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๑ หลักเกณฑ์การอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๑ การออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ ให้ถือเป็นการออกและเสนอขายต่อบุคคลในวงจํากัด (1) การออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ แต่ไม่รวมถึงการออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ที่ได้จดข้อจํากัดการโอนไว้ไม่เกิน 10 ราย ในรอบระยะเวลา 4 เดือนใด ๆ ซึ่งกรณีดังกล่าวให้ถือว่าเป็นการออกและเสนอขายตาม (2) (2) การออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งมีจํานวนไม่เกิน 10 ราย ในรอบระยะเวลา 4 เดือนใด ๆ ในกรณีที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ผู้รับฝากทรัพย์สิน นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ผู้ค้าหลักทรัพย์หรือบุคคลอื่นใด มีการถือครองหุ้นกู้แทนบุคคลอื่น การนับจํานวนผู้ลงทุนตามวรรคหนึ่งให้นับจากบุคคลที่เป็นเจ้าของที่แท้จริงของหุ้นกู้นั้น (3) การออกและเสนอขายต่อบุคคลที่เป็นเจ้าหนี้ของบริษัทอยู่แล้วก่อนการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงเพื่อประโยชน์ในการปรับโครงสร้างหนี้ (4) การออกและเสนอขายที่บริษัทที่จะออกและเสนอขายหุ้นกู้ดังกล่าวแสดงได้ว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ครบถ้วนดังนี้ และได้รับการผ่อนผันจากสํานักงานด้วยแล้ว (ก) มีเหตุจําเป็นและสมควร (ข) การเสนอขายดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบต่อผู้ลงทุนในวงกว้าง (ค) มีมาตรการให้ความคุ้มครองแก่ผู้ลงทุนอย่างเพียงพอแล้ว ข้อ ๒๒ บริษัทที่ประสงค์จะออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดที่มีลักษณะหรือเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ หากได้ดําเนินการให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดในข้อ 23ให้ถือว่าบริษัทได้รับอนุญาตจากสํานักงานแล้ว (1) เป็นการออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันที่จัดตั้งขึ้นหรือรับรองโดยกฎหมายต่างประเทศ (2) เป็นการออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 21(1) เฉพาะกรณีบริษัทที่ประสงค์จะออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงเป็นสถาบันการเงินที่ได้รับอนุญาตหรือจดทะเบียนเป็นผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 (3) เป็นการออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งมีจํานวนไม่เกิน 10 รายตามข้อ 21(2) (4) เป็นการออกและเสนอขายต่อบุคคลที่เป็นเจ้าหนี้ของบริษัทตามข้อ 21(3) (5) เป็นการออกและเสนอขายโดยได้รับผ่อนผันจากสํานักงานตามข้อ 21(4) ข้อ ๒๓ เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าบริษัทที่ประสงค์จะออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลตามข้อ 22 ได้รับอนุญาตจากสํานักงานแล้ว (1) จดข้อจํากัดการโอนหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่จะเสนอขายกับสํานักงาน ซึ่งแสดงข้อความว่าผู้ออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงจะไม่รับจดทะเบียนการโอนหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงไม่ว่าทอดใด ๆ หากการโอนหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงดังกล่าวจะทําให้หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่เสนอขายในครั้งนั้นไม่สามารถคงลักษณะการเสนอขายต่อผู้ลงทุนตามลักษณะในข้อ 22 ได้ เว้นแต่เป็นการโอนทางมรดก ทั้งนี้ ให้ถือว่าสํานักงานรับจดข้อจํากัดการโอนดังกล่าวในวันที่สํานักงานได้รับการแสดงเจตนาจดข้อจํากัดการโอนที่มีข้อความนั้นแล้ว (2) ไม่เคยเสนอขายตราสารหนี้ หรือศุกูก ที่เป็นการฝ่าฝืนลักษณะการขายที่จํากัดเฉพาะผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ภายในระยะเวลา 2 ปีก่อนวันยื่นข้อจํากัดการโอน เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน โดยบริษัทแสดงได้ว่ามีเหตุจําเป็นและสมควร รวมทั้งมีมาตรการจัดการเกี่ยวกับการเสนอขายอย่างเหมาะสมแล้ว (3) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงซึ่งมีลักษณะเป็นหุ้นกู้มีประกันหรือที่จัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ บริษัทได้เสนอร่างข้อกําหนดสิทธิและร่างสัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้มาพร้อมกับการจดข้อจํากัดการโอน (4) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่ต้องมีการตรวจสอบการใช้หุ้นอ้างอิง บริษัทได้รับแจ้งยืนยันให้ใช้หุ้นเป็นปัจจัยอ้างอิงจากสํานักงานแล้ว ข้อ ๒๔ บริษัทที่ประสงค์จะออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดในลักษณะอื่นนอกจากลักษณะตามข้อ 22 ให้บริษัทดังกล่าวยื่นคําขออนุญาตต่อสํานักงาน และเมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาตที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้บริษัทดังกล่าวชําระค่าธรรมเนียมคําขออนุญาตต่อสํานักงานโดยอัตราค่าธรรมเนียมให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และการขออนุมัติโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ เมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาตพร้อมเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้สํานักงานดําเนินการสอบทานข้อเท็จจริงตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนและแจ้งประเด็นข้อสังเกตที่ได้จากการสอบทานข้อเท็จจริงเพื่อให้บริษัทที่ขออนุญาตชี้แจงข้อสังเกตนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือแจ้งข้อสังเกต โดยต้องดําเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 45 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุญาตภายใน 30 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับคําชี้แจงต่อข้อสังเกตจากการสอบทานข้อเท็จจริงจากบริษัทที่ขออนุญาต ในกรณีที่บริษัทที่ขออนุญาตประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ ให้บริษัทที่ขออนุญาตยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงานก่อนที่สํานักงานจะเริ่มการพิจารณาตามวรรคสาม ทั้งนี้ ตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน โดยสํานักงานจะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาคําขออนุญาตตามวรรคสาม ข้อ ๒๕ บริษัทที่ยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงตามข้อ 24 จะได้รับอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อเมื่อมีลักษณะและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 19(1) และ (2) และข้อ 23(1) และ (2) โดยอนุโลม ในกรณีที่การเสนอขายตามวรรคหนึ่งเป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่มีลักษณะเป็นหุ้นกู้มีประกันหรือหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่จัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ เมื่อสํานักงานได้อนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงแล้ว ให้ถือว่าบริษัทที่ได้รับอนุญาตได้รับความเห็นชอบการแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้จากสํานักงานในวันเดียวกันด้วย ข้อ ๒๖ บริษัทที่ได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงตามข้อ 25สามารถเสนอขายหุ้นกู้ดังกล่าวได้ดังต่อไปนี้ (1) การเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงระยะสั้น ให้เสนอขายได้โดยไม่จํากัดมูลค่าและจํานวนครั้งที่เสนอขายภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการพิจารณาอนุญาต (2) การเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงลักษณะอื่นนอกจาก (1) ให้เสนอขายในแต่ละครั้งให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการพิจารณาอนุญาต ส่วน ๒ เงื่อนไขการอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๗ ในกรณีที่บริษัทได้รับอนุญาตภายใต้หลักเกณฑ์การอนุญาตตามข้อ 23 ให้บริษัทปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) กรณีบริษัทที่ได้รับอนุญาตเป็นบริษัทจํากัดต้องจัดให้ได้มาซึ่งมติโดยชัดแจ้งของคณะกรรมการบริษัทให้ออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง หรือกรณีบริษัทที่ได้รับอนุญาตเป็นบริษัทมหาชนจํากัดต้องได้รับมติให้ออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด ก่อนการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงนั้น แล้วแต่กรณี ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับกรณีที่บริษัทต้องออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงตามแผนฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลายซึ่งศาลเห็นชอบด้วยแผนนั้นแล้ว หรือกรณีอื่นใดที่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน (2) ในกรณีหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่เสนอขายเป็นหุ้นกู้มีประกัน หรือเป็นหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่จัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ บริษัทที่ได้รับอนุญาตต้องจัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ซึ่งเป็นบุคคลที่มีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยคุณสมบัติของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ และการกระทําตามอํานาจหน้าที่ของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ข้อ ๒๘ ให้บริษัทที่ได้รับอนุญาตตามข้อ 25 ที่แสดงว่ามีลักษณะเป็นไปตามข้อ 19(1) (ข) 2. มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตโดยให้ส่งสําเนาหลักฐานการมีฐานะสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามที่กําหนดในข้อ 19(1) (ข) 2. ต่อสํานักงานภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีฐานะสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ข้อ ๒๙ ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 21(1) บริษัทที่ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้การชักชวน หรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงได้ เว้นแต่บริษัทที่ได้รับอนุญาตมีสถานะเป็นบริษัทหลักทรัพย์ที่สามารถดําเนินการดังกล่าวได้อยู่แล้ว โดยให้บริษัทที่ได้รับอนุญาตซึ่งมีสถานะดังกล่าวปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการให้บริการหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงด้วย (2) ปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจําหน่ายตราสารหนี้และใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ที่ออกใหม่ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ โดยอนุโลม ข้อ ๓๐ ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อผู้ลงทุนสถาบันที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 21(1) บริษัทที่ได้รับอนุญาตต้องจัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญตราสาร (fact sheet) ให้แก่ผู้ลงทุนดังกล่าวก่อนการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง หมวด ๔ บทเฉพาะกาล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓๑ ให้บรรดาประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้อนุพันธ์ที่ออกใหม่ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 และตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 26/2555 เรื่อง การเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ประเภทหุ้นกู้อนุพันธ์หรือหุ้นกู้ที่ผู้ถือหุ้นมีภาระผูกพันซึ่งออกโดยสถาบันการเงิน ลงวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ซึ่งใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับยังคงมีผลใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดแห่งประกาศนี้ จนกว่าจะได้มีประกาศ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ ๓๒ ในกรณีที่มีประกาศฉบับอื่นใดอ้างอิงถึงประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้อนุพันธ์ที่ออกใหม่ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 หรือประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 26/2555 เรื่อง การเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ประเภทหุ้นกู้อนุพันธ์หรือหุ้นกู้ที่ผู้ถือหุ้นกู้มีภาระผูกพันซึ่งออกโดยสถาบันการเงิน ลงวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงประกาศฉบับนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
616
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขาย หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 10/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 “ข้อ 10/1 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจสั่งระงับการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงไว้ก่อนหรือสั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่ได้รับอนุญาตจากสํานักงานตามข้อ 22 ได้ (1) บริษัทที่จะออกหรือเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงมีข้อบกพร่องหรือมีความไม่เหมาะสมเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง หรือจะไม่สามารถปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ (2) การเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุน หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน (3) บริษัทที่จะออกหรือเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามข้อ 22(2) ที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) อยู่ระหว่างถูกจํากัดหรือพักการประกอบธุรกิจโดยทางการหรือหน่วยงานที่มีอํานาจกํากับดูแลการประกอบธุรกิจของสถาบันการเงิน (ข) มีฐานะทางการเงินที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย หรือมีพฤติการณ์อื่นที่แสดงให้เห็นว่าอยู่ระหว่างประสบปัญหาทางการเงิน” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
617
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 25/2560 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 25/2560 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขาย หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 6/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 “ข้อ 6/1 ในกรณีบริษัทที่ยื่นคําขออนุญาตตามประกาศนี้มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ บริษัทดังกล่าวจะยื่นคําขออนุญาตออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงไม่ได้ (1) บริษัทที่กองทรัสต์ถือหุ้นในลักษณะที่เป็นการลงทุนในทรัพย์สินหลักของกองทรัสต์ในอัตราไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ หรือประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน แล้วแต่กรณี (2) บริษัทที่กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานถือหุ้นในลักษณะที่เป็นการลงทุนในทรัพย์สินหลักของกองทุนรวมในอัตราไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน หรือประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออนาคตประเทศไทย แล้วแต่กรณี (3) บริษัทที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการจัดหาและสนับสนุนเงินทุนให้แก่กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออนาคตประเทศไทยตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานเพื่ออนาคตประเทศไทยต่อประชาชนและการจัดการกองทุนรวม” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2560 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
618
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 33/2561 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 33/2561 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขาย หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 4) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 และมาตรา 41(3) และ (4) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 7/1 และข้อ 7/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 “ข้อ 7/1 ในการขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงตามประกาศนี้ ให้บริษัทที่ขออนุญาตซึ่งมีสถานะเป็นสถาบันการเงินได้รับยกเว้นในการจัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ข้อ 7/2 ให้บริษัทที่ได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ได้รับยกเว้นการยื่นคําขอขึ้นทะเบียนตราสารหนี้ต่อสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2561 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
619
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 68/2561 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 68/2561 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขาย หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 5) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 10/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 44/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 10/1 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจสั่งระงับการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงไว้ก่อนหรือสั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่ได้รับอนุญาตจากสํานักงานตามข้อ 23 ได้ (1) บริษัทที่จะออกหรือเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงมีข้อบกพร่องหรือมีความไม่เหมาะสมเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง หรือจะไม่สามารถปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ (2) การเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุน หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน (3) บริษัทที่จะออกหรือเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามข้อ 23(2) ที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) อยู่ระหว่างถูกจํากัดหรือพักการประกอบธุรกิจโดยทางการหรือหน่วยงานที่มีอํานาจกํากับดูแลการประกอบธุรกิจของสถาบันการเงิน (ข) มีฐานะทางการเงินที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย หรือมีพฤติการณ์อื่นที่แสดงให้เห็นว่าอยู่ระหว่างประสบปัญหาทางการเงิน” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความใน (2) (3) และ (4) ของข้อ 16 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(2) หุ้นที่เป็นองค์ประกอบของดัชนีหลักทรัพย์ SET 100 ของตลาดหลักทรัพย์ โดยหุ้นในลําดับที่ 51 ถึง 100 แต่ละหุ้นดังกล่าวต้องมีมูลค่าตลาดเฉลี่ยแต่ละไตรมาสไม่ต่ํากว่า 10,000 ล้านบาทรวมติดต่อกัน 4 ไตรมาสล่าสุด ทั้งนี้ หลักเกณฑ์มูลค่าตลาดเฉลี่ยดังกล่าวไม่ใช้บังคับกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 21(1) (4) และ (5) (3) หุ้นที่ออกโดยบริษัทต่างประเทศ โดยหุ้นดังกล่าวต้องเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศที่มีมูลค่าตลาดเฉลี่ยแต่ละไตรมาสไม่ต่ํากว่า 10,000 ล้านบาทรวมติดต่อกัน4 ไตรมาสล่าสุด และตลาดหลักทรัพย์ต่างประเทศดังกล่าวจะต้องเป็นสมาชิกของ World Federation of Exchanges (WFE) ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ดังกล่าวไม่ใช้บังคับกับการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 21(1) (4) และ (5) (4) หุ้นของบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยที่ไม่ได้เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เฉพาะกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 21(1) (4) และ (5)” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 18 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) เป็นการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 21(1) (4) และ (5)” ข้อ 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 19/1 และข้อ 19/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 “ข้อ 19/1 เมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้สํานักงานดําเนินการสอบทานข้อเท็จจริงตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนและแจ้งประเด็นข้อสังเกตที่ได้จากการสอบทานข้อเท็จจริงเพื่อให้ผู้ขออนุญาตชี้แจงข้อสังเกตนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือแจ้งข้อสังเกต โดยต้องดําเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 90 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาภายใน 30 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับคําชี้แจงต่อข้อสังเกตจากการสอบทานข้อเท็จจริงจากบริษัท ในกรณีที่บริษัทประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ ให้บริษัทยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงานก่อนที่สํานักงานจะเริ่มการพิจารณาตามวรรคสอง ทั้งนี้ ตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน โดยสํานักงานจะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาอนุญาตตามวรรคสอง ข้อ 19/2 ในกรณีที่เป็นการเสนอขายเฉพาะหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงระยะสั้น ให้บริษัทที่ได้รับอนุญาตสามารถเสนอขายได้โดยไม่จํากัดมูลค่าและจํานวนครั้งที่เสนอขายภายในระยะเวลา 2 ปีนับแต่วันที่สํานักงานแจ้งผลการอนุญาต ทั้งนี้ ให้บริษัทดังกล่าวรายงานลักษณะของหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงระยะสั้นที่เสนอขายในแต่ละครั้งต่อสํานักงานตามวิธีการที่กําหนดโดยข้อ 14 ด้วย ภายในระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง หากปรากฏว่าบริษัทที่ได้รับอนุญาตไม่สามารถดํารงคุณสมบัติตามประกาศนี้ และประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่เกี่ยวกับการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่เป็นการกู้ยืมเงินโดยทั่วไป บริษัทดังกล่าวจะเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงระยะสั้นตามวรรคหนึ่งไม่ได้จนกว่าจะดําเนินการแก้ไขคุณสมบัตินั้นได้ก่อนสิ้นระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง หากบริษัทเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงก่อนที่จะแก้ไขคุณสมบัติได้ ให้ถือว่าเป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงโดยไม่ได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ ทั้งนี้ บริษัทที่ได้รับอนุญาตมีหน้าที่ต้องแจ้งการไม่สามารถดํารงคุณสมบัติต่อสํานักงานภายใน 7 วันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงกรณีนั้น” ข้อ 5 ให้ยกเลิกความในหมวด 3 การออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัด ข้อ 21 ถึงข้อ 30 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “หมวด 3 การออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง ต่อบุคคลในวงจํากัด \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วนที่ 1 ลักษณะการออกและเสนอขายต่อบุคคลในวงจํากัด และหลักเกณฑ์ทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 21 การออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ ให้ถือเป็นการออกและเสนอขายต่อบุคคลในวงจํากัด (1) การออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งมีจํานวนไม่เกิน 10 ราย ในรอบระยะเวลา 4 เดือนใด ๆ (2) เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน (3) เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ (4) การออกและเสนอขายต่อบุคคลที่เป็นเจ้าหนี้ของบริษัทอยู่แล้วก่อนการออกและเสนอขายหุ้นกู้เพื่อประโยชน์ในการปรับโครงสร้างหนี้ (5) การออกและเสนอขายที่ได้รับผ่อนผันจากสํานักงาน โดยบริษัทที่จะได้รับอนุญาตต้องแสดงได้ว่า (ก) มีเหตุจําเป็นและสมควร (ข) การออกและการเสนอขายดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบต่อผู้ลงทุนในวงกว้าง (ค) มีมาตรการให้ความคุ้มครองแก่ผู้ลงทุนอย่างเพียงพอแล้ว ข้อ 22 การพิจารณาลักษณะการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 21 ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) การเสนอขายต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงตามข้อ 21(1) หากเป็นกรณีที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ผู้รับฝากทรัพย์สิน นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ผู้ค้าหลักทรัพย์ หรือบุคคลอื่นใด ถือครองพันธบัตรหรือหุ้นกู้แทนบุคคลอื่น ให้นับจํานวนผู้ลงทุนจากบุคคลที่เป็นเจ้าของที่แท้จริงของพันธบัตรหรือหุ้นกู้นั้น (2) การเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันตามข้อ 21(2) หรือการเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 21(3) ไม่รวมถึงการเสนอขายต่อผู้ลงทุนดังกล่าวที่ได้จดข้อจํากัดการโอนไว้ไม่เกิน 10 ราย ในรอบระยะเวลา 4 เดือนใด ๆ โดยให้ถือว่ากรณีดังกล่าวเป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงตามข้อ 21(1) (3) การเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 21(3) ให้หมายความรวมถึง การเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ที่มีการเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันด้วย ส่วนที่ 2 การออกและเสนอขายต่อบุคลลในวงจํากัด ที่ถือว่าได้รับอนุญาตเป็นการทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 23 บริษัทที่ประสงค์จะออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ หากได้ดําเนินการให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดในข้อ 24 ให้ถือว่าบริษัทได้รับอนุญาตจากสํานักงานแล้ว (1) เป็นการออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันที่จัดตั้งขึ้นหรือรับรองโดยกฎหมายต่างประเทศ (2) เป็นการออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย เฉพาะกรณีบริษัทที่เป็นสถาบันการเงินที่ได้รับอนุญาต หรือจดทะเบียนเป็นผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 (3) เป็นการออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งมีจํานวนไม่เกิน 10 รายตามข้อ 21(1) (4) เป็นการออกและเสนอขายต่อบุคคลที่เป็นเจ้าหนี้ของบริษัทตามข้อ 21(4) (5) เป็นการออกและเสนอขายโดยได้รับผ่อนผันจากสํานักงานตามข้อ 21(5) ข้อ 24 ให้ถือว่าบริษัทที่ประสงค์จะออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 23 ได้รับอนุญาตจากสํานักงานเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) บริษัทได้จดข้อจํากัดการโอนหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่จะเสนอขายกับสํานักงาน ซึ่งแสดงข้อความว่าผู้ออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงจะไม่รับจดทะเบียนการโอนหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงไม่ว่าทอดใด ๆ หากการโอนหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงดังกล่าวจะทําให้หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่เสนอขายในครั้งนั้นไม่สามารถคงลักษณะการเสนอขายต่อผู้ลงทุนตามลักษณะในข้อ 21 ได้ เว้นแต่เป็นการโอนทางมรดก ทั้งนี้ ให้ถือว่าสํานักงานรับจดข้อจํากัดการโอนดังกล่าวในวันที่สํานักงานได้รับการแสดงเจตนาจดข้อจํากัดการโอนที่มีข้อความนั้นแล้ว (2) บริษัทได้รายงานลักษณะของหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่จะเสนอขายต่อสํานักงานตามวิธีการที่กําหนดโดยข้อ 14 (3) บริษัทได้รับมติโดยชัดแจ้งจากคณะกรรมการบริษัทให้ออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นการออกและเสนอขายโดยบริษัทมหาชนจํากัด บริษัทต้องได้รับมติให้ออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับกรณีที่บริษัทต้องออกหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงตามแผนฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลายซึ่งศาลเห็นชอบด้วยแผนนั้นแล้ว (4) บริษัทไม่เคยเสนอขายหุ้นกู้ไม่ว่าประเภทใด ๆ ตั๋วเงิน หรือศุกูก ที่เป็นการฝ่าฝืนลักษณะการขายที่จํากัดเฉพาะผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ภายในระยะเวลา 2 ปีก่อนวันยื่นจดข้อจํากัดการโอน เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน โดยบริษัทแสดงได้ว่ามีเหตุจําเป็นและสมควร รวมทั้งมีมาตรการจัดการเกี่ยวกับการเสนอขายอย่างเหมาะสมแล้ว (5) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงซึ่งมีลักษณะเป็นหุ้นกู้มีประกันหรือที่จัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ บริษัทได้เสนอร่างข้อกําหนดสิทธิและร่างสัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้มาพร้อมกับการจดข้อจํากัดการโอน (6) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่ต้องมีการตรวจสอบการใช้หุ้นอ้างอิง บริษัทได้รับแจ้งยืนยันให้ใช้หุ้นเป็นปัจจัยอ้างอิงจากสํานักงานแล้ว ส่วนที่ 3 การเสนอขายในวงจํากัดที่ต้องยื่นคําขออนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 25 บริษัทที่ประสงค์จะออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ ให้ยื่นคําขออนุญาตต่อสํานักงาน (1) เป็นการออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 23(2) (2) เป็นการออกและเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ ข้อ 26 บริษัทที่ขออนุญาตตามข้อ 25(1) จะได้รับอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง เมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 19(1) และ (2) และข้อ 24 โดยอนุโลม ข้อ 27 บริษัทที่ขออนุญาตตามข้อ 25(2) จะได้รับอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง เมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) งบการเงินของบริษัทและงบการเงินรวมประจํางวดการบัญชีปีล่าสุด และงบการเงินไตรมาสสุดท้ายก่อนยื่นคําขอต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) จัดทําขึ้นตามมาตรฐานรายงานทางการเงินและเป็นไปตามหลักเกณฑ์อื่นที่เกี่ยวข้องกับการจัดทํางบการเงินตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (ข) รายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี ต้องไม่มีความหมายในลักษณะดังนี้ 1. ไม่แสดงความเห็นต่องบการเงินของบริษัทและงบการเงินรวม หรือแสดงความเห็นว่างบการเงินไม่ถูกต้อง 2. แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขในรายการบัญชีที่เป็นสาระสําคัญว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 3. แสดงความเห็นว่าถูกจํากัดขอบเขตการตรวจสอบโดยการกระทําหรือไม่กระทําของบริษัท หรือกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัท ในกรณีบริษัทที่ขออนุญาตเป็นธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ งบการเงินตามวรรคหนึ่ง (1) ให้หมายถึง งบการเงินของสาขาธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศในไทย (2) ไม่อยู่ระหว่างการดําเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งดังนี้ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน (ก) ค้างการนําส่งงบการเงินหรือรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําตามมาตรา 56 (ข) ค้างส่งรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําและจัดส่งต่อสํานักงานตามมาตรา 57 หรือค้างส่งรายงานในลักษณะเดียวกันต่อตลาดหลักทรัพย์ (ค) ปรับปรุงแก้ไขงบการเงิน หรือรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําตามมาตรา 56 หรือมาตรา 57 ตามที่สํานักงานแจ้งให้ดําเนินการปรับปรุงแก้ไข หรือปรับปรุงแก้ไขในลักษณะเดียวกันตามที่ตลาดหลักทรัพย์แจ้งให้ดําเนินการ (ง) ปฏิบัติตามคําสั่งของสํานักงานหรือตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 58 หรือตามมาตรา 199 ประกอบมาตรา 58 แล้วแต่กรณี (3) มีกรรมการและผู้บริหารที่มีรายชื่ออยู่ในระบบข้อมูลรายชื่อกรรมการและผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์การแสดงชื่อบุคคลในระบบข้อมูลรายชื่อกรรมการและผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ในกรณีที่บริษัทเป็นธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศ การพิจารณาตามวรรคหนึ่ง ให้พิจารณาเฉพาะกรรมการหรือผู้บริหารที่ดํารงตําแหน่งในสาขาในประเทศไทย (4) มีผู้มีอํานาจควบคุมที่ไม่มีลักษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท โดยอนุโลม (5) แบบแสดงรายการข้อมูลมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน (6) เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 19(1) และ (2) และข้อ 24 โดยอนุโลม (7) ไม่มีลักษณะตามข้อ 28 เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตเป็นบริษัทจดทะเบียน ผู้ขออนุญาตต้องไม่มีลักษณะเฉพาะตามที่กําหนดในข้อ 28(1) (ก) ข้อ 28 บริษัทที่ขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 25(2) ต้องไม่มีลักษณะดังต่อไปนี้ เว้นแต่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดในข้อ 29 (1) ภายในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง บริษัทต้องไม่มีลักษณะดังนี้ (ก) เคยมีประวัติฝ่าฝืนหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ในเรื่องที่มีนัยสําคัญ (ข) เคยถูกสํานักงานปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ เนื่องจากมีเหตุที่มีนัยสําคัญอันควรสงสัยเกี่ยวกับกลไกการบริหารจัดการในลักษณะดังนี้ 1. อาจไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นได้อย่างเป็นธรรมโดยอาจมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งซึ่งจะทําให้ได้เปรียบผู้ถือหุ้นรายอื่นหรือได้ประโยชน์มากกว่าผู้ถือหุ้นรายอื่นโดยไม่สมควร 2. อาจไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นได้โดยทําให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ได้รับประโยชน์ทางการเงินนอกเหนือจากที่พึงได้ตามปกติ หรือโดยทําให้บริษัทเสียประโยชน์ที่พึงได้รับ (ค) เคยถูกสํานักงานปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่เนื่องจากมีเหตุที่ทําให้สงสัยเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนที่ไม่ครบถ้วน ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน หรือทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ซึ่งมีลักษณะเป็นการปกปิดหรืออําพราง หรือสร้างข้อมูลที่อาจไม่มีอยู่จริงในรายการหรือการดําเนินการที่มีนัยสําคัญ (ง) เคยถอนคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่โดยไม่มีการชี้แจงเหตุสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) ต่อสํานักงาน หรือโดยมีการชี้แจงแต่ไม่ได้แสดงข้อเท็จจริงหรือเหตุผลอย่างสมเหตุสมผลที่จะหักล้างข้อสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) นั้น (2) ภายในระยะเวลา 10 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายตราสารหนี้ ผู้ขออนุญาตเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (3) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษหรือถูกดําเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริตอันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (4) เป็นบุคคลที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นการจัดรูปแบบเพื่อให้บุคคลที่มีลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3) หลีกเลี่ยงมิให้สํานักงานใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาตาม (1) (2) หรือ (3) กับบุคคลที่มีลักษณะดังกล่าวนั้น ข้อ 29 ไม่ให้นําความในข้อ 28(1) และ (2) แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับกับบริษัทซึ่งได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเหตุ ระบบงาน ระบบการบริหารจัดการ และการควบคุมการดําเนินงานที่ทําให้บริษัทมีลักษณะตามข้อ 28(1) หรือ (2) แล้ว ข้อ 29/1 ให้บริษัทที่ประสงค์จะออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อบุคคลในวงจํากัดตามข้อ 25 ยื่นคําขออนุญาต พร้อมทั้งแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นกู้ และจดข้อจํากัดการโอนกับสํานักงาน และเมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาตที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้บริษัทดังกล่าวชําระค่าธรรมเนียมคําขออนุญาตต่อสํานักงานโดยอัตราค่าธรรมเนียมให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และการขออนุมัติโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ เมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้สํานักงานดําเนินการสอบทานข้อเท็จจริงตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบในคู่มือสําหรับประชาชนและแจ้งประเด็นข้อสังเกตที่ได้จากการสอบทานข้อเท็จจริงเพื่อให้บริษัทที่ขออนุญาตชี้แจงข้อสังเกตนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือแจ้งข้อสังเกต โดยต้องดําเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 45 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุญาตภายใน 30 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับคําชี้แจงต่อข้อสังเกตจากการสอบทานข้อเท็จจริงจากบริษัทที่ขออนุญาต ในกรณีที่บริษัทที่ขออนุญาตประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ ให้บริษัทที่ขออนุญาตยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงานก่อนที่สํานักงานจะเริ่มการพิจารณาตามวรรคสาม ทั้งนี้ ตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน โดยสํานักงานจะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาคําขออนุญาตตามวรรคสาม ข้อ 29/2 บริษัทที่ได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้เสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงตามข้อ 29/1 สามารถเสนอขายหุ้นกู้ดังกล่าวได้ตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) เสนอขายได้โดยไม่จํากัดมูลค่าและจํานวนครั้งที่เสนอขายภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการพิจารณาอนุญาต ในกรณีดังนี้ (ก) การเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงระยะสั้น (ข) การเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เฉพาะกรณีบริษัทที่เป็นสถาบันการเงินที่ได้รับอนุญาตหรือจดทะเบียนเป็นผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 (2) เสนอขายในแต่ละครั้งให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการพิจารณาอนุญาต ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงลักษณะอื่นนอกจาก (1) ส่วนที่ 4 เงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 30 ให้บริษัทที่ได้รับอนุญาตตามข้อ 29/1 ดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีที่แสดงว่ามีลักษณะเป็นไปตามข้อ 19(1) (ข) 2. ให้บริษัทที่ได้รับอนุญาตดังกล่าวดําเนินการตามข้อ 20 โดยอนุโลม (2) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ บริษัทต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจําหน่ายตราสารหนี้และใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ที่ออกใหม่ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ โดยอนุโลม” ข้อ 6 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2561 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
620
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 22/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 6)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 22/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขาย หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง (ฉบับที่ 6) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (2) ของข้อ 24 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 12/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(2) บริษัทได้รายงานลักษณะหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่จะเสนอขายต่อสํานักงานตามวิธีการที่กําหนดโดยข้อ 14 เว้นแต่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งมีจํานวนไม่เกิน 10 รายตามข้อ 21(1)” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
621
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1 /2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 100 มาตรา 109 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 มาตรา 43 มาตรา 44 และมาตรา 64 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ (1) “กองทุนรวม” หมายความว่า กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (2) “บริษัทจัดการ” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนรวม (3) “ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน” หมายความว่า (ก) กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง หรือสิทธิการเช่าในที่ดิน อาคาร สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร อุปกรณ์ ตลอดจนทรัพย์สินอื่นใดที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ข) สิทธิสัมปทานในการประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ค) สิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคต หรือสิทธิตามสัญญาแบ่งรายได้ในอนาคตของกิจการโครงสร้างพื้นฐานหรือที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการกิจการโครงสร้างพื้นฐาน หรือการบริหารจัดการทรัพย์สินอื่นใดที่ได้จากการประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ง) สิทธิเรียกร้องตามสัญญาซื้อขายติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ หรือสัญญาก่อสร้าง หรือสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์หรือบริการของกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (จ) หุ้นหรือตราสารแห่งหนี้ที่ออกโดยบริษัทที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. มีการลงทุนในทรัพย์สินตาม (ก) (ข) (ค) หรือ (ง) รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของบริษัทดังกล่าว หรือมีรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินตาม (ก) (ข) (ค) หรือ (ง) ไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของรายได้รวมในแต่ละปีบัญชี และ 2. มีกองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นเกินกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทนั้นและเกินกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น (4) “กิจการโครงสร้างพื้นฐาน” หมายความว่า กิจการดังต่อไปนี้ (ก) ระบบขนส่งทางราง (ข) ไฟฟ้า (ค) ประปา (ง) ถนน ทางพิเศษ หรือทางสัมปทาน (จ) ท่าอากาศยานหรือสนามบิน (ฉ) ท่าเรือน้ําลึก (ช) โทรคมนาคม (ซ) พลังงานทางเลือก (5) “บริษัท” หมายความว่า บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด (6) “พลังงานทางเลือก” หมายความว่า กิจการที่ผลิตพลังงานจากแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วไม่หมดไปและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ํากว่าพลังงานจากฟอสซิล (7) “หน่วยลงทุนคล้ายหนี้” หมายความว่า หน่วยลงทุนที่มีข้อกําหนดที่แสดงว่า หากกองทุนรวมมีรายได้หรือกระแสเงินสดจากการดําเนินงานของกองทุนรวมเพียงพอ ผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมดังกล่าวจะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนหรือรับคืนเงินทุน ตามจํานวนหรืออัตราที่กําหนดไว้ล่วงหน้า (8) “ตลาดหลักทรัพย์” หมายความว่า ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (9) “โครงการที่แล้วเสร็จ” หมายความว่า กิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ และเริ่มมีรายได้ในเชิงพาณิชย์แล้ว (10) “โครงการที่ไม่แล้วเสร็จ” หมายความว่า กิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่ใช่โครงการที่แล้วเสร็จ (11) “ผู้ลงทุนรายใหญ่” หมายความว่า บุคคลที่ได้มาซึ่งหน่วยลงทุนครั้งแรกเป็นมูลค่าไม่น้อยกว่าสิบล้านบาท ทั้งนี้ ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวได้หน่วยลงทุนมาเพิ่มเติมเมื่อรวมกับหน่วยลงทุนที่ถืออยู่แล้วต้องคิดเป็นมูลค่าหน่วยลงทุนทั้งสิ้นไม่น้อยกว่าสิบล้านบาท การคํานวณมูลค่าหน่วยลงทุนตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามมูลค่าการซื้อขายหน่วยลงทุนในแต่ละครั้ง (12) “หน่วยลงทุนคล้ายทุน” หมายความว่า หน่วยลงทุนที่มิใช่หน่วยลงทุนคล้ายหนี้ (13) “บุคคลที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า บุคคลที่เข้าลักษณะเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องตามประกาศที่กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกระทําที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการจัดการกองทุนรวม (14) “ที่ปรึกษาทางการเงิน” หมายความว่า ที่ปรึกษาทางการเงินที่อยู่ในบัญชีที่สํานักงานให้ความเห็นชอบ (15) “ผู้ดูแลผลประโยชน์” หมายความว่า ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม (16) “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” หมายความว่า กลุ่มบุคคลเดียวกันที่มีลักษณะตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการจัดตั้งกองทุนรวม และการเข้าทําสัญญารับจัดการกองทุนส่วนบุคคล (17) “เงินทุนจดทะเบียน” หมายความว่า เงินทุนที่บริษัทจัดการได้รับจากการจําหน่ายหน่วยลงทุนและนํามาจดทะเบียนไว้กับสํานักงาน (18) “สมาคม” หมายความว่า สมาคมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งและจดทะเบียนกับสํานักงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทําการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทที่เกี่ยวกับการลงทุน ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การขออนุมัติและการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (2) การจัดสรรและเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (3) การลงทุนและการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (4) การบริหารและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานในเรื่องที่นอกเหนือจาก (3) ข้อ ๓ นอกจากการปฏิบัติตามประกาศนี้แล้ว ให้บริษัทจัดการปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศอื่นที่กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) รายละเอียดของโครงการจัดการกองทุนรวม (2) รายการในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ (3) หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม (4) การจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม (5) การจัดทําทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุน (6) การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทจัดการและผู้ถือหน่วยลงทุน (7) การกู้ยืมเงินหรือการก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวม (8) การชําระบัญชีของกองทุนรวม ในกรณีที่ไม่มีประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่งสําหรับกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานไว้อย่างเฉพาะเจาะจง ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามประกาศอื่นที่กําหนดหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่งสําหรับกองทุนรวมทั่วไป ข้อ ๔ การจัดตั้งและการจัดการกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามหลักการดําเนินธุรกิจตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการปฏิบัติหน้าที่ของบริษัทจัดการเกี่ยวกับกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน และการดําเนินการเมื่อมีการปฏิบัติไม่เป็นไปตามที่กําหนด และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในเรื่องดังต่อไปนี้เพิ่มเติม (1) การจัดตั้งกองทุนรวมและการดําเนินการเมื่อได้รับอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในภาค 1 (2) ข้อกําหนดเพื่อรองรับการดําเนินการของกองทุนรวมภายหลังการจัดตั้งตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในภาค 2 (3) หลักเกณฑ์การบริหารและจัดการกองทุนรวมตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในภาค 3 ข้อ ๕ บริษัทจัดการต้องบริหารและจัดการกองทุนรวมด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุน รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย โครงการจัดการกองทุนรวม ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ และมติผู้ถือหน่วยลงทุนด้วย ข้อ ๖ บริษัทจัดการต้องจัดให้มีระบบงานสําหรับการบริหารและจัดการกองทุนรวม อย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การคัดเลือกและดูแลบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินการของกองทุนรวม ให้มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสมกับการบริหารและจัดการกองทุนรวม (2) การวิเคราะห์และศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดตั้งกองทุนรวม รวมทั้งการตรวจสอบและสอบทาน (การทํา due diligence) ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะลงทุน ตลอดจนการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้งกองทุนรวมและทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ถูกต้อง และเพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุนของผู้ลงทุน (3) การกํากับดูแลบริหารและจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้เป็นไปตามโครงการจัดการกองทุนรวมและเพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุน ข้อ ๗ สํานักงานอาจกําหนดแนวทาง (guideline) ในรายละเอียดเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้ได้ และเมื่อมีการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวให้ถือว่าบริษัทจัดการได้ปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้แล้ว อื่นๆ ๑ การขออนุมัติและการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๘ บริษัทจัดการที่ประสงค์จะจัดตั้งกองทุนรวม ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) การขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามข้อกําหนดในหมวด 1 (2) เมื่อได้รับอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมแล้ว ให้บริษัทจัดการดําเนินการตามหมวด 2 ในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ปฏิบัติตามข้อกําหนดทั่วไปในส่วนที่ 1 (ข) จัดสรรและเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตามหลักเกณฑ์ในส่วนที่ 2 และ (ค) ลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามหลักเกณฑ์ในส่วนที่ 4 ในกรณีที่การอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมสิ้นสุดลงตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในส่วนที่ 3 ของหมวด 2 ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามข้อกําหนดดังกล่าว หมวด ๑ ข้อกําหนดสําหรับการขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๑ ลักษณะของกองทุนรวมที่ขออนุมัติจัดตั้ง \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๙ กองทุนรวมที่ขออนุมัติจัดตั้ง ต้องมีข้อกําหนดในเอกสารของกองทุนรวมที่แสดงลักษณะของกองทุนรวมดังต่อไปนี้ (1) เป็นกองทุนรวมประเภทไม่รับซื้อคืนหน่วยลงทุน เว้นแต่เป็นการรับซื้อคืนหน่วยลงทุนตามที่ระบุไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวม ซึ่งบริษัทจัดการสามารถแสดงได้ว่าการรับซื้อคืนหน่วยลงทุนดังกล่าวจะไม่กระทบต่อความอยู่รอดของกองทุนรวม (2) ชื่อของกองทุนรวม ซึ่งมีคําว่า “กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน” นําหน้า และคําแสดงประเภทกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุน (3) มีเงินทุนโครงการไม่ต่ํากว่าสองพันล้านบาท และมีนโยบายที่จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งพันห้าร้อยล้านบาท และในกรณีที่มีนโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานหลายโครงการ แต่ละโครงการต้องมีมูลค่าไม่น้อยกว่าหนึ่งพันล้านบาท (4) หน่วยลงทุนของกองทุนรวมมีมูลค่าที่ตราไว้เป็นมูลค่าเท่ากัน และในกรณีที่มีการแบ่งชนิดของหน่วยลงทุน ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 11 (5) มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก ซึ่งกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นเป็นไปเพื่อประโยชน์สาธารณะในวงกว้าง ของประเทศไทย และในขณะที่ยื่นคําขออนุมัติจัดตั้ง กองทุนรวมมีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะลงทุนอย่างแน่นอนแล้ว ทั้งนี้ ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานต้องผ่านการดําเนินการดังต่อไปนี้ (ก) ผ่านการตรวจสอบหรือสอบทาน (การทํา due diligence) โดยบริษัทจัดการ ร่วมกับที่ปรึกษาทางการเงินได้จัดให้มีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานหรือกิจการโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ข้อมูลด้านการเงิน กฎหมาย และเทคนิคเฉพาะทาง เป็นต้น (ข) ผ่านการประเมินค่าตามหลักเกณฑ์ในข้อ 12 (6) ในกรณีที่กองทุนรวมมีการแบ่งชําระราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดให้กองทุนรวมนําเงินส่วนที่กันไว้สําหรับการชําระราคาในคราวถัด ๆ ไป ไปลงทุนในทรัพย์สินตามข้อ 46(1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) (7) ในกรณีที่กองทุนรวมมีนโยบายที่จะกู้ยืมเงินจากบุคคลอื่น หรือก่อภาระผูกพันใด ๆแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวม หรือออกหน่วยลงทุนคล้ายหนี้ ต้องมีข้อกําหนดที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (ก) กําหนดอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนไว้ไม่เกินกว่าสามเท่า เว้นแต่ในกรณีที่การเกินอัตราส่วนมิได้เกิดจากการกู้ยืมเงิน การก่อภาระผูกพัน หรือการออกหน่วยลงทุนคล้ายหนี้เพิ่มเติม และกําหนดวิธีการคํานวณอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนซึ่งเป็นไปตามประกาศเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินในนามของกองทุนรวมและการก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโดยอนุโลม และ (ข) กําหนดให้การกู้ยืมเงินหรือการก่อภาระผูกพันในนามของกองทุนรวม เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินในนามของกองทุนรวมและการก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (8) มีวัตถุประสงค์ในการนําหน่วยลงทุนของกองทุนรวมชนิดที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไปเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (9) โครงการจัดการกองทุนรวมและข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการมีข้อกําหนดที่รองรับการดําเนินการของกองทุนรวมภายหลังการจัดตั้ง ซึ่งเป็นไปตามภาค 2 และประกาศเกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน และประกาศเกี่ยวกับข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ ข้อ ๑๐ บริษัทจัดการต้องแสดงได้ว่ากองทุนรวมที่ขออนุมัติจัดตั้งมีข้อกําหนดในโครงการจัดการกองทุนรวมที่แสดงลักษณะเพิ่มเติมของกองทุนรวมดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่แล้วเสร็จทั้งหมด บริษัทจัดการจะเสนอขายหน่วยลงทุนทั้งหมดต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป (2) กรณีที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จไม่เกินร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม หากมีการแบ่งหน่วยลงทุนออกเป็นหลายชนิด ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (ก) หน่วยลงทุนชนิดที่จะเสนอขายต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไปต้องไม่มีความเสี่ยงสูงกว่าหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จเท่ากับร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวมนั้น และกองทุนรวมดังกล่าวไม่มีการแบ่งชนิดของหน่วยลงทุน (ข) หน่วยลงทุนชนิดที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เป็นการเฉพาะเจาะจงต้องมีมูลค่าไม่เกินร้อยละห้าสิบของมูลค่าหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมหรือไม่เกินสองเท่าของมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ แล้วแต่มูลค่าใดจะต่ํากว่า และหากมีหน่วยลงทุนชนิดที่ได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนในลําดับหลังหน่วยลงทุนชนิดอื่น ต้องเสนอขายหน่วยลงทุนชนิดดังกล่าวต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เป็นการเฉพาะเจาะจงเท่านั้น (3) กรณีที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จเกินร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม บริษัทจัดการจะเสนอขายหน่วยลงทุนทั้งหมดให้แก่ผู้ลงทุนรายใหญ่เท่านั้น (4) หน่วยลงทุนที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตาม (2) (ข) หรือ (3) ต้องมีข้อกําหนดเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (ก) ในระหว่างที่กิจการโครงสร้างพื้นฐานยังเป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ 1. บริษัทจัดการจะไม่นําหน่วยลงทุนที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 2. บริษัทจัดการหรือนายทะเบียนหน่วยลงทุนจะปฏิเสธการลงทะเบียนการโอนหน่วยลงทุนตาม 1. ให้แก่บุคคลอื่นที่มิใช่ผู้ลงทุนรายใหญ่ เว้นแต่เป็นการได้มาทางมรดก (ข) เมื่อทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานพัฒนาแล้วเสร็จ บริษัทจัดการจะดําเนินการด้วยวิธีใด ๆ เพื่อให้หน่วยลงทุนของกองทุนรวมทั้งหมดกระจายต่อผู้ลงทุนทั่วไป และนําหน่วยลงทุนทั้งหมดนั้นเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ภายในสามปีนับแต่วันที่กิจการโครงสร้างพื้นฐานพัฒนาแล้วเสร็จ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน กองทุนรวมที่มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จตามวรรคหนึ่ง (2) และ (3) ให้รวมถึงกรณีดังต่อไปนี้ (1) กองทุนรวมที่มีนโยบายลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานหลายโครงการ โดยบางโครงการเป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ หรือ (2) กองทุนรวมที่มีนโยบายลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานโครงการเดียว ซึ่งมีแผนพัฒนาโครงการเป็นส่วน ๆ (phase) โดยบางส่วนยังพัฒนาไม่แล้วเสร็จ ข้อ ๑๑ การแบ่งหน่วยลงทุนของกองทุนรวมออกเป็นหลายชนิด ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) หน่วยลงทุนชนิดเดียวกันต้องมีสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนที่เท่าเทียมกัน (2) หน่วยลงทุนแต่ละชนิดจะมีสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนที่แตกต่างกันได้เฉพาะในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) การกําหนดประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งรวมถึงการแบ่งชนิดหน่วยลงทุนเป็นหน่วยลงทุนคล้ายหนี้และหน่วยลงทุนคล้ายทุน (ข) ค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ถือหน่วยลงทุน (ค) กรณีอื่นใดที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ทั้งนี้ ในการขอรับความเห็นชอบจากสํานักงาน บริษัทจัดการต้องแสดงได้ว่าการแบ่งชนิดหน่วยลงทุนดังกล่าวสามารถปฏิบัติได้จริง และได้คํานึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวม ตลอดจนผลกระทบที่ผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละชนิดจะได้รับแล้ว ข้อ ๑๒ ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะได้มาต้องผ่านการประเมินค่าที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นทรัพย์สินตามข้อ 1(3) (ก) ถึง (ง) (ก) ผู้ประเมินค่าต้องเป็นนิติบุคคลที่มีประสบการณ์หรือความรู้ความเชี่ยวชาญในการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ข) เป็นการประเมินค่าอย่างเต็มรูปแบบที่มีการตรวจสอบเอกสารสิทธิและเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (ค) การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. ดําเนินการล่วงหน้าก่อนการได้มาซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวเป็นเวลาไม่เกินหนึ่งปี 2. กรณีทรัพย์สินมีมูลค่าตั้งแต่ห้าสิบล้านบาทขึ้นไป ต้องผ่านการประเมินค่าโดยผู้ประเมินค่าอย่างน้อยหนึ่งราย 3. กรณีการได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเข้าลักษณะของการทําธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องตามประกาศที่กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกระทําที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการจัดการกองทุนรวม ต้องผ่านการประเมินค่าโดยผู้ประเมินค่าอย่างน้อยสองราย (2) กรณีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นหุ้นหรือตราสารแห่งหนี้ที่ออกโดยบริษัทตามข้อ 1(3) (จ) (ก) ผู้ประเมินค่าต้องเป็นที่ปรึกษาทางการเงินที่เป็นอิสระ (ข) มีการประเมินค่าทรัพย์สินดังต่อไปนี้ 1. หุ้นหรือตราสารแห่งหนี้ที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น โดยต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ใน (1) (ค) โดยอนุโลม และ 2. ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่บริษัทดังกล่าวลงทุน โดยต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ใน (1) โดยอนุโลม ข้อ ๑๓ ในกรณีที่กองทุนรวมที่ขอจัดตั้งมีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคต หรือสิทธิตามสัญญาแบ่งรายได้ในอนาคตตามข้อ 1(3) (ค) หากกองทุนรวมมิได้เป็นบุคคลเดียวที่มีสิทธิได้รับรายได้ในอนาคตทั้งจํานวน บริษัทจัดการต้องแสดงได้ว่ามีการวิเคราะห์สิทธิได้เสียทางทรัพย์สินของผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละชนิด โดยเปรียบเทียบกับสิทธิของเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิอื่นในรายได้ในอนาคตนั้น พร้อมทั้งแสดงบทวิเคราะห์และความเห็นทางกฎหมายในเรื่องดังกล่าวไว้อย่างชัดเจนในร่างหนังสือชี้ชวนที่ยื่นพร้อมกับคําขอจัดตั้งกองทุนรวม ส่วน ๒ การยื่นคําขออนุมัติและการอนุมัติ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๔ บริษัทจัดการที่ประสงค์จะขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม ต้องยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมเป็นหนังสือ พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุมัติดังต่อไปนี้ โดยการจัดทําเอกสารหลักฐานดังกล่าวต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 15 ด้วย (1) โครงการจัดการกองทุนรวม พร้อมทั้งเอกสารประกอบโครงการจัดการกองทุนรวมดังต่อไปนี้ (ก) สรุปสาระสําคัญของร่างสัญญาที่ทําให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ข) รายงานการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุน ซึ่งจัดทําขึ้นตามข้อ 12 (ค) เอกสารแสดงความเห็นของบริษัทจัดการและที่ปรึกษาทางการเงินเกี่ยวกับความสมเหตุสมผลของรายงานการประเมินค่าตาม (ข) ทั้งนี้ ในกรณีที่บริษัทจัดการหรือที่ปรึกษาทางการเงินมีการจัดทําประมาณการทางการเงินของกิจการโครงสร้างพื้นฐานซึ่งแสดงการวิเคราะห์ในกรณีพื้นฐาน (base case) และการวิเคราะห์ความไวต่อการเปลี่ยนแปลง (sensitivity analysis) ให้บริษัทจัดการหรือที่ปรึกษาทางการเงินอธิบายความแตกต่างระหว่างรายงานการประเมินค่าตาม (ข) กับประมาณการทางการเงินดังกล่าว (ถ้ามี) ด้วย (ง) ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญอิสระเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้กับกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (technological feasibility) เฉพาะในกรณีที่เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ไม่เคยใช้ในประเทศไทยมาก่อน หรือเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่จําเป็นต้องใช้ความชํานาญเฉพาะด้านเป็นพิเศษ โดยต้องระบุรายละเอียด ข้อดีและข้อเสียของเทคโนโลยีดังกล่าว ตลอดจนตัวอย่างของโครงการอื่นที่ใช้เทคโนโลยีนั้น (ถ้ามี) (จ) เอกสารแสดงข้อมูลว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เข้าทําธุรกรรมกับกองทุนรวมมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดําเนินกิจการของรัฐหรือไม่ โดยในกรณีที่กิจการโครงสร้างพื้นฐานมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ให้บริษัทจัดการแสดงข้อมูลว่าได้มีการดําเนินการไปแล้วอย่างไร พร้อมทั้งแนบหนังสือรับรองจากกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุน หรือจากหน่วยงานที่กํากับดูแลกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นที่แสดงว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานได้ปฏิบัติตามกฎหมายนั้นแล้ว (2) ร่างข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ (3) ร่างสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ ซึ่งมีข้อกําหนดให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ปฏิบัติหน้าที่อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) หน้าที่ในการตรวจสอบและถ่วงดุลการบริหารจัดการกองทุนรวมของบริษัทจัดการอย่างเคร่งครัด ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โดยใช้ความรู้ความสามารถเยี่ยงผู้มีวิชาชีพ เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของกองทุนรวมและผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวม (ข) หน้าที่ตามที่กําหนดไว้ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. 2535 ตลอดจนประกาศที่กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (4) ร่างหนังสือชี้ชวน ข้อ ๑๕ การยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) รายละเอียดโครงการจัดการกองทุนรวมและร่างหนังสือชี้ชวนต้องร่วมจัดทําโดยที่ปรึกษาทางการเงินที่สามารถแสดงความเห็นได้อย่างเป็นอิสระจากบุคคลดังต่อไปนี้ (ก) ผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม (ข) กลุ่มบุคคลเดียวกันของบุคคลตาม (ก) (2) คําขอและเอกสารหลักฐานประกอบคําขอต้องมีบุคคลดังต่อไปนี้ ลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของตน (ก) กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทจัดการ (ข) กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงิน และผู้ควบคุมการปฏิบัติงานของที่ปรึกษาทางการเงิน (ค) กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทที่เป็นผู้จัดทํารายงานการประเมินค่าตามข้อ 14(1) (ข) (ง) ผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม ข้อ ๑๖ ให้ผู้ขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมชําระค่าธรรมเนียมคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมต่อสํานักงานในวันยื่นคําขอ ทั้งนี้ ตามอัตราที่กําหนดไว้ในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคําขอต่าง ๆ ข้อ ๑๗ ในการพิจารณาคําขอ ให้สํานักงานมีอํานาจแจ้งเป็นหนังสือให้บริษัทจัดการมาชี้แจง แก้ไข หรือส่งเอกสารหลักฐานอื่นเพิ่มเติมได้ภายในระยะเวลาที่สํานักงานกําหนด ในกรณีที่บริษัทจัดการไม่ดําเนินการตามระยะเวลาที่สํานักงานแจ้งตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าบริษัทจัดการไม่ประสงค์จะขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมอีกต่อไป เว้นแต่บริษัทจัดการจะแสดงให้เห็นได้ว่าการที่มิได้ดําเนินการตามที่สํานักงานแจ้งภายในกําหนดเวลาดังกล่าวเป็นเพราะเหตุสุดวิสัย หรือมีเหตุจําเป็นและสมควร ข้อ ๑๘ ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับคําขอพร้อมเอกสารหลักฐานครบถ้วน ส่วน ๓ อํานาจสํานักงานเกี่ยวกับการอนุมัติ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๙ กองทุนรวมที่จะได้รับอนุมัติให้จัดตั้งต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ และหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) ข้อมูล ข้อกําหนด หรือข้อสัญญา ในคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมและเอกสารหลักฐานประกอบคําขอ เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนประกาศ กฎ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว และต้องไม่มีข้อความที่ขัดหรือแย้งกับหลักเกณฑ์นั้น (2) บริษัทจัดการแสดงได้ว่า การจัดตั้งกองทุนรวมดังกล่าวเป็นไปเพื่อประโยชน์โดยรวมของผู้ถือหน่วยลงทุน รวมทั้งมีนโยบายการจัดหาผลประโยชน์ที่เป็นธรรมและไม่เป็นการเอาเปรียบผู้ถือหน่วยลงทุน (3) บริษัทจัดการที่ยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมไม่อยู่ระหว่างถูกสั่งระงับการยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมเป็นการชั่วคราว ข้อ ๒๐ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจไม่อนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมตามคําขอได้ (1) กองทุนรวมที่ขออนุมัติจัดตั้งมีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะได้รับอนุมัติตามประกาศนี้ แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการจัดตั้งกองทุนรวมนั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือประกาศนี้ (2) การจัดตั้งกองทุนรวมอาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐ (3) การจัดตั้งกองทุนรวมอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม หรือ (4) การจัดตั้งกองทุนรวมอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุน หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน ข้อ ๒๑ ในกรณีที่เข้าลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจผ่อนผันไม่นําหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้มาใช้พิจารณากับคําขอ หรือไม่นําเงื่อนไขตามประกาศนี้มาใช้บังคับกับการขอจัดตั้งกองทุนรวม (1) มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจนซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผันให้ไม่มีนัยสําคัญสําหรับการพิจารณาอนุญาตในกรณีนั้น และประโยชน์ที่จะได้ไม่คุ้มค่ากับต้นทุนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขดังกล่าว (2) บริษัทจัดการมีข้อจํากัดตามกฎหมายอื่นที่ทําให้ไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน (3) บริษัทจัดการมีมาตรการอื่นที่เพียงพอ และสามารถทดแทนการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน การผ่อนผันตามวรรคหนึ่ง ให้คํานึงถึงความเหมาะสมและความเพียงพอของข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนและมาตรการคุ้มครองผู้ลงทุนเป็นสําคัญ ทั้งนี้ สํานักงานอาจกําหนดเงื่อนไขให้บริษัทจัดการต้องปฏิบัติด้วยก็ได้ ข้อ ๒๒ ในกรณีที่สํานักงานเห็นว่าเอกสารหรือข้อมูลที่ได้รับจากบริษัทจัดการมีข้อมูลไม่ครบถ้วน มีข้อความคลุมเครือไม่ชัดเจน หรือในกรณีที่มีเหตุจําเป็นหรือกรณีอื่นใดที่จะมีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ลงทุน หรือต่อการตัดสินใจในการลงทุน สํานักงานอาจสั่งการให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) เปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกองทุนรวมเพื่อให้ผู้ลงทุนได้ทราบ (2) จัดให้มีการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะลงทุนใหม่ (3) จัดให้มีการตรวจสอบและสอบทาน (การทํา due diligence) หรือการให้ความเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุน (4) จัดให้มีความเห็นทางกฎหมายในประเด็นข้อกฎหมายที่สําคัญหรือที่ไม่ชัดเจนซึ่งเกี่ยวข้องกับกองทุนรวมดังกล่าว หมวด ๒ การดําเนินการเมื่อได้รับอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๑ ข้อกําหนดทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๓ ให้บริษัทจัดการที่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ โครงการจัดการกองทุนรวม สัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์และหนังสือชี้ชวน ที่มีสาระไม่ต่างจากฉบับร่างที่ยื่นต่อสํานักงาน (2) จัดให้กองทุนรวมมีลักษณะไม่ต่างไปจากสาระสําคัญที่แสดงไว้ล่าสุดต่อสํานักงาน ตลอดอายุของกองทุนรวม และในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะของกองทุนรวม บริษัทจัดการต้องดําเนินการให้กองทุนรวมดังกล่าวมีลักษณะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ ในภาคนี้ด้วย (3) จัดให้มีการยื่นคําขอจดทะเบียนหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนภายในสามสิบวันนับแต่วันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม หรือนับแต่วันปิดการเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติมเพื่อการเพิ่มเงินทุนของกองทุนรวม แล้วแต่กรณี ข้อ ๒๔ บริษัทจัดการต้องดูแลให้ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการและโครงการจัดการกองทุนรวมเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนประกาศ กฎ และคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว โดยในกรณีที่ข้อกําหนดในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการหรือโครงการจัดการกองทุนรวมขัดหรือแย้งกับหลักเกณฑ์ในกฎหมาย ประกาศ กฎ หรือคําสั่งนั้น ให้บริษัทจัดการดําเนินการเพื่อให้มีการแก้ไขข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการและโครงการจัดการกองทุนรวมโดยไม่ชักช้า ส่วน ๒ การจัดสรรและเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๕ ในการจัดสรรหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) ใช้กระบวนการจัดสรรหน่วยลงทุนที่ให้โอกาสแก่ผู้จองซื้อทุกรายอย่างเป็นธรรม “กระบวนการจัดสรรหน่วยลงทุนที่ให้โอกาสแก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนทุกรายอย่างเป็นธรรม” ตามวรรคหนึ่งหมายความว่า กระบวนการที่ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์หรือบริษัทจัดการกําหนดหน่วยการจองซื้อ (board lot) ไว้ และจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนทุกรายอย่างเท่าเทียมกันครั้งละหนึ่งหน่วยการจองซื้อจนครบจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่าย หรือกระบวนการอื่นที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (2) จัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนตามหลักเกณฑ์ในข้อ 26 ข้อ 27ข้อ 28 และข้อ 29 ความในวรรคหนึ่ง (1) มิให้นํามาใช้บังคับกับการจัดสรรที่เข้าลักษณะดังต่อไปนี้ (1) การจัดสรรหน่วยลงทุนชนิดที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เป็นการเฉพาะเจาะจง หรือ (2) การจัดสรรหน่วยลงทุนในส่วนที่แบ่งแยกไว้สําหรับบุคคลดังต่อไปนี้ และได้เปิดเผยไว้ในหนังสือชี้ชวนแล้ว (ก) บุคคลที่เข้าลักษณะเป็นผู้จองซื้อพิเศษตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ หรือ (ข) ผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม ข้อ ๒๖ ให้บริษัทจัดการจัดสรรหน่วยลงทุนของกองทุนรวมให้แก่บุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใดได้ ไม่เกินอัตราดังต่อไปนี้ (1) หนึ่งในสามของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม และ (2) ร้อยละห้าสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของหน่วยลงทุนแต่ละชนิด ในกรณีที่กองทุนรวมมีการแบ่งชนิดของหน่วยลงทุน ข้อ ๒๗ บริษัทจัดการอาจจัดสรรหน่วยลงทุนของกองทุนรวมให้แก่บุคคลที่ได้รับยกเว้นเกินกว่าอัตราที่กําหนดไว้ในข้อ 26(1) ได้ แต่ต้องไม่เกินร้อยละห้าสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม บุคคลที่ได้รับยกเว้นตามวรรคหนึ่ง หมายความว่า (1) กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ (2) กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (3) กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป (4) กองทุนประกันสังคม (5) นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่งไม่อยู่ภายใต้บังคับต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ข้อ ๒๘ มิให้นําความในข้อ 26 มาใช้บังคับกับบริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนที่รับหน่วยลงทุนไว้ในลักษณะดังต่อไปนี้ (1) เป็นการรับหน่วยลงทุนตามสัญญารับประกันการจัดจําหน่ายหน่วยลงทุน และ (2) การรับหน่วยลงทุนอยู่ภายใต้เงื่อนไขดังต่อไปนี้ (ก) บริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนจะถือหน่วยลงทุนในส่วนที่เกินอัตราที่กําหนดในข้อ 26 ไว้ไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่รับหน่วยลงทุน (ข) ในช่วงระยะเวลาหนึ่งปีนับแต่วันที่รับหน่วยลงทุน บริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนจะถูกจํากัดสิทธิในการออกเสียงลงคะแนน ในส่วนที่ถือหน่วยลงทุนเกินกว่าอัตราดังต่อไปนี้ 1. ร้อยละห้าสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม และ 2. ร้อยละห้าสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของหน่วยลงทุนแต่ละชนิด ในกรณีที่กองทุนรวมนั้นมีการแบ่งชนิดของหน่วยลงทุน (ค) ในกรณีที่การถือหน่วยลงทุนไม่เป็นไปตาม (ก) บริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนจะถูกจํากัดสิทธิในการรับเงินปันผลและการออกเสียงลงคะแนน ในส่วนที่ถือหน่วยลงทุนเกินกว่าอัตราที่กําหนดในข้อ 26 ข้อ ๒๙ ในกรณีกฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับกิจการโครงสร้างพื้นฐานมีการกําหนดสัดส่วนการลงทุนของคนต่างด้าวไว้ ให้บริษัทจัดการจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่คนต่างด้าวให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดนั้นด้วย ในกรณีที่กองทุนรวมมีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานหลายโครงการและบรรดากฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับกิจการโครงสร้างพื้นฐานมีการกําหนดสัดส่วนการลงทุนของคนต่างด้าวไว้แตกต่างกัน ให้บริษัทจัดการจัดสรรหน่วยลงทุนตามสัดส่วนที่กําหนดไว้ต่ําสุดของบรรดากฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดนั้น ข้อ ๓๐ ในการเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เปิดเผยร่างหนังสือชี้ชวนที่ยื่นต่อสํานักงานด้วยวิธีการที่ผู้ลงทุนสามารถเข้าถึงได้ ก่อนวันเริ่มเสนอขายหน่วยลงทุน โดยร่างหนังสือชี้ชวนดังกล่าวต้องมีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง เพียงพอ และไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อน (2) จัดส่งหนังสือชี้ชวนที่มีสาระสําคัญไม่ต่างจากฉบับร่างให้แก่สํานักงานไม่น้อยกว่าหนึ่งวันทําการก่อนการเริ่มจัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนแก่ผู้ลงทุน (3) จัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนแก่ผู้ลงทุนที่สนใจจะลงทุนในหน่วยลงทุน โดยต้องมีระยะเวลาที่พอสมควรแก่การที่ผู้ลงทุนจะศึกษาข้อมูลในหนังสือชี้ชวนก่อนการตัดสินใจลงทุนในหน่วยลงทุน ทั้งนี้ เมื่อรวมกับระยะเวลาการเปิดเผยร่างหนังสือชี้ชวนตาม (1) ต้องไม่น้อยกว่าสิบสี่วัน (4) การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนโดยการโฆษณา ต้องให้ข้อมูลที่ถูกต้องและไม่มีลักษณะที่ทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ทั้งนี้ ให้นําหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการโฆษณาเพื่อสนับสนุนการขายหน่วยลงทุนสําหรับกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์มาใช้บังคับโดยอนุโลม (5) ในกรณีที่บริษัทจัดการประสงค์จะตั้งบริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนเป็นผู้ทําหน้าที่ในการจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม บริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนดังกล่าวต้องไม่มีความสัมพันธ์กับผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุนในลักษณะของการเป็นกลุ่มบุคคลเดียวกัน (6) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ด้วย (ก) จัดให้มีผู้ติดต่อกับผู้ลงทุนซึ่งได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานเพื่อทําหน้าที่ขายหน่วยลงทุนหรือให้คําแนะนํากับผู้ลงทุนรายย่อย (ข) ประชาสัมพันธ์การขายหน่วยลงทุนอย่างกว้างขวางเพื่อให้มีการกระจายข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนต่อประชาชนอย่างแพร่หลาย ข้อ ๓๑ ในกรณีที่บริษัทจัดการประสงค์จะยกเลิกการจัดตั้งกองทุนรวมที่อยู่ระหว่างการเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก หากบริษัทจัดการได้ระบุกรณีดังกล่าวไว้ในหนังสือชี้ชวนแล้ว บริษัทจัดการอาจยุติการขายหน่วยลงทุนได้ ให้บริษัทจัดการรายงานให้สํานักงานทราบถึงการยุติการขายหน่วยลงทุนตามวรรคหนึ่งภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ยุติการขายหน่วยลงทุนนั้น และให้การอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมสิ้นสุดลงในวันที่รายงานให้สํานักงานทราบ ให้บริษัทจัดการคืนเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุนและผลประโยชน์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นจากเงินที่ได้รับจากการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนตามสัดส่วนของเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุน ภายในสิบสี่วันนับแต่วันที่การอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมสิ้นสุดลงตามวรรคสอง และหากบริษัทจัดการไม่สามารถคืนเงินและผลประโยชน์ภายในกําหนดเวลาดังกล่าวได้เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งที่บริษัทจัดการต้องรับผิดชอบ ให้บริษัทจัดการชําระดอกเบี้ยในอัตราไม่ต่ํากว่าร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีนับแต่วันที่ครบกําหนดเวลานั้นจนถึงวันที่บริษัทจัดการคืนเงินค่าจองซื้อจนครบถ้วน ข้อ ๓๒ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงแก่บริษัทจัดการว่ามีบุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใดถือหน่วยลงทุน ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ภายหลังการเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม เกินกว่าอัตราที่กําหนดไว้ในข้อ 26 ข้อ 27 และข้อ 28 แล้วแต่กรณี ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไป (1) รายงานต่อสํานักงานภายในห้าวันทําการนับแต่วันที่บริษัทจัดการรู้หรือควรรู้ถึงเหตุดังกล่าว (2) แจ้งให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันจําหน่ายหน่วยลงทุนในส่วนที่ไม่เป็นไปตามข้อ 26 ข้อ 27 และข้อ 28 แล้วแต่กรณี ข้อ ๓๓ บริษัทจัดการต้องดําเนินการที่จําเป็นเพื่อให้มั่นใจได้ว่าการถือหน่วยลงทุนของคนต่างด้าว ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ภายหลังการเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเป็นไปตามสัดส่วนที่กําหนดไว้ในข้อ 29 การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึงการดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) การจัดให้มีระบบงานที่สามารถควบคุมการถือหน่วยลงทุนของคนต่างด้าว หรือการแต่งตั้งนายทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีระบบงานดังกล่าว (2) การจัดให้มีข้อกําหนดหรือข้อสัญญาที่มีผลให้บริษัทจัดการหรือนายทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุน แล้วแต่กรณี สามารถปฏิเสธไม่รับคนต่างด้าวลงทะเบียนเป็นผู้ถือหน่วยลงทุนได้ หากว่าการรับลงทะเบียนดังกล่าวจะเป็นเหตุให้การถือหน่วยลงทุนของคนต่างด้าวไม่เป็นไปตามสัดส่วนที่กําหนดในข้อ 29 ทั้งนี้ การจัดให้มีนายทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทําทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุนด้วย ส่วน ๓ การสิ้นสุดการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓๔ ในกรณีที่บริษัทจัดการมิได้เริ่มเสนอขายหน่วยลงทุนภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติจากสํานักงานให้จัดตั้งกองทุนรวม ให้การอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมเป็นอันสิ้นสุดลง ข้อ ๓๕ เมื่อสิ้นสุดการเสนอขายหน่วยลงทุน แต่ยังมิได้จดทะเบียนกองทุนรวมหากปรากฏกรณีอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ให้การอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมเป็นอันสิ้นสุดลง (1) มีการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้ไม่ถึงห้าร้อยราย ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมดังต่อไปนี้ (ก) กองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่แล้วเสร็จทั้งหมด (ข) กองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จไม่เกินร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม (2) มีการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้ไม่ถึงสามสิบห้าราย ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จเกินกว่าร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม (3) มูลค่าหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้มีมูลค่าไม่ถึงสองพันล้านบาท (4) มูลค่าหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้เมื่อรวมกับมูลค่าการกู้ยืมเงินจากบุคคลอื่น (ถ้ามี) มีมูลค่าไม่เพียงพอที่จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามที่กําหนดไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม (5) มีการจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่บุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใดไม่เป็นไปตามข้อ 26 ข้อ 27 ข้อ 28 หรือข้อ 29 ให้บริษัทจัดการแจ้งให้สํานักงานทราบกรณีตามวรรคหนึ่งภายในสิบห้าวันนับแต่วันสิ้นสุดระยะเวลาเสนอขายหน่วยลงทุนดังกล่าว และคืนเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุนและผลประโยชน์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นจากเงินที่ได้รับจากการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนภายในสิบสี่วันนับแต่วันสิ้นสุดระยะเวลาการเสนอขายหน่วยลงทุนนั้นตามสัดส่วนของเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุน ทั้งนี้ หากบริษัทจัดการไม่สามารถคืนเงินและผลประโยชน์ภายในกําหนดเวลานั้นได้เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งที่บริษัทจัดการต้องรับผิดชอบ ให้บริษัทจัดการชําระดอกเบี้ยในอัตราไม่ต่ํากว่าร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปีนับแต่วันที่ครบกําหนดเวลานั้นจนถึงวันที่บริษัทจัดการคืนเงินค่าจองซื้อครบถ้วน เพื่อประโยชน์ในการคํานวณมูลค่าหน่วยลงทุนที่ขายได้แล้วตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ราคาตามมูลค่าที่ตราไว้ของหน่วยลงทุนเป็นเกณฑ์ในการคํานวณ ข้อ ๓๖ สํานักงานอาจเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมได้ หากปรากฏกรณีดังต่อไปนี้ (1) มีการแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวม หรือข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ ที่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดตามประกาศนี้ (2) มีการดําเนินการเมื่อได้รับอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมไม่เป็นไปตามหมวด 2 ของภาคนี้ (3) มีการดําเนินการไม่เป็นไปตามข้อกําหนดเพื่อรองรับการดําเนินการของกองทุนรวมภายหลังการจัดตั้งตามภาค 2 (4) มีการลงทุนหรือการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานไม่เป็นไปตามแผนการลงทุนที่ได้กําหนดไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม ซึ่งเป็นกรณีที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อการดําเนินการของกองทุนรวม (5) มีการบริหารจัดการกองทุนรวมโดยฝ่าฝืนหรือมิได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในภาค 3 ข้อ ๓๗ เมื่อมีการเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม หากได้มีการเสนอขายหน่วยลงทุนแล้ว แต่ยังมิได้มีการจดทะเบียนกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการคืนเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุน และผลประโยชน์ใด ๆ ที่เกิดจากเงินที่ได้รับจากการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุน โดยให้นําความในข้อ 35 วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่หากมีการจดทะเบียนกองทุนรวมแล้ว ให้บริษัทจัดการดําเนินการให้มีการเลิกกองทุนรวมทันที ส่วน ๔ การลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓๘ ให้บริษัทจัดการเข้าทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานภายในหกเดือนนับแต่วันที่จดทะเบียนกองทุนรวม โดยคิดเป็นมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ข้อ ๓๙ บริษัทจัดการต้องดํารงมูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีประจําปี โดยมีมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้บริษัทจัดการจะไม่ดํารงมูลค่าดังกล่าวก็ได้ (1) กรณีที่เป็นรอบปีบัญชีสุดท้ายที่กองทุนรวมสิ้นอายุโครงการ (2) กรณีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ข้อ ๔๐ การคํานวณมูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการที่แล้วเสร็จ ให้คํานวณตามราคาที่ทําให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น (2) กรณีที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ ให้คํานวณตามผลรวมของราคาที่ทําให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้นและมูลค่าเงินลงทุนที่กองทุนรวมต้องใช้ในการพัฒนาให้เป็นโครงการที่แล้วเสร็จ ในกรณีที่กองทุนรวมมีการแบ่งชําระราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน หากกองทุนรวมนําเงินส่วนที่กันไว้สําหรับการชําระราคาในคราวถัด ๆ ไป ไปลงทุนในทรัพย์สินตามข้อ 46(1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) บริษัทจัดการอาจนับเงินส่วนที่กันไว้รวมคํานวณเป็นมูลค่าของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามวรรคหนึ่งได้ อื่นๆ ๒ ข้อกําหนดเพื่อรองรับการดําเนินการของ กองทุนรวมภายหลังการจัดตั้ง \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๑ โครงการจัดการกองทุนรวมและข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ ต้องมีข้อกําหนดเพื่อรองรับการดําเนินการของกองทุนรวมภายหลังการจัดตั้ง ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการได้มาเพิ่มเติมและการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 42 (2) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 43 (3) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 44 (4) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการลงทุนในทรัพย์สินอื่น ซึ่งเป็นไปตามข้อ 45 ถึงข้อ 47 (5) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการทําธุรกรรมระหว่างกองทุนรวมกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นไปตามข้อ 48 (6) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการเพิ่มหรือลดเงินทุนจดทะเบียน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 49 ถึงข้อ 54 (7) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 55 ถึงข้อ 60 (8) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการจ่ายเงินปันผล และการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวม ซึ่งเป็นไปตามข้อ 61 และข้อ 62 (9) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิในการรับเงินปันผล การจัดการกับเงินปันผล และสิทธิออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งเป็นไปตามข้อ 63 (10) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการเลิกกองทุนรวม ซึ่งเป็นไปตามข้อ 64 (11) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการออกใบหน่วยลงทุนหรือหลักฐานแสดงสิทธิในหน่วยลงทุน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 65 (12) ข้อกําหนดอื่นตามประกาศเกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานและประกาศเกี่ยวกับข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ ข้อ ๔๒ การได้มาเพิ่มเติมและจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในส่วนที่ 1 ของหมวด 1 ของภาค 1 โดยอนุโลม และมีข้อกําหนดเพิ่มเติมที่มีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การได้มาเพิ่มเติมหรือการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าเกินกว่าหนึ่งร้อยล้านบาท หรือตั้งแต่ร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวมขึ้นไป จะกระทําได้เมื่อได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุน เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้ (ก) การได้มาเพิ่มเติมหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อตกลงหรือสัญญาที่มีกับส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณซึ่งได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในโครงการจัดการกองทุนรวม (ข) การได้มาเพิ่มเติมหรือการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ที่มีมูลค่าเกินกว่าหนึ่งร้อยล้านบาท แต่น้อยกว่าร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม ที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้ดูแลผลประโยชน์แล้ว (2) การได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1) ให้รวมถึงการได้มาหรือจําหน่ายไปไม่ว่าโดยทางตรง หรือโดยทางอ้อมผ่านบริษัทที่กองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นตามข้อ 1(3) (จ) ข้อ ๔๓ การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดที่มีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) กองทุนรวมจะไม่ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานเอง โดยจะจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานโดยการให้เช่า ให้สิทธิ หรือให้ผู้อื่นดําเนินการเท่านั้น (2) การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ที่มีมูลค่าของสัญญาเกินกว่าหนึ่งร้อยล้านบาท หรือตั้งแต่ร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวมขึ้นไป จะกระทําได้เมื่อได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุน เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้ (ก) การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์ ซึ่งได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในโครงการจัดการกองทุนรวม (ข) การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์ที่มีมูลค่าของสัญญาเกินกว่าหนึ่งร้อยล้านบาท แต่น้อยกว่าร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม ที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้ดูแลผลประโยชน์แล้ว การคํานวณมูลค่าของสัญญาตามวรรคหนึ่ง (2) ให้พิจารณาจากมูลค่าของสัญญาทุกรายการภายในรอบระยะเวลาหกเดือน ข้อ ๔๔ การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดที่มีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) บริษัทจัดการจะจัดให้มีการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามหลักเกณฑ์ในข้อ 12 และหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (ก) การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 1(3) (ก) ถึง (ง) ของกองทุนรวมจะกระทําทุกสามปีนับแต่วันที่มีการประเมินค่าครั้งล่าสุด (ข) การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน จะกระทําโดยผู้ประเมินค่ารายเดียวกันติดต่อกันเกินสองครั้งมิได้ (ค) ในกรณีที่ปรากฏแก่บริษัทจัดการว่ามีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันอาจมีผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอย่างมีนัยสําคัญ หรือกรณีที่ได้รับการร้องขอจากผู้ดูแลผลประโยชน์หรือผู้สอบบัญชีของกองทุนรวม บริษัทจัดการจะจัดให้มีการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานโดยไม่ชักช้า (2) ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้นหรือตราสารแห่งหนี้ที่ออกโดยบริษัทตามข้อ 1(3) (จ) บริษัทจัดการจะจัดให้มีการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่บริษัทดังกล่าวลงทุน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ใน (1) โดยอนุโลม ข้อ ๔๕ การลงทุนในทรัพย์สินอื่น บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ประเภทของทรัพย์สินอื่นที่กองทุนรวมสามารถลงทุนหรือมีไว้ได้ ซึ่งเป็นไปตามข้อ 46 และข้อ 47 (2) อัตราส่วนการลงทุนในทรัพย์สินอื่น ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศเกี่ยวกับอัตราส่วนการลงทุนในทรัพย์สินของกองทุนรวมทั่วไปโดยอนุโลม ข้อ ๔๖ นอกจากการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานแล้ว กองทุนรวมอาจลงทุนหรือมีไว้ซึ่งทรัพย์สินอื่นดังต่อไปนี้ได้ (1) พันธบัตรรัฐบาล (2) ตั๋วเงินคลัง (3) พันธบัตรหรือหุ้นกู้ที่รัฐวิสาหกิจ หรือนิติบุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น เป็นผู้ออก และมีกระทรวงการคลังเป็นผู้ค้ําประกันต้นเงินและดอกเบี้ยเต็มจํานวนแบบไม่มีเงื่อนไข (4) เงินฝากในธนาคาร หรือบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (5) บัตรเงินฝากที่ธนาคารหรือบริษัทเงินทุนเป็นผู้ออก ทั้งนี้ หากเป็นบัตรเงินฝากที่เข้าลักษณะของตราสารที่มีลักษณะของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝง ต้องได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานก่อนการลงทุน (6) ตั๋วแลกเงินหรือตั๋วสัญญาใช้เงินที่ธนาคาร บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ หรือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เป็นผู้ออก ผู้รับรอง ผู้รับอาวัล ผู้สลักหลังโอนประเภทมีสิทธิไล่เบี้ย หรือผู้ค้ําประกัน ทั้งนี้ หากเป็นตั๋วแลกเงินหรือตั๋วสัญญาใช้เงินที่เข้าลักษณะของตราสารที่มีลักษณะของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝง ต้องได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานก่อนการลงทุน (7) หน่วยลงทุนหรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตราสารแห่งหนี้ หรือกองทุนรวมอื่นที่มีนโยบายการลงทุนในตราสารแห่งหนี้ หรือเงินฝาก (8) หน่วยลงทุนของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานอื่น (9) หน่วยลงทุนของกองทุนรวมในต่างประเทศ โดยต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (ก) เป็นหน่วยลงทุนของกองทุนรวมในต่างประเทศที่อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของหน่วยงานกํากับดูแลด้านหลักทรัพย์และตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกสามัญของ International Organization of Securities Commissions (IOSCO) หรือเป็นหน่วยลงทุนของกองทุนรวมในต่างประเทศที่มีการซื้อขายในตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกของ World Federation of Exchanges (WFE) (ข) กองทุนรวมในต่างประเทศนั้นมีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินประเภทและชนิดเดียวกับทรัพย์สินที่กองทุนรวมสามารถลงทุนหรือมีไว้ได้ และ (ค) กองทุนรวมในต่างประเทศนั้นจัดตั้งขึ้นเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป (10) หุ้นที่ออกโดยบริษัทที่เป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (ก) บริษัทนั้นมีการลงทุนทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 1(3) (ก) (ข) (ค) หรือ (ง) รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของบริษัทดังกล่าว หรือมีรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 1(3) (ก) (ข) (ค) หรือ (ง) รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของรายได้รวมในแต่ละปีบัญชี (ข) บริษัทนั้นมิใช่บริษัทตามข้อ 1(3) (จ) (11) สัญญาซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งการเข้าทําสัญญาดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันความเสี่ยงของกองทุนรวม ข้อ ๔๗ กองทุนรวมอาจลงทุนหรือมีไว้ซึ่งหุ้นของนิติบุคคลที่เป็นผู้เช่า ผู้รับสิทธิ หรือผู้รับจ้างที่นําทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมไปจัดหาผลประโยชน์ได้ไม่เกินหนึ่งหุ้น โดยเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) หุ้นนั้นให้สิทธิพิเศษแก่ผู้ถือหุ้นในการอนุมัติการดําเนินงานบางประการของนิติบุคคลดังกล่าว (golden share) ทั้งนี้ ตามที่ได้กําหนดไว้ในข้อบังคับของนิติบุคคลนั้น และ (2) นิติบุคคลดังกล่าวตกลงชําระค่าตอบแทนให้แก่กองทุนรวมในอัตราผันแปรตามผลประกอบการของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่นําไปจัดหาผลประโยชน์ ข้อ ๔๘ การทําธุรกรรมระหว่างกองทุนรวมกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดที่มีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ในการทําธุรกรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน บริษัทจัดการจะปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศที่กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกระทําที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการจัดการกองทุนรวม และหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (ก) เป็นธุรกรรมที่ใช้ราคาที่เป็นธรรม (ข) เป็นธุรกรรมที่บุคคลที่มีส่วนได้เสียกับการทําธุรกรรมไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเข้าทําธุรกรรม (ค) การคิดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการเข้าทําธุรกรรมจากกองทุนรวมอยู่ในอัตราที่เป็นธรรมและเหมาะสม (2) การดําเนินการดังต่อไปนี้ บริษัทจัดการจะกระทําได้เมื่อได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุน (ก) การเข้าทําธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เป็นการได้มาเพิ่มเติม หรือการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมีมูลค่าของทรัพย์สินไม่น้อยกว่ายี่สิบล้านบาท หรือไม่น้อยกว่าร้อยละสามของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม แล้วแต่จํานวนใดจะสูงกว่า เว้นแต่เป็นกรณีที่ต้องปฏิบัติตามข้อตกลงหรือสัญญาที่มีกับส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ ซึ่งได้ระบุไว้เป็นการเฉพาะเจาะจงแล้วในโครงการจัดการกองทุนรวม (ข) การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมีมูลค่าของสัญญาไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ใน (ก) (ค) การตกลง ยินยอม หรือใช้สิทธิออกเสียง เพื่อให้บริษัทที่กองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นตามข้อ 1(3) (จ) ทําธุรกรรมตาม (ก) หรือ (ข) กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๔๙ การเพิ่มหรือลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) การเพิ่มเงินทุนจดทะเบียน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 50 (2) การลดเงินทุนจดทะเบียน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 51 ถึงข้อ 54 ข้อ ๕๐ การเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม บริษัทจัดการจะกระทําได้ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุนแล้ว (2) การเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมไม่ขัดหรือแย้งกับโครงการจัดการกองทุนรวม หรือกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนประกาศ กฎ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าวด้วย (3) ในกรณีที่เป็นการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมโดยเสนอขายหน่วยลงทุนเป็นการเฉพาะเจาะจงให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนบางราย ต้องไม่ปรากฏว่ามีผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งถือหน่วยลงทุนรวมกันเกินกว่าร้อยละสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด คัดค้านการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม และ (4) ได้รับอนุมัติจากสํานักงาน เว้นแต่เป็นการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมโดยการเสนอขายหน่วยลงทุนที่ออกใหม่ทั้งหมดต่อผู้ถือหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหน่วยลงทุน และได้รับชําระราคาค่าหน่วยลงทุนจากผู้ถือหน่วยลงทุน (5) ในกรณีที่ผู้ถือหน่วยลงทุนมีมติให้เสนอขายหน่วยลงทุนที่ออกใหม่ทั้งหมดต่อผู้ถือหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหน่วยลงทุน หากบริษัทจัดการมิได้เริ่มเสนอขายหน่วยลงทุนดังกล่าวภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องดําเนินการขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนอีกครั้งหนึ่ง ข้อ ๕๑ การลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม บริษัทจัดการอาจกระทําได้ เฉพาะเมื่อเข้ากรณีดังต่อไปนี้ (1) เป็นการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมตามแผนที่ได้กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวม (2) กองทุนรวมมีสภาพคล่องส่วนเกินที่เหลืออยู่ภายหลังจากการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานและการจ่ายเงินปันผล ทั้งนี้ ต้องปรากฏข้อเท็จจริงด้วยว่ากองทุนรวมไม่มีกําไรสะสมเหลืออยู่แล้ว (3) กองทุนรวมมีรายการค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด และไม่มีเหตุต้องนําไปใช้ในการคํานวณกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วของกองทุนรวม (4) กรณีอื่นใดที่มีมติของผู้ถือหน่วยลงทุนให้ลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ข้อ ๕๒ ให้บริษัทจัดการดําเนินการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมโดยไม่ชักช้าในกรณีที่กองทุนรวมมีการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนเพื่อลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเพิ่มเติมแล้ว แต่ปรากฏเหตุขัดข้องในภายหลังอันทําให้ไม่สามารถได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าวได้ ข้อ ๕๓ การลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมที่เป็นกรณีตามข้อ 51(2) หรือ (3) บริษัทจัดการจะกระทําได้เมื่อได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุน ข้อ ๕๔ การลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม บริษัทจัดการอาจกระทําโดยการลดมูลค่าหน่วยลงทุนหรือลดจํานวนหน่วยลงทุน และจะเฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีชื่ออยู่ในสมุดทะเบียน ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน โดยไม่หักเงินที่เฉลี่ยคืนดังกล่าวจากกําไรสะสมของกองทุนรวม ข้อ ๕๕ การขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องจัดให้ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการมีข้อกําหนดตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดทั่วไปในการขอมติและการออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 56 (2) ข้อกําหนดเพิ่มเติมสําหรับการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ซึ่งเป็นไปตามข้อ 57 และข้อ 58 (3) ข้อกําหนดเพิ่มเติมสําหรับการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ซึ่งเป็นไปตามข้อ 59 (4) ข้อกําหนดเพิ่มเติมสําหรับกองทุนรวมที่มีการแบ่งหน่วยลงทุนออกเป็นหลายชนิด ซึ่งเป็นไปตามข้อ 60 ข้อ ๕๖ การขอมติและการออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) บริษัทจัดการอาจขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนโดยการส่งหนังสือขอมติไปยังผู้ถือหน่วยลงทุนหรือโดยการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนก็ได้ (2) บริษัทจัดการจะจัดให้มีการขอมติโดยการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน เมื่อมีผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งถือหน่วยลงทุนรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม เข้าชื่อกันทําหนังสือขอให้บริษัทจัดการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนโดยระบุเหตุผลในการขอให้เรียกประชุมไว้อย่างชัดเจน (3) การขอมติโดยการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน องค์ประชุมต้องประกอบด้วยผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่ายี่สิบห้าคน หรือไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมด โดยมีหน่วยลงทุนนับรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม (4) ผู้ถือหน่วยลงทุนมีคะแนนเสียง เสียงหนึ่งต่อหน่วยลงทุนหนึ่งที่ตนถือ โดยผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนต้องไม่เป็นบุคคลดังต่อไปนี้ (ก) ผู้ถูกจํากัดสิทธิออกเสียงเนื่องจากการถือหน่วยลงทุนไม่เป็นไปตามอัตราที่กําหนดในข้อ 26 ข้อ 27 หรือข้อ 28 แล้วแต่กรณี หรือ (ข) ผู้มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในเรื่องที่จะลงมตินั้น (5) มติของผู้ถือหน่วยลงทุนให้ถือตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีสิทธิออกเสียง เว้นแต่เป็นกรณีตาม (6) (6) ในกรณีที่เป็นการขอมติโดยการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน มติของผู้ถือหน่วยลงทุนต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (ก) ในกรณีปกติ ให้ถือตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง (ข) ในกรณีดังต่อไปนี้ ให้ถือตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 1. การได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน 2. การเพิ่มเงินทุนหรือการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม 3. การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน 4. การตกลง ยินยอม หรือใช้สิทธิออกเสียง ในกรณีที่บริษัทที่กองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นตามข้อ 1(3) (จ) จะดําเนินการตาม 1. 2. หรือ 3. ความในวรรคหนึ่ง (3) (5) และ (6) มิให้นํามาใช้บังคับกับการขอมติเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวม ซึ่งต้องเป็นไปตามมาตรา 129 ข้อ ๕๗ การขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม บริษัทจัดการต้องจัดให้ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการมีข้อกําหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ในหนังสือนัดประชุม หรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ แล้วแต่กรณี (1) วัตถุประสงค์ในการเพิ่มทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม (2) จํานวนหน่วยลงทุนเพิ่มทุน ราคาเสนอขาย วิธีการเสนอขายและการจัดสรรหน่วยลงทุน (3) ในกรณีที่ราคาเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนต่ํากว่าราคาที่เสนอขายต่อผู้ถือหน่วยลงทุน หรือต่ํากว่าราคาตลาด (ถ้ามี) บริษัทจัดการจะแสดงเหตุผลที่จะเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนในราคาดังกล่าว (4) ผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุนหรือกองทุนรวมจากการเพิ่มทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม โดยบริษัทจัดการจะระบุข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบต่อราคาตลาดของหน่วยลงทุนแต่ละชนิด (price dilution) (ข) ผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหน่วยลงทุนเดิม (control dilution) (ค) ข้อมูลอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุน ข้อ ๕๘ การขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนในกรณีที่เป็นการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมเพื่อให้ได้มาเพิ่มเติมซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน บริษัทจัดการต้องจัดให้ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการมีข้อกําหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ในหนังสือนัดประชุม หรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ แล้วแต่กรณี (1) ลักษณะของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว (2) หลักเกณฑ์การกําหนดราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว (3) สรุปรายงานการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว และสมมติฐานที่สําคัญในการประเมินค่า (4) ความเห็นของบริษัทจัดการเกี่ยวกับความสมเหตุสมผลของสมมติฐานในการประเมินค่าตาม (3) (5) สรุปสาระสําคัญของข้อตกลงเกี่ยวกับการจัดหาประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว และร่างสัญญาอื่นที่เกี่ยวข้อง (6) การกู้ยืมเงินและผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุน (ถ้ามี) เช่น แหล่งที่มาและจํานวนเงินที่จะกู้ยืม ทรัพย์สินที่จะนําไปเป็นหลักประกัน ลําดับสิทธิของเจ้าหนี้เงินกู้ยืมและผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนแต่ละชนิด เป็นต้น บริษัทจัดการอาจกําหนดว่า ในกรณีที่บริษัทจัดการพิจารณาแล้วมีความเชื่อโดยสุจริตและสมเหตุสมผลว่า การเปิดเผยข้อมูลบางรายการตามวรรคสองก่อนการเข้าทํารายการที่ได้รับมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน จะส่งผลกระทบต่อประโยชน์ของกองทุนรวมและผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวม บริษัทจัดการอาจไม่ระบุข้อมูลนั้น โดยจะแสดงเหตุผลในการไม่ระบุข้อมูลดังกล่าวไว้ในหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ เมื่อความจําเป็นในการไม่เปิดเผยข้อมูลนั้นหมดไป บริษัทจัดการจะเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อผู้ถือหน่วยลงทุนโดยไม่ชักช้า ข้อ ๕๙ การขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม บริษัทจัดการต้องจัดให้ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการมีข้อกําหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ในหนังสือนัดประชุม หรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ แล้วแต่กรณี (1) เหตุแห่งการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม (2) จํานวนเงินทุนจดทะเบียนและจํานวนเงินทุนจดทะเบียนต่อหน่วยลงทุนที่ลดลงในแต่ละครั้ง (3) ผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุนหรือกองทุนรวมจากการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ข้อ ๖๐ ในกรณีที่กองทุนรวมมีการแบ่งหน่วยลงทุนออกเป็นหลายชนิด บริษัทจัดการต้องจัดให้มีข้อกําหนดเพิ่มเติมในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการที่ให้ผลดังต่อไปนี้ (1) การขอมติในเรื่องที่มีผลกระทบต่อสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนทุกชนิด เช่น การเลิกกองทุนรวม เป็นต้น ต้องได้รับคะแนนเสียงของผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละชนิดเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนทั้งหมดของชนิดนั้น (2) การขอมติในเรื่องที่มีผลกระทบต่อสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนชนิดหนึ่งชนิดใด เช่น การคิดค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายของหน่วยลงทุนแต่ละชนิดเพิ่มเติม เป็นต้น ให้บริษัทจัดการขอมติเฉพาะจากผู้ถือหน่วยลงทุนชนิดนั้น โดยต้องได้รับคะแนนเสียงของผู้ถือหน่วยลงทุนเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนทั้งหมดของชนิดดังกล่าว การขอมติและการออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุนตามวรรคหนึ่ง ต้องกําหนดให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 55 ถึงข้อ 59 โดยอนุโลม ข้อ ๖๑ การจ่ายเงินปันผล บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดที่มีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) บริษัทจัดการจะจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน เมื่อรวมแล้วในแต่ละงวดปีบัญชีไม่น้อยกว่าร้อยละเก้าสิบของกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้ว ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นรอบบัญชีที่มีการจ่ายเงินปันผล ทั้งนี้ การคํานวณกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้ว บริษัทจัดการจะคํานวณโดยหักกําไรสุทธิของกองทุนรวมด้วยรายการดังต่อไปนี้ (ก) กําไรที่ยังไม่เกิดขึ้น (unrealized gain) จากการประเมินราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวม (ข) เงินสํารองที่กันไว้เพื่อซ่อมแซม บํารุงรักษา หรือปรับปรุงกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมตามแผนที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการของกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวน หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า (ค) เงินสํารองที่กันไว้เพื่อการจ่ายชําระหนี้เงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันของกองทุนรวมตามนโยบายการกู้ยืมเงินที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวน หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า ในกรณีที่กองทุนรวมมีค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด เช่น ค่าใช้จ่ายที่ทยอยตัดจ่ายหรือผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (unrealized loss) เป็นต้น บริษัทจัดการจะหักรายการตามวรรคหนึ่ง (ข) และ (ค) จากกําไรสุทธิของกองทุนรวมได้ตามมูลค่าของรายการดังกล่าวเฉพาะส่วนที่เกินกว่าค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสดเท่านั้น (2) ในกรณีที่กองทุนรวมยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ บริษัทจัดการจะไม่จ่ายเงินปันผล ข้อ ๖๒ บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดเกี่ยวกับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม เงินตอบแทนอื่นใด หรือค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวม หรือผู้ถือหน่วยลงทุนไว้อย่างชัดเจน โดยค่าใช้จ่ายที่บริษัทจัดการจะหักจากเงินของกองทุนรวมจะเป็นค่าใช้จ่ายที่จําเป็นและสมควรซึ่งเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทุนรวมโดยตรงเท่านั้น ข้อ ๖๓ การจํากัดสิทธิในการรับเงินปันผล การจัดการกับเงินปันผล และการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุน ต้องมีข้อกําหนดในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) จํากัดสิทธิในการรับเงินปันผลของผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนเกินกว่าอัตราที่กําหนด ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 26 ข้อ 27 และข้อ 28 และกําหนดวิธีดําเนินการกับเงินปันผลในส่วนที่ไม่อาจจ่ายแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนดังกล่าวดังต่อไปนี้ (ก) จะยกเงินปันผลส่วนดังกล่าวให้เป็นรายได้แผ่นดิน โดยถือว่าผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งปวงรับทราบและยินยอมให้ดําเนินการแล้ว และ (ข) ในระหว่างที่ยังมิได้ดําเนินการตาม (ก) บริษัทจัดการจะจัดทําบัญชีและแยกเงินปันผลส่วนดังกล่าวออกจากทรัพย์สินอื่นของกองทุนรวม โดยไม่นํามารวมคํานวณมูลค่าทรัพย์สินของกองทุนรวม (2) จํากัดสิทธิในการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุนดังต่อไปนี้ (ก) ผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนเกินกว่าอัตราที่กําหนด ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 26 ข้อ 27 และข้อ 28 (ข) ผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในเรื่องที่ขอมติ ข้อ ๖๔ การเลิกกองทุนรวม บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดที่แสดงว่า เมื่อปรากฏเหตุการณ์ตามที่ระบุไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม และในกรณีดังต่อไปนี้ บริษัทจัดการจะเลิกกองทุนรวม (1) เมื่อจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนลดลงเหลือน้อยกว่าสามสิบห้าราย เว้นแต่จะได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน (2) เมื่อมีการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมและบริษัทจัดการนําเงินไปลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม จนทําให้กองทุนรวมมีเงินทุนจดทะเบียนต่ํากว่าสองพันล้านบาทเมื่อคํานวณจากมูลค่าที่ตราไว้ของหน่วยลงทุน (3) เมื่อมีการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวม และบริษัทจัดการไม่สามารถดําเนินการเพื่อให้ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนมีมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งพันห้าร้อยล้านบาท และไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่จําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (4) เมื่อสํานักงานมีคําสั่งเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม ข้อ ๖๕ บริษัทจัดการต้องจัดให้ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการมีข้อกําหนดที่แสดงว่า ในกรณีที่ผู้ถือหน่วยลงทุนร้องขอให้บริษัทจัดการออกใบหน่วยลงทุนหรือหลักฐานแสดงสิทธิในหน่วยลงทุน บริษัทจัดการจะออกใบหน่วยลงทุนหรือหลักฐานแสดงสิทธิในหน่วยลงทุนที่เป็นปัจจุบัน และมีข้อมูลที่จําเป็นและเพียงพอเพื่อให้ผู้ถือหน่วยลงทุนใช้เป็นหลักฐานแสดงสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนและใช้อ้างอิงต่อบริษัทจัดการและบุคคลอื่นได้ ทั้งนี้ ในกรณีที่มีข้อจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนจะระบุข้อจํากัดสิทธิเช่นว่านั้นไว้อย่างชัดเจน อื่นๆ ๓ หลักเกณฑ์การบริหารและจัดการกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด ๑ การจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๖๖ ให้บริษัทจัดการจัดให้มีคณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุนอย่างน้อยหนึ่งคณะ เพื่อทําหน้าที่ให้คําปรึกษาหรือคําแนะนําเกี่ยวกับการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจนการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุน คณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุนตามวรรคหนึ่ง ต้องประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้ (1) ผู้แทนจากบริษัทจัดการ โดยผู้แทนอย่างน้อยหนึ่งรายต้องเป็นผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (2) ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้มีประสบการณ์ในกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท ข้อ ๖๗ ในการขอคําปรึกษาหรือคําแนะนําจากคณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุน บริษัทจัดการต้องปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) ดําเนินการให้กรรมการแจ้งการมีส่วนได้เสียในเรื่องที่พิจารณา (2) ห้ามมิให้กรรมการผู้ที่มีส่วนได้เสียในเรื่องที่พิจารณาไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เข้าร่วมพิจารณาในเรื่องนั้น ข้อ ๖๘ ในการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน บริษัทจัดการต้องดําเนินการและควบคุมดูแลให้การจัดการเป็นไปตามสาระสําคัญที่ได้ระบุไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม ข้อ ๖๙ ในการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 1(3) (ก) ถึง (ง) บริษัทจัดการต้องจัดให้มีข้อกําหนดในเอกสารสัญญาที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้เช่า ผู้รับสิทธิ หรือผู้รับจ้างที่นําทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมไปจัดหาผลประโยชน์ มีหน้าที่รายงานข้อเท็จจริงและเหตุผลต่อบริษัทจัดการโดยไม่ชักช้า เมื่อมีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันอาจมีผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ข้อ ๗๐ ในการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้นของบริษัทตามข้อ 1(3) (จ) บริษัทจัดการต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ส่งบุคลากรเข้าร่วมบริหารในกิจการของบริษัทนั้น โดยบุคลากรดังกล่าวต้องเป็นผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (2) ดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ของตนเพื่อให้ (ก) ผู้บริหารและบุคคลผู้มีอํานาจควบคุมกิจการโครงสร้างพื้นฐาน มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท (ข) การกู้ยืมเงินของบริษัทดังกล่าว (ถ้ามี) เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินในนามของกองทุนรวมและการก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโดยอนุโลม หมวด ๒ การเพิ่มหรือลดเงินทุนจดทะเบียน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๗๑ การเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม บริษัทจัดการต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) การขออนุมัติเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ต้องยื่นคําขอต่อสํานักงานเป็นหนังสือ โดยต้องแสดงได้ว่ากองทุนรวมมีลักษณะเป็นไปตามที่กําหนดในภาค 1 ของประกาศนี้ (2) การเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไปเพื่อเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ต้องดําเนินการตามหลักเกณฑ์ในข้อ 30 และ 31 โดยอนุโลม (3) การขอแก้ไขเพิ่มเติมเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ต้องยื่นคําขอต่อสํานักงานภายในสิบห้าวันทําการนับแต่วันปิดการเสนอขายหน่วยลงทุนเพื่อเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ทั้งนี้ ตามแบบที่จัดไว้ในระบบงานอิเล็กทรอนิกส์ของสํานักงาน ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงดังต่อไปนี้ ให้การอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมเป็นอันสิ้นสุดลง (1) บริษัทจัดการมิได้เริ่มเสนอขายหน่วยลงทุนเพื่อการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติจากสํานักงาน (2) มูลค่าหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้ เมื่อรวมกับมูลค่าการกู้ยืมเงินจากบุคคลอื่น (ถ้ามี) มีมูลค่าไม่เพียงพอที่จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามที่ได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุน ทั้งนี้ ให้บริษัทจัดการดําเนินการตามหลักเกณฑ์ในข้อ 35 วรรคสอง โดยอนุโลม ข้อ ๗๒ การลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการยื่นคําขอแก้ไขเพิ่มเติมเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมต่อสํานักงานภายในห้าวันทําการนับแต่วันที่เฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุน ทั้งนี้ ตามแบบที่จัดไว้ในระบบงานอิเล็กทรอนิกส์ของสํานักงาน บริษัทจัดการต้องจัดให้มีข้อมูลเกี่ยวกับการลดเงินทุนจดทะเบียนทุกครั้งของกองทุนรวมไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทจัดการกองทุนรวมและรายงานประจําปีของกองทุนรวม เพื่อให้ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ โดยข้อมูลดังกล่าวต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) เหตุแห่งการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม (2) จํานวนเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมและจํานวนเงินทุนจดทะเบียนต่อหน่วยลงทุนที่ลดในแต่ละครั้ง (3) วันปิดสมุดทะเบียน และวันที่ดําเนินการเฉลี่ยเงินคืนผู้ถือหน่วยลงทุน หมวด ๓ การขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๗๓ ในการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องแสดงข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้ถือหน่วยลงทุนอย่างเพียงพอ ซึ่งรวมถึงความเห็นของบริษัทจัดการและผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมในเรื่องที่ขอมติ และผลกระทบที่ผู้ถือหน่วยลงทุนอาจได้รับจากการลงมติในเรื่องดังกล่าว การแสดงข้อมูลตามวรรคหนึ่ง ให้บริษัทจัดการแสดงไว้ในหนังสือนัดประชุม หรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ หมวด ๔ การเปิดเผยข้อมูลและการจัดทํารายงานของกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๗๔ ให้บริษัทจัดการจัดทํา จัดส่ง และเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวมดังต่อไปนี้ (1) มูลค่าทรัพย์สิน มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ในข้อ 75 (2) งบการเงินและงบการเงินรวมของกองทุนรวมตามหลักเกณฑ์ในข้อ 76 ข้อ 77 และข้อ 78 (3) รายงานความคืบหน้าของโครงการ ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนหรือมีไว้ซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ในข้อ 79 (4) รายงานประจําปีของกองทุนรวมตามหลักเกณฑ์ในข้อ 80 ข้อ ๗๕ ให้บริษัทจัดการคํานวณและเปิดเผยมูลค่าทรัพย์สิน มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ และมูลค่าหน่วยลงทุนของกองทุนรวม เป็นรายไตรมาสภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันสิ้นไตรมาส ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ที่ออกตามมาตรา 117 โดยอนุโลม ข้อ ๗๖ ให้บริษัทจัดการส่งงบการเงินของกองทุนรวมที่จัดทําขึ้นตามหลักเกณฑ์ในข้อ 77 ต่อสํานักงานดังต่อไปนี้ (1) งบการเงินรายไตรมาสที่ผู้สอบบัญชีได้สอบทานแล้ว ทั้งนี้ ภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันสุดท้ายของแต่ละไตรมาส (2) งบการเงินประจํางวดการบัญชีที่ผู้สอบบัญชีได้ตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว ทั้งนี้ ภายในสามเดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีของกองทุนรวม ในกรณีที่บริษัทจัดการได้จัดทําและนําส่งงบการเงินประจํางวดการบัญชีของกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง (2) ต่อสํานักงานภายในหกสิบวันนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีของกองทุนรวม ให้ถือว่าบริษัทจัดการได้ส่งงบการเงินรายไตรมาสที่สี่ตามวรรคหนึ่ง (1) ต่อสํานักงานแล้ว แต่ทั้งนี้ ถ้าบริษัทจัดการส่งงบการเงินประจํางวดการบัญชีเมื่อพ้นหกสิบวันนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีของกองทุนรวม ให้ถือว่าบริษัทจัดการส่งงบการเงินสําหรับไตรมาสที่สี่ล่าช้านับแต่วันที่ครบหกสิบวันดังกล่าว ในกรณีที่หน่วยลงทุนของกองทุนรวมมีการจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ให้บริษัทจัดการส่งงบการเงินตามหลักเกณฑ์ในวรรคหนึ่งและวรรคสองให้ตลาดหลักทรัพย์ด้วย ข้อ ๗๗ งบการเงินของกองทุนรวม ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จัดทําตามมาตรฐานการบัญชีที่สภาวิชาชีพบัญชีกําหนดสําหรับการทําธุรกรรมในแต่ละลักษณะ ทั้งนี้ ในกรณีที่มาตรฐานการบัญชีให้ทางเลือกในการบันทึกบัญชีด้วยวิธีการมูลค่ายุติธรรม (fair value) หรือวิธีการต้นทุน (cost) บริษัทจัดการต้องบันทึกบัญชีด้วยวิธีการมูลค่ายุติธรรมเท่านั้น (2) ผ่านการตรวจสอบ หรือสอบทาน แล้วแต่กรณี จากผู้สอบบัญชีที่อยู่ในบัญชีที่สํานักงานให้ความเห็นชอบ โดยผู้สอบบัญชีดังกล่าวได้ปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วนตามมาตรฐานการสอบบัญชี (3) ข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีในรายงานการสอบทานงบการเงินรายไตรมาสต้องไม่มีลักษณะที่แสดงให้เห็นว่า ผู้สอบบัญชีไม่อาจสอบทานงบการเงินดังกล่าวได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่กําหนดโดยสภาวิชาชีพบัญชี อันเนื่องจากบริษัทจัดการ กรรมการ ผู้บริหารหรือผู้จัดการกองทุนรวมของบริษัทจัดการไม่ให้ความร่วมมือ (4) งบการเงินประจํางวดการบัญชี ต้องมีรายงานการสอบบัญชีที่ไม่มีความหมายในลักษณะไม่แสดงความเห็นต่อการจัดทํางบการเงินของกองทุนรวม หรือที่ไม่แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขในรายการบัญชีที่เป็นสาระสําคัญ อันเนื่องมาจากผู้สอบบัญชีถูกจํากัดขอบเขตการสอบบัญชี เว้นแต่การถูกจํากัดขอบเขตการสอบบัญชีดังกล่าวมิได้เกิดจากการกระทําหรือไม่กระทําการของบริษัทจัดการ กรรมการ ผู้บริหารหรือผู้จัดการกองทุนรวมของบริษัทจัดการ ข้อ ๗๘ ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนหรือมีไว้ซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้นหรือตราสารแห่งหนี้ที่ออกโดยบริษัทตามข้อ 1(3) (จ) ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้เป็นการเพิ่มเติม (1) งบการเงินของบริษัทตามข้อ 1(3) (จ) ต้องจัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่สภาวิชาชีพบัญชีกําหนด และตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดทํางบการเงินของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ที่ออกตามมาตรา 56 โดยอนุโลม (2) จัดทําและนําส่งงบการเงินรวมของกองทุนรวมและบริษัทย่อยพร้อมกับงบการเงินตามข้อ 76 โดยงบการเงินรวมดังกล่าวต้องจัดทําขึ้นตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 77 ข้อ ๗๙ ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ ให้บริษัทจัดการจัดทํารายงานความคืบหน้าของโครงการทุก ๆ หกเดือนนับแต่มีการลงทุนในทรัพย์สินนั้น และส่งรายงานดังกล่าวให้สํานักงานภายในสามสิบวันนับแต่วันสุดท้ายของกําหนดเวลาหกเดือน รายงานความคืบหน้าของโครงการตามวรรคหนึ่ง ต้องมีข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อมูลเปรียบเทียบความคืบหน้าของโครงการกับแผนงานของโครงการ (2) ในกรณีที่ความคืบหน้าของโครงการไม่เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในแผนงาน ให้ระบุแนวทางแก้ไขและผลกระทบที่กองทุนรวมได้รับหรืออาจได้รับไว้ด้วย ในกรณีที่หน่วยลงทุนของกองทุนรวมมีการจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ให้บริษัทจัดการจัดส่งรายงานตามหลักเกณฑ์ในวรรคหนึ่งและวรรคสองให้ตลาดหลักทรัพย์ด้วย ข้อ ๘๐ ให้บริษัทจัดการจัดทํา และส่งรายงานประจําปีของกองทุนรวมให้ผู้ถือหน่วยลงทุนและสํานักงานภายในสี่เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีของกองทุนรวม รายงานประจําปีตามวรรคหนึ่ง ต้องมีข้อมูลของกองทุนรวมอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อมูลที่กําหนดตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดทํารายงานของกองทุนรวมทุกวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีประจําปีในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (2) รายงานความคืบหน้าของโครงการ ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ ในกรณีที่หน่วยลงทุนของกองทุนรวมมีการจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ให้บริษัทจัดการจัดส่งรายงานตามหลักเกณฑ์ในวรรคหนึ่งและวรรคสองให้ตลาดหลักทรัพย์ด้วย ข้อ ๘๑ ให้บริษัทจัดการรายงานพร้อมด้วยเหตุผลต่อสํานักงานโดยไม่ชักช้า เมื่อปรากฏเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันอาจมีผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนหรือมีไว้อย่างมีนัยสําคัญ หรือตามที่สํานักงานประกาศกําหนด ในกรณีที่หน่วยลงทุนของกองทุนรวมมีการจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ให้บริษัทจัดการจัดส่งรายงานตามหลักเกณฑ์ในวรรคหนึ่งให้ตลาดหลักทรัพย์ด้วย หมวด ๕ การดําเนินงานและการมอบหมายงานของบริษัทจัดการ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๘๒ บริษัทจัดการต้องจัดให้มีบุคลากรที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน เพื่อทําหน้าที่ดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงานประกาศกําหนด (1) ผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อทําหน้าที่ตัดสินใจลงทุนหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (2) ผู้จัดการกองทุน เพื่อทําหน้าที่ตัดสินใจลงทุนหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินอื่นที่มิใช่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (3) ผู้ติดต่อกับผู้ลงทุน เพื่อทําหน้าที่ขายหน่วยลงทุนหรือให้คําแนะนําแก่ผู้ลงทุน ผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานตามวรรคหนึ่ง (1) และผู้จัดการกองทุนตามวรรคหนึ่ง (2) อาจเป็นบุคคลเดียวกันก็ได้ ความในวรรคหนึ่ง (3) มิให้นํามาใช้บังคับกับการขายหรือให้คําแนะนําแก่ผู้ลงทุนตามข้อ 25 วรรคสอง ข้อ ๘๓ บริษัทจัดการต้องกํากับดูแลและตรวจสอบให้บุคลากรของตนปฏิบัติงานตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และหลักเกณฑ์ที่ออกตามกฎหมายดังกล่าว รวมทั้งมาตรฐานการปฏิบัติงานที่สมาคมกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ข้อ ๘๔ บริษัทจัดการอาจมอบหมายให้ผู้อื่นบริหารจัดการกองทุนรวมเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการลงทุนและการจัดหาผลประโยชน์ในทรัพย์สินอื่นที่มิใช่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และการปฏิบัติการด้านงานสนับสนุน ในการมอบหมายการบริหารจัดการกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง บริษัทจัดการต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) คัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมที่จะดําเนินการตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรอบคอบ และระมัดระวัง โดยในกรณีที่เป็นการมอบหมายการลงทุนและการจัดหาผลประโยชน์ในทรัพย์สินอื่นที่มิใช่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ผู้ได้รับมอบหมายต้องเป็นบุคคลที่สามารถประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนส่วนบุคคล หรือธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเภทการเป็นผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า แล้วแต่กรณี และหากเป็นการจัดการลงทุนในต่างประเทศ บุคคลที่ได้รับมอบหมายต้องเป็นบุคคลที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประเภทดังกล่าวจากหน่วยงานกํากับดูแลด้านหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกของ International Organization of Securities Commissions (IOSCO) ที่ได้รับการยอมรับจากสํานักงาน (2) กํากับและตรวจสอบการดําเนินการของผู้รับมอบหมายอย่างเพียงพอ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมาตรฐานการปฏิบัติงานที่สํานักงานประกาศกําหนด หรือที่สมาคมกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ข้อ ๘๕ บริษัทจัดการต้องอํานวยความสะดวกแก่ผู้ดูแลผลประโยชน์หรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากผู้ดูแลผลประโยชน์ เพื่อให้บุคคลดังกล่าวสามารถปฏิบัติหน้าที่ของตนในส่วนที่เกี่ยวกับกองทุนรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ หมวด ๖ การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการเลิกกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๘๖ เมื่อเกิดกรณีตามข้อ 64 หรือกรณีอื่นใดที่อาจทําให้ต้องเลิกกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการรายงานต่อสํานักงานและผู้ดูแลผลประโยชน์โดยไม่ชักช้า และในกรณีที่ กองทุนรวมมีหน่วยลงทุนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ให้บริษัทจัดการรายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ด้วย ข้อ ๘๗ การเลิกกองทุนรวมเพราะเหตุครบกําหนดอายุของโครงการหรือเพราะเหตุอื่นที่ทราบกําหนดการเลิกกองทุนรวมล่วงหน้า ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ สํานักงาน และตลาดหลักทรัพย์ ทราบเป็นหนังสือก่อนวันเลิกกองทุนรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าวันทําการ (2) ดําเนินการด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อให้ผู้ลงทุนทราบเรื่องดังกล่าวก่อนวันเลิกกองทุนรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าวันทําการ เช่น ประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่น เป็นต้น อื่นๆ ๔ อํานาจสั่งการของสํานักงานเกี่ยวกับการดําเนินงานของ บริษัทจัดการหรือกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๘๘ ให้สํานักงานมีอํานาจประกาศกําหนดประเภทหรือลักษณะของค่าใช้จ่ายที่บริษัทจัดการไม่สามารถจ่ายจากเงินของกองทุนรวมได้ ข้อ ๘๙ ให้สํานักงานมีอํานาจผ่อนผันการปฏิบัติของบริษัทจัดการตามข้อกําหนดในเรื่องดังต่อไปนี้ได้ เมื่อบริษัทจัดการสามารถแสดงได้ว่าเป็นกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควร (1) ระยะเวลาในการเข้าทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (2) การดํารงมูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีประจําปี (3) การกระจายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป และการนําหน่วยลงทุนของกองทุนรวมไปจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ ในกรณีของกองทุนรวมที่มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นโครงการที่แล้วเสร็จ (4) การเลิกกองทุนรวมเพราะเหตุที่มีจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนน้อยกว่าสามสิบห้าราย อื่นๆ ๕ วันมีผลใช้บังคับของประกาศ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๙๐ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน หมายเหตุ - เหตุผลในการออกประกาศฉบับนี้ คือ เพื่อกําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นกองทุนรวมที่มีวัตถุประสงค์ในการระดมเงินทุนจากผู้ลงทุน ไปลงทุนทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินดังกล่าวเป็นผลตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน จึงจําเป็นต้องออกประกาศฉบับนี้
622
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 40/2555 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 40/2555 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 มาตรา 43 มาตรา 44 และมาตรา 64 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (ฌ) และ (ญ) ใน (4) ของข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “(ฌ) ระบบบริหารจัดการน้ํา หรือการชลประทาน (ญ) ระบบป้องกันภัยธรรมชาติ ซึ่งรวมถึงระบบเตือนภัยและระบบจัดการเพื่อลดความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นด้วย” ข้อ ๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (6/1) ของข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “(6/1) “ภาครัฐ” หมายความว่า (ก) ส่วนราชการ (ข) องค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาลและกิจการของรัฐตามกฎหมายที่จัดตั้งกิจการนั้น และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของซึ่งไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคลด้วย” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความใน (3) ของข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(3) มีเงินทุนโครงการไม่ต่ํากว่าสองพันล้านบาท และมีนโยบายที่จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งพันห้าร้อยล้านบาท โดยในกรณีที่มีนโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานหลายโครงการ แต่ละโครงการต้องมีมูลค่าไม่น้อยกว่าหนึ่งพันล้านบาท เว้นแต่เป็นการลงทุนในกิจการไฟฟ้า แต่ละโครงการต้องมีมูลค่าไม่น้อยกว่าห้าร้อยล้านบาท” ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความใน (5) ของข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(5) มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก ซึ่งกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นเป็นไปเพื่อประโยชน์หรือให้บริการแก่ประชาชนในวงกว้างของประเทศไทย ให้ถือว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ เป็นกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามวรรคหนึ่งด้วย (ก) กิจการที่จําหน่ายสินค้าเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนในวงกว้าง หรือให้บริการแก่ประชาชนในวงกว้างโดยทางอ้อมผ่านผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานอื่น (ข) กิจการที่จําหน่ายสินค้าหรือให้บริการทั้งหมดแก่ภาครัฐ (ค) กิจการที่จําหน่ายสินค้าหรือให้บริการไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนแก่ภาคธุรกิจเอกชน ซึ่งการจําหน่ายหรือให้บริการนั้นไม่มีลักษณะเป็นการจํากัดเฉพาะแก่ภาคธุรกิจเอกชนรายใดรายหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ทั้งนี้ ในขณะที่ยื่นคําขอ การจําหน่ายหรือให้บริการดังกล่าวต้องไม่เกินกว่าหนึ่งในสามของกําลังการผลิตหรือการให้บริการสูงสุดของกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น ให้ถือว่าบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันในลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นกลุ่มเดียวกันกับภาคธุรกิจเอกชนตามวรรคหนึ่ง 1. บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์ในลักษณะเป็นผู้ถือหุ้นหรือหุ้นส่วนของภาคธุรกิจเอกชนดังกล่าว ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละสามสิบของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดหรือความเป็นหุ้นส่วนทั้งหมดของภาคธุรกิจเอกชนนั้น 2. นิติบุคคลที่มีบุคคลตาม 1. เป็นบุคคลเดียวกัน 3. คู่สมรสหรือบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลตาม 1.” ข้อ ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (5/1) ของข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “(5/1) ในขณะที่ยื่นคําขออนุมัติจัดตั้ง มีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุนอย่างแน่นอนแล้ว ทั้งนี้ บริษัทจัดการต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ด้วย (ก) ตรวจสอบหรือสอบทาน (การทํา due diligence) ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน โดยร่วมกับที่ปรึกษาทางการเงินในการจัดให้มีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานหรือกิจการโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ข้อมูลด้านการเงิน กฎหมาย และเทคนิคเฉพาะทาง เป็นต้น และมีความเห็นว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะลงทุนเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. มีความเหมาะสมสําหรับการลงทุนของผู้ลงทุนทั่วไป โดยมีศักยภาพในการสร้างผลตอบแทนเพื่อเป็นรายได้ให้แก่กองทุนรวมได้อย่างต่อเนื่อง 2. มีเอกสารสิทธิหรือเอกสารสัญญาที่ครบถ้วน ชัดเจน บังคับได้ตามกฎหมาย และเพียงพอต่อการที่กองทุนรวมจะใช้ดําเนินการหรือจัดหาผลประโยชน์ได้ (ข) จัดให้มีการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามหลักเกณฑ์ในข้อ 12 (ค) ในกรณีที่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะลงทุนเป็นสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตหรือสิทธิตามสัญญาแบ่งรายได้ บริษัทจัดการต้องดําเนินการให้ผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นคู่สัญญาจัดให้มีกลไกให้บริษัทจัดการหรือผู้ที่บริษัทจัดการมอบหมายสามารถเข้าตรวจสอบหรือสอบยันความถูกต้องครบถ้วนของส่วนแบ่งรายได้ที่กองทุนรวมได้รับตามข้อตกลง ตลอดจนจัดส่งรายงานหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่อบริษัทจัดการเพื่อใช้ในการติดตามและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของส่วนแบ่งรายได้ดังกล่าว” ข้อ ๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (ฉ) ใน (1) ของข้อ 14 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “(ฉ) เอกสารหรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุนมีลักษณะเป็นไปตามที่กําหนดในประกาศนี้” ข้อ ๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (2/1) ของข้อ 20 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “(2/1) กองทุนรวมที่ขออนุมัติมีลักษณะเป็นการจัดตั้งเพื่อประโยชน์ของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเป็นหลัก” ข้อ ๘ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ 40 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 40 การคํานวณมูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ ให้คํานวณจากผลรวมของราคาที่ทําให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น และมูลค่าเงินลงทุนที่กองทุนรวมคาดว่าจะต้องใช้ในการพัฒนาให้เป็นโครงการที่แล้วเสร็จ (2) กรณีที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการที่แล้วเสร็จ ให้คํานวณตามราคาที่ทําให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น (3) กรณีที่มีการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 44 ให้คํานวณโดยใช้ราคาที่ได้จากการประเมินค่าครั้งล่าสุด ซึ่งปรับปรุงด้วยการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ถ้ามี) และการตัดจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ถ้ามี) ที่เกิดขึ้นภายหลังการประเมินล่าสุด” ข้อ ๙ ให้ยกเลิกความใน (ก) ของวรรคหนึ่งใน (1) ของข้อ 42 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ก) การได้มาเพิ่มเติมหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อตกลงหรือสัญญาที่มีกับภาครัฐซึ่งได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในโครงการจัดการกองทุนรวม” ข้อ ๑๐ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1/1) ในวรรคหนึ่งของข้อ 43 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “(1/1) กองทุนรวมจะกําหนดอัตราค่าเช่า ค่าสิทธิ หรือค่าตอบแทนอื่นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเงื่อนไขตามสัญญาจัดหาผลประโยชน์ เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของกองทุนรวม และมีลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระทํากับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน” ข้อ ๑๑ ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (2) ในข้อ 48 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ก) การเข้าทําธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เป็นการได้มาเพิ่มเติม หรือการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมีมูลค่าของทรัพย์สินไม่น้อยกว่ายี่สิบล้านบาทหรือไม่น้อยกว่าร้อยละสามของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม แล้วแต่จํานวนใดจะสูงกว่า เว้นแต่เป็นกรณีที่ต้องปฏิบัติตามข้อตกลงหรือสัญญาที่มีกับภาครัฐ ซึ่งได้ระบุไว้เป็นการเฉพาะเจาะจงแล้วในโครงการจัดการกองทุนรวม” ข้อ ๑๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 68/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ข้อ 68/1 ในการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตหรือสิทธิตามสัญญาแบ่งรายได้ บริษัทจัดการต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ด้วย (1) ติดตามและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของส่วนแบ่งรายได้ที่กองทุนรวมได้รับอย่างสม่ําเสมอ (2) หากพบความผิดพลาดหรือข้อบกพร่องที่อาจทําให้กองทุนรวมไม่ได้รับส่วนแบ่งรายได้ที่ถูกต้องครบถ้วนตามข้อตกลง ต้องดําเนินการหรือมอบหมายให้ผู้เชี่ยวชาญดําเนินการให้ผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าว” ข้อ ๑๓ ให้ยกเลิกความในข้อ 70 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 70 ในการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนลงทุนด้วยการเข้าถือหุ้นของบริษัทที่ประกอบธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน บริษัทจัดการต้องจัดให้มีมาตรการหรือกลไกที่จะทําให้บริษัทจัดการสามารถดูแลและควบคุมให้บริษัทดังกล่าวมีการประกอบกิจการที่เป็นไปตามโครงการจัดการกองทุนรวม และตามหลักเกณฑ์ในประกาศนี้และประกาศอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เป็นไปในทํานองเดียวกับการปฏิบัติของกองทุนรวมโดยอนุโลม ซึ่งรวมถึงการดําเนินการของบริษัทจัดการดังต่อไปนี้ (1) การส่งบุคลากรเข้าร่วมบริหารในกิจการของบริษัทดังกล่าว โดยบุคลากรนั้นต้องเป็นผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (2) การดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ของตนเพื่อให้ผู้บริหารและบุคคลผู้มีอํานาจควบคุมกิจการโครงสร้างพื้นฐาน มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท (3) การดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ของตนเพื่อให้การกู้ยืมเงินและการก่อภาระผูกพันของบริษัทดังกล่าว (ถ้ามี) เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศเกี่ยวกับการกู้ยืมในนามของกองทุนรวมและการก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานโดยอนุโลม (4) การจัดให้มีมาตรการที่จะทําให้ผู้ดูแลผลประโยชน์สามารถตรวจสอบการดําเนินการของบริษัทจัดการเพื่อให้เป็นไปตามมาตรการหรือกลไกที่บริษัทจัดการได้วางไว้ตามข้อกําหนดนี้ การดําเนินการของบริษัทจัดการเพื่อให้บริษัทตามวรรคหนึ่งมีการประกอบกิจการ ในทํานองเดียวกับการปฏิบัติของกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง มิให้รวมถึงการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในข้อ 43(1) โดยบริษัทดังกล่าวอาจประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานเองได้” ข้อ ๑๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555 (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
623
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 4/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 4/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 มาตรา 43 มาตรา 44 และมาตรา 64 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (13) ของข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(13) “บุคคลที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า บุคคลดังต่อไปนี้ (ก) บุคคลที่เกี่ยวข้องตามประกาศเกี่ยวกับการกระทําที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการจัดการกองทุนรวมในส่วนที่เกี่ยวกับการทําธุรกรรมเพื่อกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์โดยอนุโลม (ข) บุคคลที่เกี่ยวโยงกันของกองทุนรวม โดยให้มีความหมายตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ออกตามความในมาตรา 89/1 ในส่วนที่เกี่ยวกับบทนิยามคําว่าบุคคลที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความใน (16) ของข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(16) “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” หมายความว่า บุคคลที่มีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือหลายลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ข) นิติบุคคล และผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนของนิติบุคคลนั้นซึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในนิติบุคคลดังกล่าวไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละห้าสิบของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดหรือความเป็นหุ้นส่วนทั้งหมด (ค) กองทุนส่วนบุคคลของบุคคลตาม (ก) หรือ (ข) แต่ทั้งนี้ มิให้รวมถึงกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน 3. ของ (ค) ใน (1) ของข้อ 12 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “3. ในกรณีที่การได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นการทําธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ต้องผ่านการประเมินค่าโดยผู้ประเมินค่าอย่างน้อยสองราย” ข้อ 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 24/1 ในส่วนที่ 2 การจัดสรรและเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ของหมวด 2 การดําเนินการเมื่อได้รับอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม ในภาค 1 การขออนุมัติและการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ข้อ 24/1 ในส่วนนี้ “บริษัทจดทะเบียน” หมายความว่า บริษัทที่มีหุ้นจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย “บริษัทย่อย” หมายความว่า บริษัทย่อยตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการของบริษัทจดทะเบียน “ผู้บริหาร” หมายความว่า ผู้จัดการ ผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา และผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งเทียบเท่าผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย “ผู้ที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า ผู้ที่เกี่ยวข้องตามประกาศคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุนที่ออกตามความในมาตรา 89/1 ในส่วนที่เกี่ยวกับบทนิยามคําว่าบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง “ญาติสนิท” หมายความว่า ญาติสนิทที่ถือเป็นบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องตามหลักเกณฑ์ของประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ออกตามความในมาตรา 89/1 “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” หมายความว่า ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่ถือเป็นบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องตามหลักเกณฑ์ของประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ออกตามความในมาตรา 89/1” ข้อ 5 ให้ยกเลิกความในข้อ 25 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 25 ในการจัดสรรหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) ใช้กระบวนการจัดสรรหน่วยลงทุนที่ให้โอกาสแก่ผู้จองซื้อทุกรายอย่างเป็นธรรม “กระบวนการจัดสรรหน่วยลงทุนที่ให้โอกาสแก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนทุกรายอย่างเป็นธรรม” ตามวรรคหนึ่งหมายความว่า กระบวนการที่ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์หรือบริษัทจัดการกําหนดหน่วยการจองซื้อ (board lot) ไว้ และจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนทุกรายอย่างเท่าเทียมกันครั้งละหนึ่งหน่วยการจองซื้อจนครบจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่าย หรือกระบวนการอื่นที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (2) จัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนตามหลักเกณฑ์ในข้อ 25/1 ข้อ 25/3 ข้อ 26 ข้อ 27 ข้อ 28 และข้อ 29 ความในวรรคหนึ่ง (1) มิให้นํามาใช้บังคับกับการจัดสรรที่เข้าลักษณะดังต่อไปนี้ (1) การจัดสรรหน่วยลงทุนชนิดที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เป็นการเฉพาะเจาะจง หรือ (2) การจัดสรรหน่วยลงทุนในส่วนที่แบ่งแยกไว้สําหรับบุคคลดังต่อไปนี้ และได้เปิดเผยไว้ในหนังสือชี้ชวนแล้ว (ก) บุคคลที่เข้าลักษณะเป็นผู้จองซื้อพิเศษตามข้อ 25/2 (ข) ผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม หรือกลุ่มบุคคลเดียวกันกับบุคคลดังกล่าว (ค) ผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนดังต่อไปนี้ ซึ่งจะได้รับการจัดสรรหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทจดทะเบียนดังกล่าว 1. บริษัทจดทะเบียนที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม 2. บริษัทจดทะเบียนที่มีบริษัทย่อยเป็นผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุน” ข้อ 6 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 25/1 ข้อ 25/2 และข้อ 25/3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ข้อ 25/1 ในกรณีที่บริษัทจัดการประสงค์จะจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนตามข้อ 25 วรรคสอง (2) (ค) ให้บริษัทจัดการจัดสรรหน่วยลงทุนตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จํานวนหน่วยลงทุนที่จัดสรรแก่ผู้ถือหุ้นสามัญเมื่อรวมกันทั้งหมดต้องไม่เกินร้อยละห้าสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด หรือไม่เกินจํานวนหน่วยลงทุนที่จัดสรรแก่ผู้ลงทุนทั่วไป แล้วแต่จํานวนใดจะต่ํากว่า ทั้งนี้ การคํานวณจํานวนหน่วยลงทุนดังกล่าว ให้นับรวมจํานวนหน่วยลงทุนที่จัดสรรให้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ด้วย (ก) บริษัทจดทะเบียนที่เป็นผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม (ข) บริษัทจดทะเบียนที่มีบริษัทย่อยเป็นผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม (ค) บริษัทย่อยของบริษัทจดทะเบียน ซึ่งบริษัทย่อยดังกล่าวเป็นผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม (2) ผู้ถือหุ้นสามัญที่จะได้รับการจัดสรรต้องไม่เป็นกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องและญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว (3) ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นสามัญที่จะได้รับการจัดสรรเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ให้จัดสรรหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหุ้นได้ ไม่เกินร้อยละสิบของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทจดทะเบียน เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง (2) และ (3) ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นสามัญที่จะได้รับการจัดสรรเป็นผู้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการรับฝากทรัพย์สิน ซึ่งถือหุ้นในนามของตนเองเพื่อบุคคลอื่น ให้บริษัทจัดการพิจารณาตามการถือหุ้นของผู้ลงทุนที่ฝากทรัพย์สินแต่ละรายเป็นสําคัญ ข้อ 25/2 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อ 25 วรรคสอง (2) (ก) ให้บุคคลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ ซึ่งหนังสือชี้ชวนระบุวิธีการจัดสรรไว้แยกต่างหากจากผู้จองซื้อทั่วไป เข้าลักษณะเป็นผู้จองซื้อพิเศษ (1) ผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 9/2555 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 แต่ไม่รวมถึงผู้ลงทุนตามข้อ 2(10) (18) (22) (23) (24) (25) และ (26) แห่งประกาศดังกล่าว (2) กองทุนส่วนบุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์รับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนตาม (1) หรือ (3) ถึง (10) (3) ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือนิติบุคคลอื่นที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น (4) สภากาชาดไทย หรือมูลนิธิเพื่อสาธารณะประโยชน์ (5) สหกรณ์ออมทรัพย์ หรือชุมนุมสหกรณ์ (6) สถาบันการเงินระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นสมาชิก (7) โครงการจัดการลงทุน (collective investment scheme) ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป (8) ผู้ลงทุนต่างประเทศซึ่งมีลักษณะเดียวกับผู้ลงทุนดังต่อไปนี้ (ก) ผู้ลงทุนสถาบันตาม (1) แต่ไม่รวมถึงบริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ กองทุนรวม ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า และผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (ข) ผู้ลงทุนตาม (3) (ค) กองทุนส่วนบุคคลที่เป็นการรับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนตาม (ก) หรือ (ข) (9) นิติบุคคลซึ่งมีผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (8) ถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด (10) ผู้ลงทุนอื่นใดตามที่สํานักงานกําหนด ข้อ 25/3 ในกรณีที่บริษัทจัดการแบ่งแยกจํานวนหน่วยลงทุนที่จะเสนอขายให้แก่บุคคลตามข้อ 25 วรรคสอง (2) (ก) หรือ (ข) ออกจากหน่วยลงทุนที่จะเสนอขายต่อผู้ลงทุนทั่วไปไว้บริษัทจัดการต้องไม่จัดสรรหน่วยลงทุนในส่วนที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนทั่วไปให้แก่บุคคลตามข้อ 25 วรรคสอง (2) (ก) หรือ (ข) อีก เว้นแต่เป็นการจัดสรรหน่วยลงทุนที่เหลือจากการจองซื้อของผู้ลงทุนทั่วไปให้แก่บุคคลตามข้อ 25 วรรคสอง (2) (ก) และ (ข) ตามลําดับ” ข้อ 7 ให้ยกเลิกความในข้อ 47 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 47 กองทุนรวมอาจลงทุนในหรือมีไว้ซึ่งหุ้นของนิติบุคคลดังต่อไปนี้ได้ เฉพาะหุ้นที่ให้สิทธิพิเศษแก่ผู้ถือหุ้นในการอนุมัติการดําเนินงานบางประการ (golden share) ตามที่กําหนดไว้ในข้อบังคับของนิติบุคคลดังกล่าว และไม่เกินหนึ่งหุ้น (1) นิติบุคคลที่เป็นผู้เช่า ผู้รับสิทธิ หรือผู้รับจ้างในการนําทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมไปจัดหาผลประโยชน์ และนิติบุคคลดังกล่าวตกลงชําระค่าตอบแทนให้แก่กองทุนรวมในอัตราผันแปรตามผลประกอบการของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น (2) นิติบุคคลที่กองทุนรวมเข้าทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 1(3) (ค)” ข้อ 8 ให้ยกเลิกความในข้อ 61 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 61 การจ่ายเงินปันผล บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดที่มีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) บริษัทจัดการจะจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน เมื่อรวมแล้วในแต่ละรอบปีบัญชีไม่น้อยกว่าร้อยละเก้าสิบของกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วตามหลักเกณฑ์ในข้อ 61/1 ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นรอบบัญชีที่มีการจ่ายเงินปันผล หรือวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่ายเงินปันผลนั้น แล้วแต่กรณี (2) ในกรณีที่กองทุนรวมยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ บริษัทจัดการจะไม่จ่ายเงินปันผล” ข้อ 9 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 61/1 และ 61/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ข้อ 61/1 กําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วตามข้อ 61 ได้แก่กําไรสุทธิที่ทําการปรับปรุงด้วยรายการดังต่อไปนี้ (1) การหักกําไรที่ยังไม่เกิดขึ้น (unrealized gain) จากการประเมินราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวม รวมทั้งการปรับปรุงด้วยรายการอื่นตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด เพื่อให้สอดคล้องกับสถานะเงินสดของกองทุนรวม (2) การหักด้วยรายการเงินสํารองตามข้อ 61/2 ข้อ 61/2 บริษัทจัดการอาจกันเงินสํารองได้เฉพาะเพื่อการดังต่อไปนี้ (1) การซ่อมแซม บํารุงรักษา หรือปรับปรุงกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมตามแผนที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการของกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวน หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า (2) การจ่ายชําระหนี้เงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันของกองทุนรวมตามนโยบายการกู้ยืมเงินที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวน หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า ในกรณีที่กองทุนรวมมีค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด เช่น ค่าใช้จ่ายที่ทยอยตัดจ่าย หรือผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (unrealized loss) เป็นต้น ให้บริษัทจัดการกันสํารองตามวรรคหนึ่งได้ในจํานวนไม่เกินกว่าผลลัพธ์ของจํานวนเงินที่มีภาระตามวรรคหนึ่ง (1) และ (2) ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีหักด้วยค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด” ข้อ 10 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2556 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
624
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 22/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4 )
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 22/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4 ) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิก (7) ของข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ข้อ 2 ให้ยกเลิก (12) ของข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (16/1) ของข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 4/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 “(16/1) “บริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุน” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ที่สามารถจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนได้” ข้อ 4 ให้ยกเลิกความใน (7) ของข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(7) ในกรณีที่กองทุนรวมมีนโยบายที่จะกู้ยืมเงินจากบุคคลอื่น หรือก่อภาระผูกพันใด ๆแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวม ต้องมีข้อกําหนดที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (ก) กําหนดอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนไว้ไม่เกินกว่าสามเท่า เว้นแต่ในกรณีที่การเกินอัตราส่วนนั้นมิได้เกิดจากการกู้ยืมเงินหรือการก่อภาระผูกพัน (ข) กําหนดวิธีการคํานวณอัตราส่วนหนี้สินต่อทุนตาม (ก) ให้เป็นไปตาม ประกาศเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินในนามของกองทุนรวมและการก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ค) กําหนดให้การกู้ยืมเงินหรือการก่อภาระผูกพันในนามของกองทุนรวม เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินในนามของกองทุนรวมและการก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน” ข้อ 5 ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (2) ในข้อ 11 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ก) ลักษณะและเงื่อนไขในการจ่ายประโยชน์ตอบแทน หรือการคืนเงินทุนให้แก่ ผู้ถือหน่วยลงทุน” ข้อ 6 ให้ยกเลิกความใน (4) ของข้อ 14 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(4) ร่างหนังสือชี้ชวน ซึ่งจะยังไม่ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนก็ได้” ข้อ 7 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นส่วนที่ 4 การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม ข้อ 22/1 และข้อ 22/2 ของหมวด 1 ข้อกําหนดสําหรับการขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม ในภาค 1 การขออนุมัติและการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ส่วนที่ 4 การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 22/1 เมื่อบริษัทจัดการได้ยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานครบถ้วนตามข้อ 14 แล้ว ให้บริษัทจัดการเผยแพร่ข้อมูลที่มีสาระตรงตามโครงการจัดการกองทุนรวมและร่างหนังสือชี้ชวนที่แก้ไขเพิ่มเติมครั้งหลังสุดต่อผู้ลงทุนผ่านระบบการรับส่งข้อมูลตามที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ข้อ 22/2 การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนโดยการโฆษณา ต้องให้ข้อมูลที่ถูกต้องและไม่มีลักษณะที่ทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ทั้งนี้ ให้ปฏิบัติตามประกาศเกี่ยวกับ การโฆษณาเพื่อสนับสนุนการขายหน่วยลงทุนที่เกี่ยวข้องด้วย” ข้อ 8 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 25/4 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ข้อ 25/4 ในการจัดสรรหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่แบ่งชนิดหน่วยลงทุนตามข้อ 11(2) (ก) หากมีการกําหนดลําดับการได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละชนิดไว้แตกต่างกัน ให้บริษัทจัดการจัดสรรหน่วยลงทุนชนิดที่ให้สิทธิในการได้รับประโยชน์ตอบแทนในลําดับแรกตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จัดสรรให้แก่ผู้จองซื้อที่เป็นบุคคลธรรมดา หรือผู้จองซื้อพิเศษที่เป็นบุคคลตามข้อ 27 วรรคสอง (1) (2) (3) และ (4) เท่านั้น (2) ในกรณีที่มีหน่วยลงทุนเหลือจากการจองซื้อของผู้จองซื้อตาม (1) บริษัทจัดการจะจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้ออื่น ๆ ก็ได้ (3) ห้ามมิให้บริษัทจัดการจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อที่เป็นเจ้าหนี้ของผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม หรือกลุ่มบุคคลเดียวกันกับบุคคลดังกล่าว” ข้อ 9 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ 26 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ในกรณีที่กองทุนรวมมีผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวมหลายราย ให้พิจารณาอัตราการจัดสรรหน่วยลงทุนตามวรรคหนึ่ง (1) ของทุกรายรวมกัน” ข้อ 10 ให้ยกเลิกความในข้อ 30 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 30 ในการเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนที่มีข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง เพียงพอ และไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนต่อผู้ลงทุนที่สนใจจะลงทุนในหน่วยลงทุน โดยจะเสนอขายหน่วยลงทุนได้เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขใน (2) แล้ว (2) การเสนอขายหน่วยลงทุนให้กระทําได้ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ครบถ้วนดังนี้ (ก) พ้นสิบสี่วันนับแต่วันที่มีการเผยแพร่ข้อมูลตามส่วนที่ 4 ของหมวด 1 ในภาคนี้ ทั้งนี้ ข้อมูลที่เผยแพร่ดังกล่าวอาจยังไม่ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุน หรือข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลสําคัญซึ่งสํานักงานเห็นชอบให้แก้ไขเพิ่มเติมได้ก็ได้ (ข) บริษัทจัดการได้ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนไว้ในหนังสือชี้ชวนโดยครบถ้วน และได้แจ้งการดําเนินการดังกล่าวต่อสํานักงานแล้ว (3) ในกรณีที่บริษัทจัดการประสงค์จะตั้งบริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนเป็นผู้ทําหน้าที่ในการจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม บริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนดังกล่าวต้องไม่มีความสัมพันธ์กับผู้ที่จะจําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุนในลักษณะของการเป็นกลุ่มบุคคลเดียวกัน (4) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหน่วยลงทุนเป็นการทั่วไปต้องจัดให้มีการกระจายข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนต่อประชาชนอย่างแพร่หลายด้วย” ข้อ 11 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 35/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ข้อ 35/1 ในกรณีที่ปรากฏต่อสํานักงานว่าข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ที่สํานักงานนํามาพิจารณาเพื่ออนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมมีลักษณะดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจสั่งให้บริษัทจัดการแก้ไขหรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติม หรือระงับการเสนอขายหน่วยลงทุนภายในระยะเวลาที่กําหนด หรือเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมได้ (1) เป็นเท็จ (2) ขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งในสาระสําคัญอันอาจทําให้บุคคลผู้เข้าซื้อหน่วยลงทุนเสียหาย (3) คลาดเคลื่อนในสาระสําคัญหรือมีเหตุการณ์ที่มีผลให้ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ ดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปในสาระสําคัญอันอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจในการลงทุนของผู้เข้าซื้อหน่วยลงทุน (4) มีเหตุการณ์ที่มีผลให้ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากปรากฏต่อสํานักงานก่อนการอนุมัติ สํานักงานอาจไม่อนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมนั้น” ข้อ 12 ให้ยกเลิกข้อ 53 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ข้อ 13 ให้ยกเลิกความในข้อ 54 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 54 การลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ด้วย (1) กระทําโดยการลดมูลค่าหน่วยลงทุนหรือจํานวนหน่วยลงทุน เว้นแต่ในกรณีของกองทุนรวมที่มีการแบ่งหน่วยลงทุนออกเป็นหลายชนิด และจะมีการลดเงินทุนจดทะเบียนของหน่วยลงทุนแต่ละชนิดไม่พร้อมกันหรือไม่เท่ากัน ให้กระทําได้โดยการลดจํานวนหน่วยลงทุนเท่านั้น (2) เฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีชื่ออยู่ในสมุดทะเบียน ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน โดยไม่หักเงินที่เฉลี่ยคืนดังกล่าวจากกําไรสะสมของกองทุนรวม” ข้อ 14 ให้ยกเลิกความใน (3) ของข้อ 55 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(3) ข้อกําหนดเพิ่มเติมสําหรับการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมที่มีการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 59” ข้อ 15 ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (4) ในวรรคหนึ่งของข้อ 56 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ก) ผู้ถูกจํากัดสิทธิออกเสียงตามข้อ 63(3)” ข้อ 16 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 58 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “บริษัทจัดการอาจกําหนดว่า ในกรณีที่บริษัทจัดการพิจารณาแล้วมีความเชื่อโดยสุจริตและสมเหตุสมผลว่า การเปิดเผยข้อมูลบางรายการตามวรรคหนึ่งก่อนการเข้าทํารายการที่ได้รับมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน จะส่งผลกระทบต่อประโยชน์ของกองทุนรวมและผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวม บริษัทจัดการอาจไม่ระบุข้อมูลนั้น โดยจะแสดงเหตุผลในการไม่ระบุข้อมูลดังกล่าวไว้ในหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ เมื่อความจําเป็นในการไม่เปิดเผยข้อมูลนั้นหมดไป บริษัทจัดการจะเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อผู้ถือหน่วยลงทุนโดยไม่ชักช้า” ข้อ 17 ให้ยกเลิกความในข้อ 60 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 60 ในกรณีที่กองทุนรวมมีการแบ่งหน่วยลงทุนออกเป็นหลายชนิด บริษัทจัดการต้องจัดให้มีข้อกําหนดเพิ่มเติมในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการที่ให้ผลดังต่อไปนี้ด้วย (1) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุนทุกชนิด โดยแต่ละชนิด ได้รับผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุนไม่เท่ากัน ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนแต่ละชนิด (2) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนไม่ว่ากรณีใด ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนแต่ละชนิด (3) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุนชนิดใดชนิดหนึ่ง ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยลงทุนชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนชนิดนั้น การขอมติและการออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุนตามวรรคหนึ่ง ต้องกําหนดให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 55 ถึงข้อ 59 โดยอนุโลม” ข้อ 18 ให้เพิ่มข้อความต่อไปนี้เป็น (3) ในวรรคหนึ่งของข้อ 61/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 4/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 “(3) การจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนชนิดที่ให้สิทธิในการได้รับประโยชน์ ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนในลําดับแรก” ข้อ 19 ให้ยกเลิกความในข้อ 63 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 63 การจํากัดสิทธิในการรับเงินปันผล การจัดการกับเงินปันผล และการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุน ต้องมีข้อกําหนดในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) จํากัดสิทธิในการรับเงินปันผลของผู้ถือหน่วยลงทุน ในส่วนที่ถือเกินกว่าอัตรา ที่กําหนด ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 26 ข้อ 27 และข้อ 28 ทั้งนี้ จะกําหนดข้อยกเว้นสําหรับกรณีที่การถือหน่วยลงทุนเกินกว่าอัตราที่กําหนดดังกล่าวมิได้เกิดจากการได้หน่วยลงทุนมาเพิ่มเติมก็ได้ (2) กําหนดวิธีดําเนินการกับเงินปันผลในส่วนที่ไม่อาจจ่ายแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนเนื่องจากการถูกจํากัดสิทธิตาม (1) ในลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) บริษัทจัดการจะยกเงินปันผลส่วนดังกล่าวให้เป็นรายได้แผ่นดิน โดยถือว่าผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งปวงรับทราบและยินยอมให้ดําเนินการแล้ว และ (ข) ในระหว่างที่ยังมิได้ดําเนินการตาม (ก) บริษัทจัดการจะจัดทําบัญชีและแยกเงินปันผลส่วนดังกล่าวออกจากทรัพย์สินอื่นของกองทุนรวม โดยไม่นํามารวมคํานวณมูลค่าทรัพย์สินของกองทุนรวม (3) จํากัดสิทธิในการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุนดังต่อไปนี้ (ก) จะไม่นับคะแนนเสียงของผู้ถือหน่วยลงทุนในส่วนที่ถือเกินกว่าอัตราที่กําหนด ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 26 ข้อ 27 และข้อ 28 และในกรณีของกองทุนรวมที่มีการแบ่งชนิดหน่วยลงทุน ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงว่าหากเป็นการขอมติรายชนิดหน่วยลงทุน บริษัทจัดการจะไม่นับคะแนนเสียงของผู้ถือหน่วยลงทุนในส่วนที่ถือเกินกว่าหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยลงทุนชนิดนั้น เว้นแต่ผู้ถือหน่วยลงทุนนั้นเป็นบุคคลตามข้อ 27 วรรคสอง (1) ถึง (4) (ข) จะไม่นับคะแนนเสียงของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในเรื่องที่ขอมติ” ข้อ 20 ให้ยกเลิกความใน (1) และ (2) ของวรรคหนึ่งในข้อ 71 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) การขออนุมัติเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมต่อสํานักงาน ต้องแสดงได้ว่ากองทุนรวมมีลักษณะเป็นไปตามที่กําหนดในภาค 1 ของประกาศนี้ โดยบริษัทจัดการต้องยื่นคําขอเป็นหนังสือ พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอดังต่อไปนี้ (ก) รายละเอียดโครงการในส่วนที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม (ข) ร่างหนังสือชี้ชวนที่ใช้ในการเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติม ทั้งนี้ ร่างหนังสือชี้ชวนดังกล่าวจะยังไม่ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนก็ได้ ทั้งนี้ ในการอนุมัติเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ให้สํานักงานมีอํานาจสั่งการตามข้อ 35/1 โดยอนุโลม (2) การเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไปเพื่อเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ต้องดําเนินการตามหลักเกณฑ์ในข้อ 22/1 ข้อ 22/2 ข้อ 30 และข้อ 31 โดยอนุโลม” ข้อ 21 ให้ยกเลิกความในข้อ 82 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 82 บริษัทจัดการต้องแต่งตั้งบุคคลซึ่งเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และความเข้าใจในธุรกิจจัดการกองทุนและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งต้องได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน เพื่อทําหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) ผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อทําหน้าที่ตัดสินใจลงทุนหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (2) ผู้จัดการกองทุน เพื่อทําหน้าที่ตัดสินใจลงทุนหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินอื่นที่มิใช่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานตามวรรคหนึ่ง (1) และผู้จัดการกองทุนตามวรรคหนึ่ง (2) อาจเป็นบุคคลเดียวกันก็ได้” ข้อ 22 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 82/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ข้อ 82/1 ในการแต่งตั้งผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน บริษัทจัดการต้องพิจารณาให้บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) ไม่เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานของบริษัทอื่นที่ดําเนินการในลักษณะที่คล้ายคลึงหรือแข่งขันกับการดําเนินการของบริษัทจัดการ เว้นแต่บริษัทจัดการแสดงได้ว่ามีการจัดโครงสร้างขององค์กรที่ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีมาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์นั้นได้ (2) ในกรณีที่แต่งตั้งพนักงานของบริษัทจัดการเป็นผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน บุคคลดังกล่าวต้องดํารงตําแหน่งที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (ก) ตําแหน่งที่ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับการจัดการลงทุน (ข) ตําแหน่งกรรมการ ผู้จัดการของบริษัทจัดการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งดูแลรับผิดชอบสูงสุดในสายงานที่เกี่ยวกับการลงทุน” ข้อ 23 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2557 (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
625
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 13/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 13/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 5) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (4) ของข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 40/2555 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(4) “กิจการโครงสร้างพื้นฐาน” หมายความว่า กิจการดังต่อไปนี้ (ก) ระบบขนส่งทางราง หรือทางท่อ (ข) ไฟฟ้า (ค) ประปา (ง) ถนน ทางพิเศษ หรือทางสัมปทาน (จ) ท่าอากาศยานหรือสนามบิน (ฉ) ท่าเรือน้ําลึก (ช) โทรคมนาคม หรือโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ซ) พลังงานทางเลือก (ฌ) ระบบบริหารจัดการน้ํา หรือการชลประทาน (ญ) ระบบป้องกันภัยธรรมชาติ ซึ่งรวมถึงระบบเตือนภัยและระบบจัดการ เพื่อลดความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นด้วย (ฎ) ระบบจัดการของเสีย (ฏ) กิจการที่มีลักษณะเป็นกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (ก) ถึง (ฎ) หลายกิจการ (multi-infrastructure) ประกอบกัน โดยกิจการที่ประกอบกันเหล่านั้นเข้าลักษณะที่ครบถ้วนดังนี้ 1. มีความเชื่อมโยง ส่งเสริม หรือก่อให้เกิดประโยชน์ซึ่งกันและกัน หรือต่อชุมชนเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน 2. ก่อให้เกิดหรือจะก่อให้เกิดรายได้เป็นมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบของรายได้รวมของกิจการทั้งหมดที่ประกอบกันนั้น” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความใน (3) ของข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 40/2555 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(3) มีเงินทุนโครงการไม่ต่ํากว่าสองพันล้านบาท และมีนโยบายที่จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งพันห้าร้อยล้านบาท โดยในกรณีที่มี นโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกิจการโครงสร้างพื้นฐานหลายโครงการ มูลค่าการลงทุนในแต่ละโครงการต้องไม่น้อยกว่าหนึ่งพันล้านบาท เว้นแต่เป็นกรณีดังนี้ (ก) การลงทุนในกิจการไฟฟ้า ต้องมีมูลค่าการลงทุนในแต่ละโครงการ ไม่น้อยกว่าห้าร้อยล้านบาท (ข) การลงทุนในกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 1(4) (ฏ) ต้องมีมูลค่า การลงทุนในแต่ละกิจการที่ประกอบกันนั้น ไม่น้อยกว่าห้าร้อยล้านบาท” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน (5) ของข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 40/2555 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(5) มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก ซึ่งกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนในวงกว้างของประเทศไทย กิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนในวงกว้างของประเทศไทยตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึงกิจการที่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (ก) กิจการที่จําหน่ายสินค้าหรือให้บริการแก่ประชาชนในวงกว้าง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมผ่านผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานอื่น (ข) กิจการโครงสร้างพื้นฐานที่การดําเนินการเป็นผลทําให้ประชาชนในวงกว้างได้รับประโยชน์ทางอ้อมในด้านสุขอนามัย ด้านสิ่งแวดล้อมที่ดี และด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (ค) กิจการที่จําหน่ายสินค้าหรือให้บริการทั้งหมดแก่ภาครัฐ (ง) กิจการที่จําหน่ายสินค้าหรือให้บริการไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนแก่ ภาคธุรกิจเอกชนในวงกว้าง ซึ่งการจําหน่ายหรือให้บริการนั้นไม่มีลักษณะเป็นการจํากัดเฉพาะแก่ภาคธุรกิจเอกชนรายใดรายหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ทั้งนี้ ในขณะที่ยื่นคําขอ ต้องไม่ปรากฏว่าภาคธุรกิจเอกชนรายใดรายหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งซื้อสินค้าหรือใช้บริการเกินกว่าหนึ่งในสามของกําลังการผลิตหรือการให้บริการสูงสุดของกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น เว้นแต่จะแสดงได้ว่าการเกินอัตราส่วนดังกล่าวเป็นไปตามลักษณะของอุตสาหกรรมกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นเอง ที่ผู้ซื้อสินค้าหรือใช้บริการมีจํานวนน้อยราย และไม่มีการกีดกันบุคคลอื่นที่จะเข้าซื้อสินค้าหรือ ใช้บริการของกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น ให้ถือว่าบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันในลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นกลุ่มเดียวกัน กับภาคธุรกิจเอกชนตามวรรคหนึ่ง 1. บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์ในลักษณะเป็นผู้ถือหุ้นหรือหุ้นส่วนของภาคธุรกิจเอกชนดังกล่าว ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละสามสิบของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดหรือความเป็นหุ้นส่วนทั้งหมดของภาคธุรกิจเอกชนนั้น 2. นิติบุคคลที่มีบุคคลตาม 1. เป็นบุคคลเดียวกัน 3. คู่สมรสหรือบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลตาม 1.” ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
626
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 38/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 6)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 38/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 6) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (5) ในข้อ 14 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 22/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2557 “(5) เอกสารหลักฐานอื่นตามที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน” ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ 16 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 16 ให้ผู้ขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมชําระค่าธรรมเนียมคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมต่อสํานักงานเมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ทั้งนี้ อัตราค่าธรรมเนียมให้เป็นไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนด ข้อ ๓ ให้ยกเลิกข้อ 17 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ 18 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 18 ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมภายในหนึ่งร้อยหกสิบห้าวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ในกรณีที่ผู้ขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ ให้ผู้ขออนุมัติยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงานภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม โดยปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน เว้นแต่สํานักงานยอมรับคําขอผ่อนผันเมื่อพ้นระยะเวลาดังกล่าวในกรณีมีเหตุจําเป็นและสมควร ทั้งนี้ สํานักงานจะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาอนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม” ข้อ ๕ ให้ยกเลิกข้อ 22 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ข้อ ๖ ให้ยกเลิกความใน (1) ของวรรคหนึ่งในข้อ 71 แห่งประกาศคณะกรรมกากํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการ กํากับตลาดทุน ที่ ทน. 22/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) การขออนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมต่อสํานักงาน ต้องแสดงได้ว่ากองทุนรวมมีลักษณะเป็นไปตามที่กําหนดในภาค 1 ของประกาศนี้ โดยบริษัทจัดการต้องยื่นคําขอเป็นหนังสือ พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอดังต่อไปนี้ (ก) รายละเอียดโครงการในส่วนที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม (ข) ร่างหนังสือชี้ชวนที่ใช้ในการเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติม ทั้งนี้ ร่างหนังสือชี้ชวนดังกล่าวจะยังไม่ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนก็ได้ (ค) เอกสารหลักฐานอื่นตามที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน สํานักงานจะแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุมัติเพิ่มทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมภายในหนึ่งร้อยหกสิบห้าวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ทั้งนี้ ในการอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ให้สํานักงานมีอํานาจสั่งการตามข้อ 35/1 โดยอนุโลม” ข้อ ๗ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
627
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 60/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 7)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 60/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 7) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของ (5) ในข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม โครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 13/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม โครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(5) มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก ซึ่งกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนในวงกว้างของประเทศไทย ทั้งนี้ ต้องไม่ปรากฏว่าจะมีการเข้าทําสัญญาการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานกับบุคคลที่มีลักษณะตามข้อ 11/1” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 11/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ข้อ 11/1 กองทุนรวมต้องไม่เข้าทําสัญญาการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้าง พื้นฐานกับบุคคลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ หากบุคคลนั้นเองหรือบุคคลอื่นที่บุคคลดังกล่าวควบคุมได้ จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทุนรวม เว้นแต่บุคคลดังกล่าวเป็นบริษัทที่มีหุ้นเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ให้พิจารณาการมีลักษณะตามที่กําหนดใน (1) (ก) เท่านั้น (1) ภายในระยะเวลาห้าปีก่อนวันยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม บุคคลดังกล่าวต้องไม่มีลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) เคยมีประวัติฝ่าฝืนหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ในเรื่องที่มีนัยสําคัญ (ข) เคยถูกสํานักงานปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่เนื่องจากมีเหตุที่มีนัยสําคัญอันควรสงสัยเกี่ยวกับกลไกการบริหารจัดการในลักษณะดังต่อไปนี้ 1. อาจไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นได้อย่างเป็นธรรมโดยอาจมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งซึ่งจะทําให้ได้เปรียบผู้ถือหุ้นรายอื่นหรือได้ประโยชน์มากกว่าผู้ถือหุ้นรายอื่นโดยไม่สมควร 2. อาจไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นได้โดยทําให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งได้รับประโยชน์ทางการเงินนอกเหนือจากที่พึงได้ตามปกติ หรือโดยทําให้บริษัทเสียประโยชน์ที่พึงได้รับ (ค) เคยถูกสํานักงานปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่เนื่องจากมีเหตุที่ทําให้สงสัยเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนที่ไม่ครบถ้วน ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน หรือทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ซึ่งมีลักษณะเป็นการปกปิดหรืออําพราง หรือสร้างข้อมูลที่อาจไม่มีอยู่จริงในรายการหรือการดําเนินการที่มีนัยสําคัญ (ง) เคยถอนคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่โดยไม่มีการชี้แจงเหตุสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) ต่อสํานักงาน หรือโดยมีการชี้แจงแต่ไม่ได้แสดงข้อเท็จจริงหรือเหตุผลอย่างสมเหตุสมผลที่จะหักล้างข้อสงสัยในเหตุตาม (ข) หรือ (ค) นั้น (2) ภายในระยะเวลาสิบปีก่อนวันยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม บุคคลดังกล่าวเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจาก การดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (3) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษหรือถูกดําเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินงานที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมาย ต่างประเทศ (4) เป็นบุคคลที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นการจัดรูปแบบเพื่อให้บุคคลที่มีลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3) หลีกเลี่ยงมิให้สํานักงานใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาตาม (1) (2) หรือ (3) กับบุคคลที่มีลักษณะดังกล่าวนั้น หากบริษัทจัดการสามารถแสดงให้สํานักงานเห็นได้ว่า บุคคลที่มีลักษณะตามวรรคหนึ่ง (1) หรือ (2) ได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเหตุ ระบบงาน ระบบการบริหารจัดการ และการควบคุม การดําเนินงานที่ทําให้บุคคลดังกล่าวมีลักษณะตามวรรคหนึ่ง (1) หรือ (2) แล้ว มิให้นําความในวรรคหนึ่ง (1) และ (2) แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับกับบุคคลนั้นอีก” ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
628
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 8)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 8) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (จ) ของ (3) ในข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(จ) หุ้นที่ออกโดยบริษัทที่มีลักษณะที่ครบถ้วนดังนี้ 1. มีการลงทุนในทรัพย์สินตาม (ก) (ข) (ค) หรือ (ง) รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของบริษัทดังกล่าว หรือมีรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินตาม (ก) (ข) (ค) หรือ (ง) ไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของรายได้รวมในแต่ละปีบัญชี และ 2. มีกองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นเกินกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทนั้นและเกินกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (ฉ) ของ (3) ในข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 13/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “(ฉ) ตราสารแห่งหนี้ที่ออกโดยบริษัทตาม (จ) หรือสัญญาที่มีลักษณะเป็นการให้กู้ยืมเงิน แก่บริษัทตาม (จ) ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่กองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทดังกล่าวแล้ว” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน (7) ของข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 22/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(7) ในกรณีที่กองทุนรวมมีนโยบายที่จะกู้ยืมเงินจากบุคคลอื่น หรือก่อภาระผูกพันใด ๆ แก่ทรัพย์สินของกองทุนรวม ต้องมีข้อกําหนดที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) หลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการกู้ยืมเงินในนามของกองทุนรวมและการก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ข) ในกรณีที่กองทุนรวมมีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้นตามข้อ 1(3) (จ) เอกสารของกองทุนรวมต้องมีข้อกําหนดที่แสดงถึงกลไกในการกํากับดูแลที่จะเป็นผลให้การกู้ยืมเงินหรือการก่อภาระผูกพันใด ๆ ของบริษัทดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับกองทุนรวม เว้นแต่ในกรณีของหลักเกณฑ์เกี่ยวกับอัตราส่วนการกู้ยืมเงิน จะพิจารณาเฉพาะในชั้นของกองทุนรวมก็ได้” ข้อ 4 ให้ยกเลิกความในข้อ 12 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการตลาดทุน ที่ ทน. 4/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 12 ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะได้มาต้องผ่านการประเมินค่าที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นทรัพย์สินตามข้อ 1(3) (ก) (ข) (ค) หรือ (ง) (ก) ผู้ประเมินค่าต้องเป็นนิติบุคคลที่มีประสบการณ์หรือความรู้ความเชี่ยวชาญในการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ข) เป็นการประเมินค่าอย่างเต็มรูปแบบที่มีการตรวจสอบเอกสารสิทธิและเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (ค) การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. ดําเนินการล่วงหน้าก่อนการได้มาซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวเป็นเวลาไม่เกินหนึ่งปี 2. กรณีทรัพย์สินมีมูลค่าตั้งแต่ห้าสิบล้านบาทขึ้นไป ต้องผ่านการประเมินค่าโดยผู้ประเมินค่าอย่างน้อยหนึ่งราย 3. ในกรณีที่การได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นการทําธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ต้องผ่านการประเมินค่าโดยผู้ประเมินค่าอย่างน้อยสองราย (2) กรณีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นหุ้นที่ออกโดยบริษัทตามข้อ 1(3) (จ) ให้ประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งในชั้นของกองทุนรวมและในชั้นของบริษัทที่ออกหุ้นดังกล่าวดังนี้ (ก) การประเมินค่าในชั้นของกองทุนรวม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ใน (1) โดยให้คํานึงภาระภาษีของบริษัท และปัจจัยอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนโดยทางอ้อมด้วย (ข) การประเมินค่าในชั้นของบริษัท ให้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่บริษัทดังกล่าวได้ลงทุนไว้ตามหลักเกณฑ์ใน (1) (3) กรณีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นตราสารแห่งหนี้หรือสัญญาตามข้อ 1(3) (ฉ) หรือในกรณีที่บริษัทตามข้อ 1(3) (จ) มีการลงทุนในทรัพย์สินอื่นด้วย ให้ประเมินค่าทรัพย์สินดังกล่าวตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) ใช้มูลค่ายุติธรรมตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกําหนดมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนที่ออกโดยสมาคมโดยอนุโลม (ข) ในกรณีหลักเกณฑ์ตาม (ก) ไม่รองรับการกําหนดมูลค่ายุติธรรมของทรัพย์สินใด ให้ใช้มูลค่าที่เป็นไปตามหลักวิชาการอันเป็นที่ยอมรับหรือมาตรฐานสากล” ข้อ 5 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (2/1) ในข้อ 41 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “(2/1) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินในนามของกองทุนรวมและการก่อภาระผูกพันใด ๆแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวม (ถ้ามี) ซึ่งเป็นไปตามข้อ 43/1” ข้อ 6 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 43/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ข้อ 43/1 ในกรณีที่ประสงค์จะให้กองทุนรวมสามารถกู้ยืมเงินและก่อภาระผูกพันใด ๆ แก่ทรัพย์สินของกองทุนรวมได้ ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมผ่านบริษัทที่กองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้น บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในเรื่องดังกล่าว ที่กําหนดไว้ในหมวด 1 ของภาค 1” ข้อ 7 ให้ยกเลิกความในข้อ 44 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 44 การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานและทรัพย์สินอื่น บริษัทจัดการต้องจัดให้โครงการจัดการกองทุนรวมมีข้อกําหนดที่มีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 12 และหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังนี้ (ก) การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 1(3) (ก) (ข) (ค) และ (ง) ของกองทุนรวมจะกระทําทุกสามปีนับแต่วันที่มีการประเมินค่าครั้งล่าสุด (ข) การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน จะกระทําโดยผู้ประเมินค่า รายเดียวกันติดต่อกันเกินสองครั้งมิได้ (ค) ในกรณีที่ปรากฏแก่บริษัทจัดการว่ามีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันอาจมีผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอย่างมีนัยสําคัญ หรือกรณีที่ได้รับการร้องขอจากผู้ดูแลผลประโยชน์หรือผู้สอบบัญชีของกองทุนรวม บริษัทจัดการจะจัดให้มีการประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานโดยไม่ชักช้า (2) การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้นที่ออกโดยบริษัทตามข้อ 1(3) (จ) ให้ประเมินค่าทั้งในชั้นของกองทุนรวมและในชั้นของบริษัทที่ออกหุ้นดังกล่าวดังนี้ (ก) การประเมินค่าในชั้นของกองทุนรวม ให้คํานึงถึงภาระภาษีของบริษัทและปัจจัยอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนโดยทางอ้อมด้วย (ข) การประเมินค่าในชั้นของบริษัท ให้ประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่บริษัทดังกล่าวได้ลงทุนไว้ตามหลักเกณฑ์ใน (1) (3) การประเมินค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นตราสารแห่งหนี้หรือสัญญาตามข้อ 1(3) (ฉ) และทรัพย์สินอื่นที่กองทุนรวมหรือบริษัทตามข้อ 1(3) (จ) ลงทุน ให้ประเมินค่าตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) ใช้มูลค่ายุติธรรมตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกําหนดมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนที่ออกโดยสมาคมโดยอนุโลม (ข) ในกรณีหลักเกณฑ์ตาม (ก) ไม่รองรับการกําหนดมูลค่ายุติธรรมของทรัพย์สินใด ให้ใช้มูลค่าที่เป็นไปตามหลักวิชาการอันเป็นที่ยอมรับหรือมาตรฐานสากล” ข้อ 8 ให้ยกเลิกความใน (3) ของวรรคหนึ่งในข้อ 70 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 40/2555 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(3) การดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ของตนเพื่อให้การกู้ยืมเงินและการก่อภาระผูกพัน ของบริษัทดังกล่าว (ถ้ามี) เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับกองทุนรวม เว้นแต่ในกรณีของหลักเกณฑ์เกี่ยวกับอัตราส่วนการกู้ยืมเงิน จะพิจารณาเฉพาะในชั้นของกองทุนรวมก็ได้” ข้อ 9 ให้ยกเลิกความในข้อ 78 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 78 ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนหรือมีไว้ซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้นตามข้อ 1(3) (จ) ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้เป็นการเพิ่มเติม (1) ดําเนินการให้งบการเงินของบริษัทตามข้อ 1(3) (จ) จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่สภาวิชาชีพบัญชีกําหนด และตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดทํางบการเงินของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ที่ออกตามมาตรา 56 โดยอนุโลม (2) จัดทําและนําส่งงบการเงินรวมของกองทุนรวม และงบการเงินของบริษัทตามข้อ 1(3) (จ) พร้อมกับงบการเงินตามข้อ 76 ทั้งนี้ งบการเงินรวมของกองทุนรวมต้องจัดทําขึ้นตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 77 ด้วย” ข้อ 10 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
629
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 38/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 38/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (ค) ใน (3) ของข้อ 17 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 38/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 “(ค) หน้าที่ในการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ดังนี้ 1. ดําเนินการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่กองทุนรวมเข้าครอบครองและดําเนินการให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินนั้นในครั้งต่อ ๆ ไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ การตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอาจดําเนินการด้วยวิธีการหรือกลไกที่น่าเชื่อถือตามที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมและบริษัทจัดการตกลงกันได้ 2. บันทึกสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ได้ตรวจตราให้ถูกต้องและครบถ้วนตามความเป็นจริงให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่เริ่มดําเนินการตรวจตราทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น 3. แจ้งให้บริษัทจัดการทราบภายใน 5 วันทําการนับแต่วันที่ผู้ดูแลผลประโยชน์พบว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานชํารุดบกพร่องอย่างมีนัยสําคัญ” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 72/1 ในส่วนที่ 2 การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ของหมวด 3 การจัดการลงทุน แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 38/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 “ข้อ 72/1 ให้บริษัทจัดการจัดให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่กองทุนรวมเข้าครอบครองและดําเนินการให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินนั้นในครั้งต่อ ๆ ไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ การตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอาจดําเนินการด้วยวิธีการหรือกลไกที่น่าเชื่อถือตามที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมและบริษัทจัดการตกลงกันได้ (2) จัดให้มีการบันทึกสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอย่างถูกต้องและครบถ้วนให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่เริ่มตรวจตรา (3) ส่งสําเนาบันทึกตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้ดูแลผลประโยชน์ภายใน 5 วันทําการนับแต่วันทําบันทึกแล้วเสร็จ (4) หากบริษัทจัดการตรวจพบหรือได้รับแจ้งจากผู้ดูแลผลประโยชน์ว่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานชํารุดบกพร่องอย่างมีนัยสําคัญ ให้บริษัทจัดการดําเนินการให้มีการซ่อมแซมทรัพย์สินนั้นให้อยู่ในสภาพที่จะใช้หาผลประโยชน์ได้โดยเร็ว” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 100 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 38/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 100 บริษัทจัดการต้องจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วในแต่ละรอบปีบัญชี ทั้งนี้ ภายใน 90 วันนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชี หรือวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่ายเงินปันผลนั้น แล้วแต่กรณี กําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วตามวรรคหนึ่ง ให้หมายถึงกําไรสุทธิที่หักด้วยรายการเงินสํารองเฉพาะเพื่อการดังนี้ (ก) การซ่อมแซม บํารุงรักษา หรือปรับปรุงกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมตามแผนที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวน แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี รายงานประจําปี หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า (ข) การชําระหนี้เงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันของกองทุนรวมตามนโยบายการกู้ยืมเงินที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวน แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี รายงานประจําปี หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า (ค) การจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนชนิดที่ให้สิทธิในการได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนในลําดับแรก (ถ้ามี) (2) ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการจะต้องพิจารณาถึงความจําเป็นในการดํารงเงินสดของกองทุนรวมให้เหมาะสม ทั้งนี้ ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด (3) บริษัทจัดการต้องไม่กู้ยืมเงินเพื่อจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน (4) ในกรณีที่กองทุนรวมยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ ห้ามมิให้บริษัทจัดการจ่ายเงินปันผล ในกรณีที่บริษัทจัดการไม่สามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง (1) ผู้ดูแลผลประโยชน์และบริษัทจัดการต้องชี้แจงเหตุผลความจําเป็นต่อสํานักงาน ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด และเปิดเผยให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบในการประชุมสามัญประจําปี” ข้อ 4 ให้ยกเลิกข้อ 101 และข้อ 102 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 38/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 ข้อ 5 ในกรณีที่สัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ใดมีข้อกําหนดเกี่ยวกับหน้าที่ของผู้ดูแลผลประโยชน์ที่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดในประกาศนี้ ให้บริษัทจัดการดําเนินการให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดในประกาศนี้ภายในโอกาสแรก ที่กระทําได้ ข้อ 6 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
630
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 23/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 9)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 23/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 9) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (17/1) ในข้อ 1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 8) ลงวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2559 “(17/1) “ผู้สอบบัญชี” หมายความว่า ผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 25/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 4/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) ผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 แต่ไม่รวมถึงผู้ลงทุนตามข้อ 4(10) (18) (22) (23) (24) และ (25)” ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (7/1) ในข้อ 41 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 8) ลงวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2559 “(7/1) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 60/1” ข้อ 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ 41 ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 8) ลงวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2559 “ความในวรรคหนึ่ง (7/1) มิให้นํามาใช้บังคับกับกองทุนรวมที่มีผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมดเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่” ข้อ 5 ให้ยกเลิกความในข้อ 56 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 22/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 56 การขอมติและการออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) บริษัทจัดการอาจขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่งดังนี้ (ก) การส่งหนังสือขอมติไปยังผู้ถือหน่วยลงทุน (ข) การประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 60/1 (2) การขอมติและมติของผู้ถือหน่วยลงทุนในการแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวม ให้เป็นไปตามมาตรา 129 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (3) การขอมติและมติของผู้ถือหน่วยลงทุนในกรณีอื่นนอกจาก (2) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) การออกเสียงลงคะแนน ให้ผู้ถือหน่วยลงทุนมีคะแนนเสียงเท่าจํานวนหน่วยลงทุนที่ถือ โดยให้หนึ่งหน่วยลงทุนมีหนึ่งเสียง ทั้งนี้ ผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนต้องไม่เป็นบุคคลตามข้อ 63(3) (ข) การขอมติโดยการส่งหนังสือไปยังผู้ถือหน่วยลงทุน ให้ถือมติตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีสิทธิออกเสียง (ค) การขอมติโดยการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน ให้ถือมติตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง เว้นแต่การขอมติในเรื่องดังนี้ ให้ถือมติตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 1. การได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน 2. การทําธุรกรรมระหว่างกองทุนรวมกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง 3. การเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนหรือการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม 4. การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน 5. การตกลง ยินยอม หรือใช้สิทธิออกเสียง ในกรณีที่บริษัทที่กองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นตามข้อ 1(3) (จ) จะดําเนินการตาม 1. 2. 3. หรือ 4. มติของผู้ถือหน่วยลงทุนตามวรรคหนึ่ง (3) มิให้นํามาใช้บังคับกับกรณีที่มีหลักเกณฑ์กําหนดไว้เป็นการเฉพาะในประกาศอื่น โดยให้บริษัทจัดการจัดให้ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการมีข้อกําหนดที่เป็นไปตามประกาศดังกล่าวด้วย” ข้อ 6 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 60 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 22/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “การขอมติและการออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุนตามวรรคหนึ่ง ต้องกําหนดให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 55 ข้อ 56 ข้อ 57 ข้อ 58 ข้อ 59 และข้อ 60/1 โดยอนุโลม” ข้อ 7 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 60/1 ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 “ข้อ 60/1 การประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการต้องจัดให้ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการมีข้อกําหนดตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) บริษัทจัดการจะจัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนดังนี้ (ก) การประชุมสามัญประจําปี ซึ่งจะจัดให้มีขึ้นภายในสี่เดือนนับแต่วันสิ้นสุดของรอบปีบัญชีของกองทุนรวม เพื่อรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนรับทราบในเรื่องดังนี้เป็นอย่างน้อย 1. การจัดการกองทุนรวมในเรื่องที่สําคัญ และแนวทางการจัดการกองทุนรวมในอนาคต 2. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกองทุนรวมในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา โดยอย่างน้อยต้องมีการนําเสนองบการเงินที่ผ่านการตรวจสอบและแสดงความเห็นจากผู้สอบบัญชีแล้ว 3. การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของกองทุนรวม และค่าใช้จ่ายในการสอบบัญชี (ข) การประชุมวิสามัญในกรณีใดกรณีหนึ่งดังนี้ 1. เมื่อบริษัทจัดการเห็นสมควรให้มีการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อประโยชน์ในการจัดการกองทุนรวม 2. เมื่อผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งถือหน่วยลงทุนรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม เข้าชื่อกันทําหนังสือขอให้บริษัทจัดการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน โดยระบุเหตุผลในการขอให้เรียกประชุมไว้อย่างชัดเจน การประชุมวิสามัญตามวรรคหนึ่ง 2. ต้องมีข้อกําหนดให้บริษัทจัดการจัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือของผู้ถือหน่วยลงทุน (2) การเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการจะดําเนินการตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) จัดทําหนังสือนัดประชุมที่มีรายละเอียดเพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้ถือหน่วยลงทุน โดยอย่างน้อยต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการประชุมและการออกเสียงลงมติ ตลอดจนระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่จะเสนอต่อที่ประชุมพร้อมด้วยรายละเอียดตามสมควร โดยระบุให้ชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่จะเสนอเพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งความเห็นของบริษัทจัดการและผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุน ให้รวมถึงความเห็นเกี่ยวกับผลกระทบที่ผู้ถือหน่วยลงทุนอาจได้รับจากการลงมติในเรื่องนั้น ๆ ด้วย (ข) จัดส่งหนังสือนัดประชุมถึงผู้ถือหน่วยลงทุนล่วงหน้าก่อนวันประชุมตามระยะเวลาดังนี้ 1. สิบสี่วัน ในกรณีที่เป็นการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่มีหน่วยลงทุนเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งมีวาระที่ต้องได้มติผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 2. เจ็ดวัน ในกรณีอื่นนอกจาก 1. (ค) ประกาศการนัดประชุมในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่นอย่างน้อยหนึ่งฉบับไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันประชุม (3) องค์ประชุม ซึ่งต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) องค์ประชุม ต้องประกอบด้วยผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่ายี่สิบห้าคนหรือไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมด และต้องมีหน่วยลงทุนนับรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม (ข) ในกรณีที่ปรากฏว่าการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนครั้งใด เมื่อล่วงเวลานัดไปแล้วถึงหนึ่งชั่วโมงจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งมาเข้าร่วมประชุมไม่ครบเป็นองค์ประชุมตามที่กําหนดไว้ใน (ก) หากว่าการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนนั้นได้เรียกนัดเพราะผู้ถือหน่วยลงทุนร้องขอตาม (1) (ข) 2. การประชุมนั้นเป็นอันระงับไป หากการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนนั้นมิใช่เป็นการเรียกประชุมเพราะผู้ถือหน่วยลงทุนร้องขอตาม (1) (ข) 2. ให้นัดประชุมใหม่ และให้ส่งหนังสือนัดประชุมไปยังผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันประชุม โดยในการประชุมครั้งหลังนี้ไม่บังคับว่าจะต้องครบองค์ประชุม (4) การดําเนินการประชุม ซึ่งต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) การดําเนินการประชุม ให้เป็นไปตามลําดับระเบียบวาระที่กําหนดไว้ในหนังสือนัดประชุม เว้นแต่ที่ประชุมจะมีมติให้เปลี่ยนลําดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งมาประชุม (ข) เมื่อที่ประชุมพิจารณาเสร็จตาม (ก) แล้ว ผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งมีหน่วยลงทุนนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้ทั้งหมด จะขอให้ที่ประชุมพิจารณาเรื่องอื่นนอกจากที่กําหนดไว้ในหนังสือนัดประชุมอีกก็ได้ (ค) ในกรณีที่ที่ประชุมพิจารณาเรื่องตามลําดับระเบียบวาระไม่เสร็จตาม (ก) หรือพิจารณาเรื่องที่ผู้ถือหน่วยลงทุนเสนอไม่เสร็จตาม (ข) แล้วแต่กรณี และจําเป็นต้องเลื่อนการพิจารณา ให้ที่ประชุมกําหนดสถานที่ วัน และเวลาที่จะประชุมครั้งต่อไป และให้บริษัทจัดการส่งหนังสือนัดประชุมระบุสถานที่ วัน เวลา และระเบียบวาระการประชุมไปยังผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันประชุม ทั้งนี้ ให้โฆษณาคําบอกกล่าวนัดประชุมในหนังสือพิมพ์ไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันประชุมด้วย การจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนตามวรรคหนึ่ง ให้บริษัทจัดการจัดให้ผู้ดูแลผลประโยชน์เข้าร่วมการประชุมดังกล่าวด้วย โดยให้จัดส่งหนังสือนัดประชุมตามวรรคหนึ่ง (2) (ก) ไปยังผู้ดูแลผลประโยชน์พร้อมกับการจัดส่งไปยังผู้ถือหน่วยลงทุน ความในวรรคหนึ่งและวรรคสองมิให้ใช้บังคับกับกรณีที่มีหลักเกณฑ์กําหนดไว้เป็นการเฉพาะในประกาศอื่น” ข้อ 8 ให้ยกเลิกความในข้อ 73 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 73 ในการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุน ให้บริษัทจัดการแสดงข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้ถือหน่วยลงทุนตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีเป็นการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 60/1(2) (2) กรณีอื่นนอกจาก (1) ให้บริษัทจัดการแสดงข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจของผู้ถือหน่วยลงทุนอย่างเพียงพอ ซึ่งรวมถึงความเห็นของบริษัทจัดการและผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมในเรื่องที่ขอมติ และผลกระทบที่ผู้ถือหน่วยลงทุนอาจได้รับจากการลงมติในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ ให้บริษัทจัดการแสดงข้อมูลดังกล่าวไว้ในหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ” ข้อ 9 ให้ยกเลิกหมวด 4 การเปิดเผยข้อมูลและการจัดทํารายงานของกองทุนรวม ในภาค 3 หลักเกณฑ์การบริหารและจัดการกองทุนรวม ข้อ 74 ข้อ 75 ข้อ 76 ข้อ 77 ข้อ 78 ข้อ 79 ข้อ 80 และข้อ 81 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ข้อ 10 ให้ยกเลิกความในหมวด 6 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกองทุนรวม ในภาค 3 หลักเกณฑ์การบริหารและจัดการกองทุนรวม ข้อ 86 และข้อ 87 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “หมวด 6 การเปิดเผยข้อมูลเหตุการณ์สําคัญของกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 86 ให้บริษัทจัดการรายงานพร้อมด้วยเหตุผลต่อสํานักงานเมื่อมีเหตุการณ์ใด ๆ เกิดขึ้น อันมีหรือจะมีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุน หรือต่อการตัดสินใจลงทุน หรือต่อการเปลี่ยนแปลงในราคาของหน่วยลงทุน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่สํานักงานประกาศกําหนด ข้อ 87 ภายใต้บังคับของข้อ 86 เมื่อมีเหตุที่ทําให้หรืออาจทําให้ต้องเลิกกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการเปิดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่เป็นการเลิกกองทุนรวมเพราะเหตุครบกําหนดอายุของโครงการหรือเพราะเหตุอื่นที่ทราบกําหนดการเลิกกองทุนรวมล่วงหน้า ให้ดําเนินการดังนี้ (ก) แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ และตลาดหลักทรัพย์ทราบเป็นหนังสือก่อนวันเลิกกองทุนรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าวันทําการ (ข) ดําเนินการด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อให้ผู้ลงทุนทราบเรื่องดังกล่าวก่อนวันเลิกกองทุนรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าวันทําการ เช่น ประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่น เป็นต้น (2) กรณีอื่นนอกจาก (1) ให้รายงานต่อผู้ดูแลผลประโยชน์และตลาดหลักทรัพย์โดยไม่ชักช้า” ข้อ 11 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
631
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 32/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 10)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 32/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 10) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (3) และ (4) ในวรรคสองของข้อ 25 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 4/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 “(3) การจัดสรรหน่วยลงทุนที่เสนอขายทั้งจํานวนต่อผู้ถือหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหน่วยลงทุนโดยได้รับชําระราคาเต็มมูลค่าที่เสนอขายจากผู้ถือหน่วยลงทุน (4) การจัดสรรหน่วยลงทุนที่เสนอขายในลักษณะเป็นการทั่วไปโดยกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ที่จะซื้อหน่วยลงทุนต้องเป็นผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม และจํานวนการจองซื้อไม่เกินกว่าสัดส่วนการถือหน่วยลงทุน โดยเป็นการเสนอขายตามมติของผู้ถือหน่วยลงทุนที่ให้เสนอขายต่อผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน แต่จะไม่เสนอขายให้ผู้ถือหน่วยลงทุนที่จะทําให้กองทุนรวมหรือบริษัทจัดการมีหน้าที่ตามกฎหมายต่างประเทศ” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความใน (4) ของข้อ 50 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(4) ได้รับอนุมัติจากสํานักงาน เว้นแต่เป็นการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมโดยการเสนอขายหน่วยลงทุนในกรณีดังต่อไปนี้ (ก) กรณีการเสนอขายหน่วยลงทุนทั้งจํานวนต่อผู้ถือหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหน่วยลงทุนโดยได้รับชําระราคาเต็มมูลค่าที่เสนอขายจากผู้ถือหน่วยลงทุน (ข) กรณีการเสนอขายหน่วยลงทุนในลักษณะเป็นการทั่วไปโดยกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ที่จะซื้อหน่วยลงทุนต้องเป็นผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม และจํานวนการจองซื้อไม่เกินกว่าสัดส่วนการถือหน่วยลงทุน โดยเป็นการเสนอขายตามมติของผู้ถือหน่วยลงทุนที่ให้เสนอขายต่อผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน แต่จะไม่เสนอขายให้ผู้ถือหน่วยลงทุนที่จะทําให้กองทุนรวมหรือบริษัทจัดการมีหน้าที่ตามกฎหมายต่างประเทศ” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของ (1) ในวรรคหนึ่งของข้อ 71 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 38/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 6) ลงวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุมัติเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมภายในหนึ่งร้อยหกสิบห้าวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ทั้งนี้ ในการอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ให้สํานักงานมีอํานาจสั่งการตามข้อ 20 ข้อ 21 และข้อ 35/1 โดยอนุโลม” ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2561 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
632
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 35/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 11)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 35/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 11) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองใน (ก) ของ (1) ในวรรคหนึ่งของข้อ 60/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 23/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 9) ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 “ในกรณีของกองทุนรวมที่จดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวมกับสํานักงานแล้วก่อนวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2561 บริษัทจัดการอาจกําหนดว่า การประชุมสามัญประจําปีตามวรรคหนึ่ง จะเริ่มดําเนินการเป็นครั้งแรกสําหรับรอบปีบัญชีที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 แต่ไม่เกินวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2562 โดยบริษัทจัดการจะจัดประชุมภายในสี่เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีดังกล่าว” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2561 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
633
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 49/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 12)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 49/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 12) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (3) ของข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 13/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(3) มีเงินทุนโครงการไม่ต่ํากว่าสองพันล้านบาท และมีนโยบายที่จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งพันห้าร้อยล้านบาท โดยในกรณีที่มีนโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกิจการโครงสร้างพื้นฐานหลายโครงการ มูลค่าการลงทุนในแต่ละโครงการต้องไม่น้อยกว่าหนึ่งพันล้านบาท เว้นแต่เป็นกรณีดังต่อไปนี้ มูลค่าการลงทุนในแต่ละโครงการอาจน้อยกว่าหนึ่งพันล้านบาทได้ (ก) การลงทุนในกิจการไฟฟ้า (ข) การลงทุนในกิจการตามข้อ 1(4) (ฏ) ซึ่งมีมูลค่าการลงทุนในแต่ละกิจการที่ประกอบกันไม่น้อยกว่าห้าร้อยล้านบาท ทั้งนี้ มูลค่าการลงทุนดังกล่าวไม่ใช้บังคับกับกิจการไฟฟ้า” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
634
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 38/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับประมวล)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 38/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับประมวล) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 100 มาตรา 109 มาตรา 117 และมาตรา 119 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 124/1 วรรคสอง มาตรา 129/2 วรรคสาม และมาตรา 129/3 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ข้อ 2 ให้ยกเลิก (1) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 (2) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 40/2555 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555 (3) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 4/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 (4) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 22/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2557 (5) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 13/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 (6) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 38/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 6) ลงวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (7) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 60/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 7) ลงวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (8) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 36/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 8) ลงวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (9) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 23/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และ วิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 9) ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 (10) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 32/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 10) ลงวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2561 (11) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 35/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 11) ลงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2561 (12) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 49/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 12) ลงวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ในประกาศนี้ “กองทุนรวม” หมายความว่า กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน “บริษัทจัดการ” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนรวม “บริษัท” หมายความว่า บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด “พลังงานทางเลือก” หมายความว่า กิจการที่ผลิตพลังงานจากแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วไม่หมดไปและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ํากว่าพลังงานจากฟอสซิล “ภาครัฐ” หมายความว่า (1) ส่วนราชการ (2) องค์การของรัฐบาลตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาลและกิจการของรัฐตามกฎหมายที่จัดตั้งกิจการนั้น และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของซึ่งไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคลด้วย “ตลาดหลักทรัพย์” หมายความว่า ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย “โครงการที่แล้วเสร็จ” หมายความว่า กิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ และเริ่มมีรายได้ในเชิงพาณิชย์แล้ว “โครงการที่ไม่แล้วเสร็จ” หมายความว่า กิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่ใช่โครงการที่แล้วเสร็จ “ผู้ลงทุนรายใหญ่”( หมายความว่า ผู้ลงทุนรายใหญ่ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ “ที่ปรึกษาทางการเงิน” หมายความว่า ที่ปรึกษาทางการเงินที่อยู่ในบัญชีที่สํานักงานให้ความเห็นชอบ “สมาคม” หมายความว่า สมาคมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งและจดทะเบียนกับสํานักงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทําการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทที่เกี่ยวกับการลงทุน “ผู้ดูแลผลประโยชน์” หมายความว่า ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม “ผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน” หมายความว่า ผู้จําหน่าย จ่าย โอน ให้เช่า หรือให้สิทธิในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม และให้หมายความรวมถึงผู้ที่จะดําเนินการดังกล่าวด้วย “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” หมายความว่า บุคคลที่มีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือหลายลักษณะดังต่อไปนี้ (1) คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (2) นิติบุคคล และผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนของนิติบุคคลนั้นซึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในนิติบุคคลดังกล่าวไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 50 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดหรือความเป็นหุ้นส่วนทั้งหมด (3) กองทุนส่วนบุคคลของบุคคลตาม (1) หรือ (2) แต่ทั้งนี้ มิให้รวมถึงกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ “ผู้จัดการ” หมายความว่า บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานของบริษัท “ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า ข้อความที่ได้สร้าง ส่ง รับ เก็บรักษา หรือประมวลผล ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ “ผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุน” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ที่สามารถจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนได้ “หน่วย” หมายความว่า หลักทรัพย์ประเภทหุ้นของบริษัท (investment company) หรือหลักทรัพย์ประเภทใบทรัสต์ของกองทรัสต์ (unit trust) “บุคคลที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า บุคคลดังต่อไปนี้ (1) บุคคลที่เกี่ยวข้องตามประกาศเกี่ยวกับการกระทําที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการจัดการกองทุนรวมในส่วนที่เกี่ยวกับการทําธุรกรรมเพื่อกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์โดยอนุโลม (2) บุคคลที่เกี่ยวโยงกันของกองทุนรวม โดยให้มีความหมายตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ออกตามความในมาตรา 89/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ในส่วนที่เกี่ยวกับบทนิยามคําว่าบุคคลที่เกี่ยวโยงกันโดยอนุโลม “ผู้สอบบัญชี” หมายความว่า ผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีในตลาดทุน “เงินทุนจดทะเบียน” หมายความว่า เงินทุนที่บริษัทจัดการได้รับจากการจําหน่ายหน่วยลงทุนและนํามาจดทะเบียนไว้กับสํานักงาน ข้อ 4 ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามประกาศนี้ ได้แก่ ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ (1) กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง หรือสิทธิการเช่าในที่ดิน อาคาร สิ่งปลูกสร้างเครื่องจักร อุปกรณ์ ตลอดจนทรัพย์สินอื่นใดที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (2) สิทธิสัมปทานในการประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (3) สิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคต หรือสิทธิตามสัญญาแบ่งรายได้ในอนาคตของกิจการโครงสร้างพื้นฐานหรือที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการกิจการโครงสร้างพื้นฐาน หรือการบริหารจัดการทรัพย์สินอื่นใดที่ได้จากการประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (4) สิทธิเรียกร้องตามสัญญาซื้อขายติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ หรือสัญญาก่อสร้าง หรือสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์หรือบริการของกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (5) หุ้นที่ออกโดยบริษัทที่มีลักษณะที่ครบถ้วนดังนี้ (ก) มีการลงทุนในทรัพย์สินตาม (1) (2) (3) หรือ (4) รวมกันไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของบริษัทดังกล่าว หรือมีรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินตาม (1) (2) (3) หรือ (4) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของรายได้รวมในแต่ละปีบัญชี (ข) มีกองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นเกินกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทนั้นและเกินกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทนั้น (6) ตราสารแห่งหนี้ที่ออกโดยบริษัทตาม (5) หรือสัญญาที่มีลักษณะเป็นการให้กู้ยืมเงินแก่บริษัทตาม (5) ทั้งนี้ เฉพาะในกรณีที่กองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัทดังกล่าวแล้ว ข้อ 5 กิจการโครงสร้างพื้นฐานตามประกาศนี้ ได้แก่ กิจการดังต่อไปนี้ (1) ระบบขนส่งทางราง หรือทางท่อ (2) ไฟฟ้า (3) ประปา (4) ถนน ทางพิเศษ หรือทางสัมปทาน (5) ท่าอากาศยานหรือสนามบิน (6) ท่าเรือน้ําลึก (7) โทรคมนาคม หรือโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (8) พลังงานทางเลือก (9) ระบบบริหารจัดการน้ํา หรือการชลประทาน (10) ระบบป้องกันภัยธรรมชาติ ซึ่งรวมถึงระบบเตือนภัยและระบบจัดการเพื่อลดความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นด้วย (11) ระบบจัดการของเสีย (12) กิจการที่มีลักษณะเป็นกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1) ถึง (11) หลายกิจการ (multi-infrastructure) ประกอบกัน โดยกิจการที่ประกอบกันเหล่านั้นเข้าลักษณะที่ครบถ้วนดังนี้ (ก) มีความเชื่อมโยง ส่งเสริม หรือก่อให้เกิดประโยชน์ซึ่งกันและกันหรือต่อชุมชนเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน (ข) ก่อให้เกิดหรือจะก่อให้เกิดรายได้เป็นมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของรายได้รวมของกิจการทั้งหมดที่ประกอบกันนั้น ข้อ 6 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การจัดตั้งกองทุนรวม ให้เป็นไปตามภาค 1 (2) การจัดสรรและเสนอขายหน่วยลงทุน ให้เป็นไปตามภาค 2 (3) ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนและหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของบริษัทจัดการให้เป็นไปตามภาค 3 (4) การจัดการกองทุนรวม ให้เป็นไปตามภาค 4 (5) อํานาจของสํานักงาน ให้เป็นไปตามภาค 5 ข้อ 7 นอกจากการปฏิบัติตามประกาศนี้แล้ว ให้บริษัทจัดการปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศอื่นที่กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) รายละเอียดของโครงการจัดการกองทุนรวม (2) รายการในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ (3) หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม (4) การจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม (5) การจัดทําทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุน (6) การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทจัดการและผู้ถือหน่วยลงทุน (7) รายงานการเปิดเผยข้อมูลของกองทุนรวม (8) การกู้ยืมเงินหรือการก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทุนรวม (9) การชําระบัญชีของกองทุนรวม ในกรณีที่ไม่มีประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่งสําหรับกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานไว้อย่างเฉพาะเจาะจง ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามประกาศอื่นที่กําหนดหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่งสําหรับกองทุนรวมทั่วไป ข้อ 8 บริษัทจัดการต้องดูแลและบริหารจัดการกองทุนรวมด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โดยใช้ความรู้ ความสามารถ และความชํานาญ รวมทั้งด้วยความเอาใจใส่และระมัดระวังตามมาตรฐานหรือเยี่ยงผู้มีวิชาชีพในลักษณะเดียวกันจะพึงกระทํา ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งปวง ข้อ 9 บริษัทจัดการต้องจัดให้มีระบบงานสําหรับการบริหารและจัดการกองทุนรวม อย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การคัดเลือกและดูแลบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินการของกองทุนรวมให้มีความรู้ความสามารถที่เหมาะสมกับการบริหารและจัดการกองทุนรวม (2) การวิเคราะห์และศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดตั้งกองทุนรวม รวมทั้งการตรวจสอบและสอบทาน (การทํา due diligence) ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะลงทุน ตลอดจนการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้งกองทุนรวมและทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ถูกต้อง และเพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุนของผู้ลงทุน (3) การกํากับดูแลบริหารและจัดการความเสี่ยงที่เกี่ยวกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้เป็นไปตามโครงการจัดการกองทุนรวมและเพื่อรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุน ภาค 1 การจัดตั้งกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด 1 หลักเกณฑ์การอนุมัติ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 10 กองทุนรวมที่จะได้รับอนุมัติให้จัดตั้งต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) มีลักษณะของกองทุนรวมตามที่กําหนดในข้อ 11 ถึงข้อ 16 (2) ข้อมูล ข้อกําหนด หรือข้อสัญญา ในคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมและเอกสารหลักฐานประกอบคําขอ เป็นไปตามประกาศนี้ และกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดการกองทุนรวม ตลอดจนประกาศ กฎ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว และต้องไม่มีข้อความที่ขัดหรือแย้งกับหลักเกณฑ์นั้น (3) บริษัทจัดการแสดงได้ว่า การจัดตั้งกองทุนรวมดังกล่าวเป็นไปเพื่อประโยชน์โดยรวมของผู้ถือหน่วยลงทุน รวมทั้งมีนโยบายการจัดหาผลประโยชน์ที่เป็นธรรมและไม่เป็นการเอาเปรียบผู้ถือหน่วยลงทุน (4) บริษัทจัดการที่ยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมตามประกาศนี้ไม่อยู่ระหว่างถูกสั่งระงับการยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมเป็นการชั่วคราว ทั้งนี้ กองทุนรวมดังกล่าวให้รวมถึงกองทุนรวมที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทุกประเภท ข้อ 11 กองทุนรวมที่ขออนุมัติจัดตั้ง ต้องมีลักษณะของกองทุนรวมดังต่อไปนี้ (1) เป็นกองทุนรวมประเภทไม่รับซื้อคืนหน่วยลงทุน เว้นแต่เป็นการรับซื้อคืนหน่วยลงทุนตามที่ระบุไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวม ซึ่งบริษัทจัดการสามารถแสดงได้ว่าการรับซื้อคืนหน่วยลงทุนดังกล่าวจะไม่กระทบต่อความอยู่รอดของกองทุนรวม (2) ชื่อของกองทุนรวม มีคําว่า “กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน” นําหน้า และคําแสดงประเภทกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุน (3) มีเงินทุนโครงการไม่ต่ํากว่า 2,000 ล้านบาท และมีนโยบายที่จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานรวมกันไม่น้อยกว่า 1,500 ล้านบาท โดยในกรณีที่มีนโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกิจการโครงสร้างพื้นฐานหลายโครงการมูลค่าการลงทุนในแต่ละโครงการต้องไม่น้อยกว่า 1,000 ล้านบาท เว้นแต่เป็นกรณีดังต่อไปนี้มูลค่าการลงทุนในแต่ละโครงการอาจน้อยกว่า 1,000 ล้านบาทได้ (ก) การลงทุนในกิจการไฟฟ้า (ข) การลงทุนในกิจการตามข้อ 5(12) ซึ่งมีมูลค่าการลงทุนในแต่ละกิจการที่ประกอบกันไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท ทั้งนี้ มูลค่าการลงทุนดังกล่าวไม่ใช้บังคับกับกิจการไฟฟ้า (4) หน่วยลงทุนของกองทุนรวมมีมูลค่าที่ตราไว้เป็นมูลค่าเท่ากัน และในกรณีที่มีการแบ่งชนิดของหน่วยลงทุน ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 13 (5) มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก ซึ่งกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนในวงกว้างของประเทศไทย ทั้งนี้ ต้องไม่ปรากฏว่าจะมีการเข้าทําสัญญาการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานกับบุคคลที่มีลักษณะตามข้อ 14 กิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ประชาชนในวงกว้างของประเทศไทยตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึงกิจการที่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (ก) กิจการที่จําหน่ายสินค้าหรือให้บริการแก่ประชาชนในวงกว้าง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมผ่านผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานอื่น (ข) กิจการโครงสร้างพื้นฐานที่การดําเนินการเป็นผลทําให้ประชาชนในวงกว้างได้รับประโยชน์ทางอ้อมในด้านสุขอนามัย ด้านสิ่งแวดล้อมที่ดี และด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (ค) กิจการที่จําหน่ายสินค้าหรือให้บริการทั้งหมดแก่ภาครัฐ (ง) กิจการที่จําหน่ายสินค้าหรือให้บริการไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนแก่ภาคธุรกิจเอกชนในวงกว้าง ซึ่งการจําหน่ายหรือให้บริการนั้นไม่มีลักษณะเป็นการจํากัดเฉพาะแก่ภาคธุรกิจเอกชนรายใดรายหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ทั้งนี้ ในขณะที่ยื่นคําขอ ต้องไม่ปรากฏว่าภาคธุรกิจเอกชนรายใดรายหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งซื้อสินค้าหรือใช้บริการเกินกว่า 1 ใน 3 ของกําลังการผลิตหรือการให้บริการสูงสุดของกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น เว้นแต่จะแสดงได้ว่าการเกินอัตราส่วนดังกล่าวเป็นไปตามลักษณะของอุตสาหกรรมกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นเองที่ผู้ซื้อสินค้าหรือใช้บริการมีจํานวนน้อยราย และไม่มีการกีดกันบุคคลอื่นที่จะเข้าซื้อสินค้าหรือใช้บริการของกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น ให้ถือว่าบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันในลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นกลุ่มเดียวกัน กับภาคธุรกิจเอกชนตามวรรคสอง (ง) (ก) บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์ในลักษณะเป็นผู้ถือหุ้นหรือหุ้นส่วนของภาคธุรกิจเอกชนดังกล่าว ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 30 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดหรือความเป็นหุ้นส่วนทั้งหมดของภาคธุรกิจเอกชนนั้น (ข) นิติบุคคลที่มีบุคคลตาม (ก) เป็นบุคคลเดียวกัน (ค) คู่สมรสหรือบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลตาม (ก) (6) ในขณะที่ยื่นคําขออนุมัติจัดตั้ง มีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุนอย่างแน่นอนแล้ว ทั้งนี้ บริษัทจัดการต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ด้วย (ก) ตรวจสอบหรือสอบทาน (การทํา due diligence) ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน โดยร่วมกับที่ปรึกษาทางการเงินในการจัดให้มีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานหรือกิจการโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ข้อมูลด้านการเงิน กฎหมาย และเทคนิคเฉพาะทาง เป็นต้น และมีความเห็นว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะลงทุนเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. มีความเหมาะสมสําหรับการลงทุนของผู้ลงทุนทั่วไป โดยมีศักยภาพ ในการสร้างผลตอบแทนเพื่อเป็นรายได้ให้แก่กองทุนรวมได้อย่างต่อเนื่อง 2. มีเอกสารสิทธิหรือเอกสารสัญญาที่ครบถ้วน ชัดเจน บังคับได้ตามกฎหมาย และเพียงพอต่อการที่กองทุนรวมจะใช้ดําเนินการหรือจัดหาผลประโยชน์ได้ (ข) จัดให้มีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามหลักเกณฑ์ในข้อ 15 (ค) ในกรณีที่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะลงทุนเป็นสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตหรือสิทธิตามสัญญาแบ่งรายได้ บริษัทจัดการต้องดําเนินการให้ผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นคู่สัญญาจัดให้มีกลไกให้บริษัทจัดการหรือผู้ที่บริษัทจัดการ มอบหมายสามารถเข้าตรวจสอบหรือสอบยันความถูกต้องครบถ้วนของส่วนแบ่งรายได้ที่กองทุนรวม ได้รับตามข้อตกลง ตลอดจนจัดส่งรายงานหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่อบริษัทจัดการเพื่อใช้ในการติดตามและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของส่วนแบ่งรายได้ดังกล่าว (7) ในกรณีที่กองทุนรวมมีการแบ่งชําระราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานต้องมีข้อกําหนดให้กองทุนรวมนําเงินส่วนที่กันไว้สําหรับการชําระราคาในคราวถัด ๆ ไป ไปลงทุนในทรัพย์สินตามข้อ 74(1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) (8) ในกรณีที่กองทุนรวมมีนโยบายที่จะกู้ยืมเงินจากบุคคลอื่น หรือก่อภาระผูกพันใด ๆ แก่ทรัพย์สินของกองทุนรวม ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) หลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการกู้ยืมเงินในนามของกองทุนรวมและการก่อภาระผูกพัน แก่ทรัพย์สินของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ข) ในกรณีที่กองทุนรวมมีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้นตามข้อ 4(5) บริษัทจัดการต้องแสดงได้ว่ามีกลไกในการกํากับดูแลที่จะเป็นผลให้การกู้ยืมเงินหรือการก่อภาระผูกพันใด ๆ ของบริษัทดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับกองทุนรวม เว้นแต่ในกรณีของหลักเกณฑ์เกี่ยวกับอัตราส่วนการกู้ยืมเงิน จะพิจารณาเฉพาะในชั้นของกองทุนรวมก็ได้ (9) มีวัตถุประสงค์ในการนําหน่วยลงทุนของกองทุนรวมชนิดที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไปเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (10) โครงการจัดการกองทุนรวมและข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการมีรายละเอียดและรายการที่เป็นไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยรายละเอียดของโครงการจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน และประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานกับบริษัทจัดการกองทุนรวม ข้อ 12 บริษัทจัดการต้องแสดงได้ว่ากองทุนรวมที่ขออนุมัติจัดตั้งมีลักษณะเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่แล้วเสร็จทั้งหมด บริษัทจัดการจะเสนอขายหน่วยลงทุนทั้งหมดต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป (2) กรณีที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จไม่เกินร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม หากมีการแบ่งหน่วยลงทุนออกเป็นหลายชนิด ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (ก) หน่วยลงทุนชนิดที่จะเสนอขายต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไปต้องไม่มีความเสี่ยงสูงกว่าหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จเท่ากับร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวมนั้น และกองทุนรวมดังกล่าวไม่มีการแบ่งชนิดของหน่วยลงทุน (ข) หน่วยลงทุนชนิดที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เป็นการเฉพาะเจาะจงต้อง มีมูลค่าไม่เกินร้อยละ 50 ของมูลค่าหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมหรือไม่เกิน 2 เท่าของมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ แล้วแต่มูลค่าใดจะต่ํากว่า และหากมีหน่วยลงทุนชนิดที่ได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนในลําดับหลังหน่วยลงทุนชนิดอื่น ต้องเสนอขายหน่วยลงทุนชนิดดังกล่าวต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เป็นการเฉพาะเจาะจงเท่านั้น (3) กรณีที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จเกินร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม บริษัทจัดการจะเสนอขายหน่วยลงทุนทั้งหมดให้แก่ผู้ลงทุนรายใหญ่เท่านั้น (4) หน่วยลงทุนที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตาม (2) (ข) หรือ (3) ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (ก) ในระหว่างที่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานยังเป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ 1. บริษัทจัดการจะไม่นําหน่วยลงทุนที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 2. บริษัทจัดการหรือนายทะเบียนหน่วยลงทุนจะปฏิเสธการลงทะเบียนการโอนหน่วยลงทุนตาม 1. ให้แก่บุคคลอื่นที่มิใช่ผู้ลงทุนรายใหญ่ เว้นแต่เป็นการได้มาทางมรดก (ข) เมื่อทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานพัฒนาแล้วเสร็จ บริษัทจัดการจะดําเนินการด้วยวิธีใด ๆ เพื่อให้หน่วยลงทุนของกองทุนรวมทั้งหมดกระจายต่อผู้ลงทุนทั่วไป และนําหน่วยลงทุนทั้งหมดนั้นเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ภายใน 3 ปีนับแต่วันที่กิจการโครงสร้างพื้นฐานพัฒนาแล้วเสร็จ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน กองทุนรวมที่มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จตามวรรคหนึ่ง (2) และ (3) ให้รวมถึงกรณีดังต่อไปนี้ (1) กองทุนรวมที่มีนโยบายลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานหลายโครงการ โดยบางโครงการเป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ (2) กองทุนรวมที่มีนโยบายลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานโครงการเดียว ซึ่งมีแผนพัฒนาโครงการเป็นส่วน ๆ (phase) โดยบางส่วนยังพัฒนาไม่แล้วเสร็จ ข้อ 13 การแบ่งหน่วยลงทุนของกองทุนรวมออกเป็นหลายชนิด ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) หน่วยลงทุนชนิดเดียวกันต้องมีสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนที่เท่าเทียมกัน (2) หน่วยลงทุนแต่ละชนิดจะมีสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนที่แตกต่างกันได้เฉพาะในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) ลักษณะและเงื่อนไขในการจ่ายประโยชน์ตอบแทน หรือการคืนเงินทุนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน (ข) ค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ถือหน่วยลงทุน (ค) กรณีอื่นใดที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ทั้งนี้ ในการขอรับความเห็นชอบจากสํานักงาน บริษัทจัดการต้องแสดงได้ว่าการแบ่งชนิดหน่วยลงทุนดังกล่าวสามารถปฏิบัติได้จริง และได้คํานึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวม ตลอดจนผลกระทบที่ผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละชนิดจะได้รับแล้ว ข้อ 14 กองทุนรวมต้องไม่เข้าทําสัญญาการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานกับบุคคลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ หากบุคคลนั้นเองหรือบุคคลอื่นที่บุคคลดังกล่าวควบคุมได้จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทุนรวม เว้นแต่บุคคลดังกล่าวเป็นบริษัทที่มีหุ้นเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ให้พิจารณาการมีลักษณะตามที่กําหนดใน (1) (ก) เท่านั้น (1) ภายในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม บุคคลดังกล่าวต้องไม่มีลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) เคยมีประวัติฝ่าฝืนหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ในเรื่องที่มีนัยสําคัญ (ข) เคยถูกสํานักงานปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่เนื่องจากมีเหตุที่มีนัยสําคัญอันควรสงสัยเกี่ยวกับกลไกการบริหารจัดการในลักษณะดังต่อไปนี้ 1. อาจไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นได้อย่างเป็นธรรมโดยอาจมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งซึ่งจะทําให้ได้เปรียบผู้ถือหุ้นรายอื่นหรือได้ประโยชน์มากกว่าผู้ถือหุ้นรายอื่นโดยไม่สมควร 2. อาจไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นได้โดยทําให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งได้รับประโยชน์ทางการเงินนอกเหนือจากที่พึงได้ตามปกติ หรือโดยทําให้บริษัทเสียประโยชน์ที่พึงได้รับ (ค) เคยถูกสํานักงานปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่เนื่องจากมีเหตุที่ทําให้สงสัยเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนที่ไม่ครบถ้วน ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน หรือทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ซึ่งมีลักษณะเป็นการปกปิดหรืออําพราง หรือสร้างข้อมูลที่อาจไม่มีอยู่จริงในรายการหรือการดําเนินการที่มีนัยสําคัญ (ง) เคยถอนคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่โดยไม่มีการชี้แจงเหตุสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) ต่อสํานักงาน หรือโดยมีการชี้แจงแต่ไม่ได้แสดงข้อเท็จจริงหรือเหตุผล อย่างสมเหตุสมผลที่จะหักล้างข้อสงสัยในเหตุตาม (ข) หรือ (ค) นั้น (2) ภายในระยะเวลา 10 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม บุคคลดังกล่าว เคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (3) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษหรือถูกดําเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินงานที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือ ทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (4) เป็นบุคคลที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นการจัดรูปแบบเพื่อให้บุคคลที่มีลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3) หลีกเลี่ยงมิให้สํานักงานใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาตาม (1) (2) หรือ (3) กับบุคคลที่มีลักษณะดังกล่าวนั้น หากบริษัทจัดการสามารถแสดงให้สํานักงานเห็นได้ว่า บุคคลที่มีลักษณะตามวรรคหนึ่ง (1) หรือ (2) ได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเหตุ ระบบงาน ระบบการบริหารจัดการ และการควบคุมการดําเนินงานที่ทําให้บุคคลดังกล่าวมีลักษณะตามวรรคหนึ่ง (1) หรือ (2) แล้ว มิให้นําความในวรรคหนึ่ง (1) และ (2) แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับกับบุคคลนั้นอีก ข้อ 15 ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะได้มาต้องผ่าน การประเมินมูลค่าที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นทรัพย์สินตามข้อ 4(1) (2) (3) หรือ (4) (ก) ผู้ประเมินมูลค่าต้องเป็นนิติบุคคลที่มีประสบการณ์หรือความรู้ความเชี่ยวชาญในการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ข) เป็นการประเมินมูลค่าอย่างเต็มรูปแบบที่มีการตรวจสอบเอกสารสิทธิและ เป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (ค) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. ดําเนินการล่วงหน้าก่อนการได้มาซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวเป็นเวลาไม่เกิน 1 ปี 2. กรณีทรัพย์สินมีมูลค่าตั้งแต่ 50 ล้านบาทขึ้นไป ต้องผ่านการประเมินมูลค่า โดยผู้ประเมินมูลค่าอย่างน้อย 1 ราย 3. ในกรณีที่การได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน ต้องผ่านการประเมินมูลค่าโดยผู้ประเมินมูลค่าอย่างน้อย 2 ราย (2) กรณีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นหุ้นที่ออกโดยบริษัทตามข้อ 4(5) ให้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งในชั้นของกองทุนรวมและในชั้นของบริษัท ที่ออกหุ้นดังกล่าวดังนี้ (ก) การประเมินมูลค่าในชั้นของกองทุนรวม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ใน (1) โดยให้คํานึงภาระภาษีของบริษัท และปัจจัยอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนโดยทางอ้อมด้วย (ข) การประเมินมูลค่าในชั้นของบริษัท ให้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 4(1) (2) (3) หรือ (4) ที่บริษัทดังกล่าวได้ลงทุนไว้ตามหลักเกณฑ์ใน (1) (3) กรณีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นตราสารแห่งหนี้หรือสัญญา ตามข้อ 4(6) หรือในกรณีที่บริษัทตามข้อ 4(5) มีการลงทุนในทรัพย์สินอื่นด้วย ให้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินดังกล่าวตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) ใช้มูลค่ายุติธรรมตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกําหนดมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนที่ออกโดยสมาคมโดยอนุโลม (ข) ในกรณีหลักเกณฑ์ตาม (ก) ไม่รองรับการกําหนดมูลค่ายุติธรรมของทรัพย์สินใด ให้ใช้มูลค่าที่เป็นไปตามหลักวิชาการอันเป็นที่ยอมรับหรือมาตรฐานสากล ข้อ 16 ในกรณีที่กองทุนรวมที่ขอจัดตั้งมีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคต หรือสิทธิตามสัญญาแบ่งรายได้ในอนาคตตามข้อ 4(3) หากกองทุนรวมมิได้เป็นบุคคลเดียวที่มีสิทธิได้รับรายได้ในอนาคตทั้งจํานวน บริษัทจัดการต้องแสดงได้ว่ามีการวิเคราะห์สิทธิได้เสียทางทรัพย์สินของผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละชนิด โดยเปรียบเทียบกับสิทธิของเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิอื่นในรายได้ในอนาคตนั้น พร้อมทั้งแสดงบทวิเคราะห์และความเห็นทางกฎหมายในเรื่องดังกล่าวไว้อย่างชัดเจนในร่างหนังสือชี้ชวนที่ยื่นพร้อมกับคําขอจัดตั้งกองทุนรวม หมวด 2การยื่นคําขออนุมัติ\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 17 บริษัทจัดการที่ประสงค์จะขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม ต้องยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมเป็นหนังสือ พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุมัติดังต่อไปนี้ โดยการจัดทําเอกสารหลักฐานดังกล่าวต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 18 ด้วย (1) โครงการจัดการกองทุนรวม พร้อมทั้งเอกสารประกอบโครงการจัดการกองทุนรวมดังต่อไปนี้ (ก) สรุปสาระสําคัญของร่างสัญญาที่ทําให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ข) รายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุน ซึ่งจัดทําขึ้นตามข้อ 15 (ค) เอกสารแสดงความเห็นของบริษัทจัดการและที่ปรึกษาทางการเงินเกี่ยวกับความสมเหตุสมผลของรายงานการประเมินมูลค่าตาม (ข) ทั้งนี้ ในกรณีที่บริษัทจัดการหรือที่ปรึกษาทางการเงินมีการจัดทําประมาณการทางการเงินของกิจการโครงสร้างพื้นฐานซึ่งแสดงการวิเคราะห์ในกรณีพื้นฐาน (base case) และการวิเคราะห์ความไวต่อการเปลี่ยนแปลง (sensitivity analysis)ให้บริษัทจัดการหรือที่ปรึกษาทางการเงินอธิบายความแตกต่างระหว่างรายงานการประเมินมูลค่าตาม (ข) กับประมาณการทางการเงินดังกล่าว (ถ้ามี) ด้วย (ง) ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญอิสระเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้กับกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (technological feasibility) เฉพาะในกรณีที่เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ไม่เคยใช้ในประเทศไทยมาก่อน หรือเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่จําเป็นต้องใช้ความชํานาญเฉพาะด้านเป็นพิเศษ โดยต้องระบุรายละเอียด ข้อดีและข้อเสียของเทคโนโลยีดังกล่าว ตลอดจนตัวอย่างของโครงการอื่นที่ใช้เทคโนโลยีนั้น (ถ้ามี) (จ) เอกสารแสดงข้อมูลว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เข้าทําธุรกรรมกับ กองทุนรวมมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดําเนินกิจการของรัฐหรือไม่ โดยในกรณีที่กิจการโครงสร้างพื้นฐานมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ให้บริษัทจัดการแสดงข้อมูลว่าได้มีการดําเนินการไปแล้วอย่างไร พร้อมทั้งแนบหนังสือรับรองจากกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุน หรือจากหน่วยงานที่กํากับดูแลกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นที่แสดงว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานได้ปฏิบัติตามกฎหมายนั้นแล้ว (ฉ) เอกสารหรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมจะลงทุนมีลักษณะเป็นไปตามที่กําหนดในประกาศนี้ (2) ร่างข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ (3) ร่างสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ ซึ่งมีข้อกําหนดให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ปฏิบัติหน้าที่อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) หน้าที่ในการตรวจสอบและถ่วงดุลการบริหารจัดการกองทุนรวมของบริษัทจัดการอย่างเคร่งครัด ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต โดยใช้ความรู้ความสามารถเยี่ยงผู้มีวิชาชีพเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของกองทุนรวมและผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวม (ข) หน้าที่ตามที่กําหนดไว้ในพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. 2535 ตลอดจนประกาศที่กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ค)( หน้าที่ในการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ดังนี้ 1. ดําเนินการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่กองทุนรวมเข้าครอบครองและดําเนินการให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินนั้นในครั้งต่อ ๆ ไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ การตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอาจดําเนินการด้วยวิธีการหรือกลไกที่น่าเชื่อถือตามที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมและบริษัทจัดการตกลงกันได้ 2. บันทึกสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ได้ตรวจตราให้ถูกต้องและครบถ้วนตามความเป็นจริงให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่เริ่มดําเนินการตรวจตราทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น 3. แจ้งให้บริษัทจัดการทราบภายใน 5 วันทําการนับแต่วันที่ผู้ดูแลผลประโยชน์พบว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานชํารุดบกพร่องอย่างมีนัยสําคัญ (4) ร่างหนังสือชี้ชวน ซึ่งจะยังไม่ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนก็ได้ (5) เอกสารหลักฐานอื่นตามที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน ข้อ 18 การยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) รายละเอียดโครงการจัดการกองทุนรวมและร่างหนังสือชี้ชวนต้องร่วมจัดทําโดย ที่ปรึกษาทางการเงินที่สามารถแสดงความเห็นได้อย่างเป็นอิสระจากบุคคลดังต่อไปนี้ (ก) ผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม (ข) กลุ่มบุคคลเดียวกันของบุคคลตาม (ก) (2) คําขอและเอกสารหลักฐานประกอบคําขอต้องมีบุคคลดังต่อไปนี้ ลงลายมือชื่อ รับรองความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของตน (ก) กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทจัดการ (ข) กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันที่ปรึกษาทางการเงิน และผู้ควบคุมการปฏิบัติงานของที่ปรึกษาทางการเงิน (ค) กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทที่เป็นผู้จัดทํารายงานการประเมินมูลค่าตามข้อ 17(1) (ข) (ง) ผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม ข้อ 19 ให้ผู้ขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมชําระค่าธรรมเนียมคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมต่อสํานักงานเมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ทั้งนี้ อัตราค่าธรรมเนียมให้เป็นไป ตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูล การจดทะเบียน และการยื่นคําขอต่าง ๆ ข้อ 20 ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมภายใน 165 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ในกรณีที่ผู้ขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ ให้ผู้ขออนุมัติยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงานภายใน 30 วันนับแต่วันที่ยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม โดยปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน เว้นแต่สํานักงานยอมรับคําขอผ่อนผันเมื่อพ้นระยะเวลาดังกล่าวในกรณีมีเหตุจําเป็นและสมควร ทั้งนี้ สํานักงานจะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาอนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม ข้อ 21 เมื่อบริษัทจัดการได้ยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมพร้อมทั้งเอกสาร หลักฐานครบถ้วนตามข้อ 17 แล้ว ให้บริษัทจัดการเผยแพร่ข้อมูลที่มีสาระตรงตามโครงการจัดการ กองทุนรวมและร่างหนังสือชี้ชวนที่แก้ไขเพิ่มเติมครั้งหลังสุดต่อผู้ลงทุนผ่านระบบการรับส่งข้อมูลตามที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน หมวด 3 การดําเนินการเมื่อได้รับอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 22 ให้บริษัทจัดการที่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ โครงการจัดการกองทุนรวม สัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์และหนังสือชี้ชวน ที่มีสาระไม่ต่างจากฉบับร่างที่ยื่นต่อสํานักงาน (2) จัดให้กองทุนรวมมีลักษณะไม่ต่างไปจากสาระสําคัญที่แสดงไว้ล่าสุดต่อสํานักงาน ข้อ 23 บริษัทจัดการต้องเริ่มเสนอขายหน่วยลงทุนภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติจากสํานักงานให้จัดตั้งกองทุนรวม ข้อ 24 การเสนอขายหน่วยลงทุนเป็นครั้งแรก ให้บริษัทจัดการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในภาค 2 ข้อ 25 ในระหว่างการเสนอขายหน่วยลงทุนเป็นครั้งแรก หากบริษัทจัดการประสงค์จะยกเลิกการจัดตั้งกองทุนรวมตามกรณีที่ได้สงวนสิทธิไว้ในหนังสือชี้ชวน บริษัทจัดการจะยุติการขายหน่วยลงทุนและยกเลิกการจัดตั้งกองทุนรวมก็ได้ ข้อ 26 ในกรณีที่บริษัทจัดการยุติการขายหน่วยลงทุนตามข้อ 25 ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) รายงานให้สํานักงานทราบภายใน 7 วันนับแต่วันที่ยุติการขายหน่วยลงทุนนั้น (2) คืนเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุนและผลประโยชน์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นจากเงินที่ได้รับจากการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนตามสัดส่วนของเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุนภายใน 14 วันนับแต่วันที่บริษัทจัดการรายงานตาม (1) และหากบริษัทจัดการไม่สามารถคืนเงินและผลประโยชน์ภายในกําหนดเวลาดังกล่าวได้เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งที่บริษัทจัดการต้องรับผิดชอบให้บริษัทจัดการชําระดอกเบี้ยในอัตราไม่ต่ํากว่าร้อยละ 7.5 ต่อปีนับแต่วันที่ครบกําหนดเวลานั้นจนถึงวันที่บริษัทจัดการคืนเงินค่าจองซื้อจนครบถ้วน ข้อ 27 บริษัทจัดการต้องจัดให้มีการยื่นคําขอจดทะเบียนหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวม หมวด 4 การสิ้นสุดการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 28 ให้การอนุมัติจัดตั้งกองทุนรวมเป็นอันสิ้นสุดลง ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) เมื่อบริษัทจัดการมิได้เริ่มเสนอขายหน่วยลงทุนภายในระยะเวลาที่กําหนดในข้อ 23 (2) เมื่อบริษัทจัดการยกเลิกการจัดตั้งกองทุนรวมตามข้อ 25 โดยให้การอนุมัติสิ้นสุดลงในวันที่บริษัทจัดการรายงานการยุติการขายหน่วยลงทุนตามข้อ 26(1) (3) เมื่อสิ้นสุดการเสนอขายหน่วยลงทุน แต่ยังมิได้จดทะเบียนกองทุนรวม และปรากฏกรณีที่กําหนดตามข้อ 29 ข้อ 29 เมื่อสิ้นสุดการเสนอขายหน่วยลงทุน แต่ยังมิได้จดทะเบียนกองทุนรวมหากปรากฏกรณีอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ให้การอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมเป็นอันสิ้นสุดลง (1) มีการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้ไม่ถึง 500 ราย ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมดังต่อไปนี้ (ก) กองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่แล้วเสร็จทั้งหมด (ข) กองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จไม่เกินร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม (2) มีการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนได้ไม่ถึง 35 ราย ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จเกินกว่าร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม (3) มูลค่าหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้มีมูลค่าไม่ถึง 2,000 ล้านบาท (4) มูลค่าหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้เมื่อรวมกับมูลค่าการกู้ยืมเงินจากบุคคลอื่น (ถ้ามี)มีมูลค่าไม่เพียงพอที่จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามที่กําหนดไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม (5) มีการจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่บุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใด อันจะเป็นผลให้การถือหน่วยลงทุนไม่เป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนที่กําหนดในภาค 3 เพื่อประโยชน์ในการคํานวณมูลค่าหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้ตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้ราคาตามมูลค่าที่ตราไว้ของหน่วยลงทุนเป็นเกณฑ์ในการคํานวณ ข้อ 30 เมื่อปรากฏกรณีตามข้อ 29 ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) แจ้งให้สํานักงานทราบภายใน 15 วันนับแต่วันสิ้นสุดระยะเวลาเสนอขายหน่วยลงทุน (2) คืนเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุนและผลประโยชน์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นจากเงินที่ได้รับจากการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนภายใน 14 วันนับแต่วันสิ้นสุดระยะเวลาการเสนอขายหน่วยลงทุนนั้นตามสัดส่วนของเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุน ทั้งนี้ หากบริษัทจัดการไม่สามารถคืนเงินและผลประโยชน์ภายในกําหนดเวลานั้นได้เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งที่บริษัทจัดการต้องรับผิดชอบให้บริษัทจัดการชําระดอกเบี้ยในอัตราไม่ต่ํากว่าร้อยละ 7.5 ต่อปีนับแต่วันที่ครบกําหนดเวลานั้นจนถึงวันที่บริษัทจัดการคืนเงินค่าจองซื้อครบถ้วน ภาค 2การจัดสรรและเสนอขายหน่วยลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 31 ในภาคนี้ “บริษัทจดทะเบียน” หมายความว่า บริษัทที่มีหุ้นจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ “บริษัทย่อย” หมายความว่า บริษัทย่อยตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการของบริษัทจดทะเบียน “ผู้บริหาร” หมายความว่า ผู้จัดการ ผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหาร 4 รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา และผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งเทียบเท่าผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหารรายที่ 4 ทุกราย “ผู้ที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า ผู้ที่เกี่ยวข้องตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ออกตามความในมาตรา 89/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ในส่วนที่เกี่ยวกับบทนิยามคําว่าบุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง “ญาติสนิท” หมายความว่า ญาติสนิทที่ถือเป็นบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องตามหลักเกณฑ์ของประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ออกตามความในมาตรา 89/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” หมายความว่า ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่ถือเป็นบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องตามหลักเกณฑ์ของประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ออกตามความในมาตรา 89/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ข้อ 32 ความในภาคนี้มิให้ใช้บังคับกับการจัดสรรและการเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่มีผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมดเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ ทั้งนี้ บริษัทจัดการต้องจัดสรรหน่วยลงทุนของกองทุนรวมดังกล่าวให้เป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในภาค 3 หมวด 1 หลักเกณฑ์การจัดสรร \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 33 ในการจัดสรรหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) ใช้กระบวนการจัดสรรหน่วยลงทุนที่ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์หรือบริษัทจัดการกําหนดหน่วยการจองซื้อ (board lot) ไว้ และจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนทุกราย อย่างเท่าเทียมกันครั้งละ 1 หน่วยการจองซื้อจนครบจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่าย หรือกระบวนการอื่น ที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน เว้นแต่เป็นกรณีตามข้อ 34 (2) จัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนเพื่อให้การถือหน่วยลงทุนเป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในภาค 3 และตามหลักเกณฑ์ในข้อ 36 ข้อ 37 และข้อ 38 ข้อ 34 กระบวนการจัดสรรหน่วยลงทุนตามข้อ 33(1) มิให้นํามาใช้บังคับกับการจัดสรรที่เข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) การจัดสรรหน่วยลงทุนที่เสนอขายทั้งจํานวนต่อผู้ถือหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหน่วยลงทุนโดยได้รับชําระราคาเต็มมูลค่าที่เสนอขายจากผู้ถือหน่วยลงทุน (2) การจัดสรรหน่วยลงทุนที่เสนอขายในลักษณะเป็นการทั่วไปโดยกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ที่จะซื้อหน่วยลงทุนต้องเป็นผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม และจํานวนการจองซื้อไม่เกินกว่าสัดส่วนการถือหน่วยลงทุน โดยเป็นการเสนอขายตามมติของผู้ถือหน่วยลงทุนที่ให้เสนอขายต่อผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน แต่จะไม่เสนอขายให้ผู้ถือหน่วยลงทุนที่จะทําให้กองทุนรวมหรือบริษัทจัดการมีหน้าที่ตามกฎหมายต่างประเทศ (3) การจัดสรรหน่วยลงทุนชนิดที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เป็นการเฉพาะเจาะจง (4) การจัดสรรหน่วยลงทุนในส่วนที่แบ่งแยกไว้สําหรับบุคคลดังต่อไปนี้ และได้เปิดเผยไว้ในหนังสือชี้ชวนแล้ว (ก) บุคคลที่เข้าลักษณะเป็นผู้จองซื้อพิเศษตามข้อ 35 (ข) ผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม หรือกลุ่มบุคคลเดียวกันกับบุคคลดังกล่าว (ค) ผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนดังต่อไปนี้ ซึ่งจะได้รับการจัดสรรหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหุ้นในบริษัทจดทะเบียนดังกล่าว 1. บริษัทจดทะเบียนที่เป็นผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม 2. บริษัทจดทะเบียนที่มีบริษัทย่อยเป็นผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม ข้อ 35( เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อ 34(4) (ก) ให้บุคคลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ซึ่งหนังสือชี้ชวนระบุวิธีการจัดสรรไว้แยกต่างหากจากผู้จองซื้อทั่วไป เข้าลักษณะเป็นผู้จองซื้อพิเศษ (1) ผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 39/2564 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2564 แต่ไม่รวมถึงผู้ลงทุนตามข้อ 5(10) (17) (21) (22) (23) (24) (25) และ (26) แห่งประกาศฉบับดังกล่าว (2) กองทุนส่วนบุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์รับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนตาม (1) หรือผู้ลงทุนตาม (3) ถึง (10) (3) ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือ นิติบุคคลอื่นที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น (4) สภากาชาดไทย หรือมูลนิธิเพื่อสาธารณะประโยชน์ (5) สหกรณ์ออมทรัพย์ หรือชุมนุมสหกรณ์ (6) สถาบันการเงินระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นสมาชิก (7) โครงการจัดการลงทุน (collective investment scheme) ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และเสนอขายหน่วยต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป (8) ผู้ลงทุนต่างประเทศซึ่งมีลักษณะเดียวกับผู้ลงทุนดังต่อไปนี้ (ก) ผู้ลงทุนสถาบันตาม (1) แต่ไม่รวมถึงบริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ กองทุนรวม และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ข) ผู้ลงทุนตาม (3) (ค) กองทุนส่วนบุคคลที่เป็นการรับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนตาม (ก) หรือ (ข) (9) นิติบุคคลซึ่งมีผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (8) ถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด (10) ผู้ลงทุนอื่นใดตามที่สํานักงานประกาศกําหนด ข้อ 36 ในกรณีที่บริษัทจัดการแบ่งแยกจํานวนหน่วยลงทุนที่จะเสนอขายให้แก่บุคคลตามข้อ 34(4) (ก) หรือ (ข) ออกจากหน่วยลงทุนที่จะเสนอขายต่อผู้ลงทุนทั่วไปไว้ บริษัทจัดการต้องไม่จัดสรรหน่วยลงทุนในส่วนที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนทั่วไปให้แก่บุคคลตามข้อ 34(4) (ก) หรือ (ข) อีกเว้นแต่เป็นการจัดสรรหน่วยลงทุนที่เหลือจากการจองซื้อของผู้ลงทุนทั่วไปให้แก่บุคคลตามข้อ 34(4) (ก) และ (ข) ตามลําดับ ข้อ 37 ในกรณีที่บริษัทจัดการประสงค์จะจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนตามข้อ 34(4) (ค) ให้บริษัทจัดการจัดสรรหน่วยลงทุนตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จํานวนหน่วยลงทุนที่จัดสรรแก่ผู้ถือหุ้นสามัญเมื่อรวมกันทั้งหมดต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด หรือไม่เกินจํานวนหน่วยลงทุนที่จัดสรรแก่ผู้ลงทุนทั่วไป แล้วแต่จํานวนใดจะต่ํากว่า ทั้งนี้ การคํานวณจํานวนหน่วยลงทุนดังกล่าว ให้นับรวมจํานวนหน่วยลงทุนที่จัดสรรให้แก่บุคคลดังต่อไปนี้ด้วย (ก) บริษัทจดทะเบียนที่เป็นผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม (ข) บริษัทจดทะเบียนที่มีบริษัทย่อยเป็นผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม (ค) บริษัทย่อยของบริษัทจดทะเบียน ซึ่งบริษัทย่อยดังกล่าวเป็นผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม (2) ผู้ถือหุ้นสามัญที่จะได้รับการจัดสรรต้องไม่เป็นกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องและญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว (3) ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นสามัญที่จะได้รับการจัดสรรเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ให้จัดสรรหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหุ้นได้ ไม่เกินร้อยละ 10 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทจดทะเบียน เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง (2) และ (3) ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นสามัญที่จะได้รับการจัดสรรเป็นผู้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการรับฝากทรัพย์สิน ซึ่งถือหุ้นในนามของตนเองเพื่อบุคคลอื่น ให้บริษัทจัดการพิจารณาตามการถือหุ้นของผู้ลงทุนที่ฝากทรัพย์สินแต่ละรายเป็นสําคัญ ข้อ 38 ในการจัดสรรหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่แบ่งชนิดหน่วยลงทุนตามข้อ 13(2) (ก) หากมีการกําหนดลําดับการได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละชนิดไว้แตกต่างกัน ให้บริษัทจัดการจัดสรรหน่วยลงทุนชนิดที่ให้สิทธิในการได้รับประโยชน์ตอบแทนในลําดับแรกตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จัดสรรให้แก่ผู้จองซื้อที่เป็นบุคคลธรรมดา หรือผู้จองซื้อพิเศษที่เป็นบุคคลตาม ข้อ 47(2) (ก) เท่านั้น (2) ในกรณีที่มีหน่วยลงทุนเหลือจากการจองซื้อของผู้จองซื้อตาม (1) บริษัทจัดการจะจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้ออื่น ๆ ก็ได้ (3) ห้ามมิให้บริษัทจัดการจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อที่เป็นเจ้าหนี้ของผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม หรือกลุ่มบุคคลเดียวกันกับบุคคลดังกล่าว หมวด 2 หลักเกณฑ์การเสนอขาย \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 39 การโฆษณาเสนอขายหน่วยลงทุนต้องให้ข้อมูลที่ถูกต้องและไม่มีลักษณะที่ทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ข้อ 40 บริษัทจัดการต้องจัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ โดยจะเสนอขายหน่วยลงทุนได้เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขในข้อ 41 แล้ว (1) จัดส่งหรือแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนที่มีข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง เพียงพอ และไม่ก่อ ให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนต่อผู้ลงทุนที่สนใจจะลงทุนในหน่วยลงทุน ทั้งนี้ ต้องมีรายการและข้อมูลตรงกับรายการและข้อมูลที่ปรากฏในหนังสือชี้ชวนที่ได้ยื่นต่อสํานักงานล่าสุด (2) จัดให้มีช่องทางในการแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนไม่ว่าในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสม ในกรณีที่ผู้ลงทุนแสดงเจตนาโดยสมัครใจที่จะไม่รับหนังสือชี้ชวนตามวรรคหนึ่ง บริษัทจัดการต้องจัดส่งหรือแจกจ่ายไม่ว่าด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับข้อมูลที่มีสาระตรงตามข้อมูลสรุป (executive summary) ที่ปรากฏในหนังสือชี้ชวน ข้อ 41 การเสนอขายหน่วยลงทุนให้กระทําได้ ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ครบถ้วนดังนี้ (1) พ้น 14 วันนับแต่วันที่มีการเผยแพร่ข้อมูลตามข้อ 21 ทั้งนี้ ข้อมูลที่เผยแพร่ดังกล่าวอาจยังไม่ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุน หรือข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลสําคัญซึ่งสํานักงานเห็นชอบให้แก้ไขเพิ่มเติมได้ก็ได้ (2) บริษัทจัดการได้ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนไว้ในหนังสือชี้ชวนโดยครบถ้วน และได้แจ้งการดําเนินการดังกล่าวต่อสํานักงานแล้ว ข้อ 42 ในกรณีที่บริษัทจัดการประสงค์จะตั้งผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนเป็นผู้ทําหน้าที่ในการจัดจําหน่ายหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนดังกล่าวต้องไม่มีความสัมพันธ์กับผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่กองทุนรวม ในลักษณะของการเป็นกลุ่มบุคคลเดียวกัน ข้อ 43 ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหน่วยลงทุนเป็นการทั่วไป บริษัทจัดการต้องจัดให้มีการกระจายข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนต่อประชาชนอย่างแพร่หลาย ภาค 3ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนและหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของบริษัทจัดการ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 44 บริษัทจัดการต้องจัดให้กองทุนรวมมีข้อกําหนดเกี่ยวกับเรื่องดังต่อไปนี้ ไว้ในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ (1) ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวด 1 (2) เงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุน ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวด 2 เพื่อให้การถือหน่วยลงทุนเป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน ให้บริษัทจัดการดําเนินการตามหน้าที่ที่กําหนดในหมวด 3 หมวด 1ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 45 การถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมแต่ละกองทุนรวมต้องเป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนของบุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใดตามข้อ 46 หรือข้อ 47 แล้วแต่กรณี และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ด้วย (1) ในกรณีที่ผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้เป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนของผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 48 (2) ในกรณีที่ผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นคนต่างด้าว ให้เป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนของคนต่างด้าวตามข้อ 49 ข้อ 46 ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนที่บุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใดจะถือได้ในแต่ละกองทุนรวม ต้องไม่เกินสัดส่วนดังต่อไปนี้ เว้นแต่เป็นกรณีตามข้อ 47 ให้เป็นไปตามสัดส่วนที่กําหนดไว้ในข้อดังกล่าวแทน (1) 1 ใน 3 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม (2) ร้อยละ 50 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของหน่วยลงทุนแต่ละชนิด ในกรณีที่กองทุนรวมมีการแบ่งชนิดหน่วยลงทุน ข้อ 47 ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนตามข้อ 46 ให้มีข้อยกเว้นได้ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) ผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนซึ่งรับหน่วยลงทุนไว้ตามสัญญารับประกันการจัดจําหน่ายหน่วยลงทุน ให้ได้รับยกเว้นสัดส่วนตามข้อ 46 โดยผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนดังกล่าวอาจถือหน่วยลงทุนได้โดยไม่จํากัดอัตราส่วน ทั้งนี้ เฉพาะในช่วงระยะเวลา 1 ปีนับแต่วันที่ผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนรับหน่วยลงทุนดังกล่าวไว้ (2) ผู้ถือหน่วยลงทุนที่เป็นบุคคลใดบุคคลหนึ่งดังนี้ ให้ได้รับยกเว้นสัดส่วนตามข้อ 46(1) โดยบุคคลดังกล่าวอาจถือหน่วยลงทุนได้ไม่เกินร้อยละ 50 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม (ก) กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ กองทุนประกันสังคม กองทุนสํารองเลี้ยงชีพหรือกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป (ข) นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยซึ่งไม่อยู่ภายใต้บังคับต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ข้อ 48 ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนที่ผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานทุกรายและกลุ่มบุคคลเดียวกันกับบุคคลดังกล่าวจะถือได้ในแต่ละกองทุนรวม เมื่อรวมกันทุกรายแล้วต้องไม่เกิน 1 ใน 3 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม ข้อ 49 ในกรณีที่การลงทุนของกองทุนรวมเกี่ยวข้องกับกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีกฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดที่จํากัดสัดส่วนการลงทุนของคนต่างด้าวไว้ ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนที่คนต่างด้าวจะถือได้ในแต่ละกองทุนรวมต้องเป็นไปตามสัดส่วนที่กฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดนั้นกําหนดไว้ด้วย ในกรณีที่กองทุนรวมมีการลงทุนในกิจการโครงสร้างพื้นฐานหลายประเภท และบรรดากฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับกิจการโครงสร้างพื้นฐานมีการกําหนดสัดส่วนการลงทุนของคนต่างด้าวไว้แตกต่างกัน ข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนที่คนต่างด้าวจะถือได้ในแต่ละกองทุนรวมต้องเป็นไปตามสัดส่วนที่กําหนดไว้ต่ําสุดของบรรดากฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดนั้น หมวด 2เงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 50 เงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนเกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิของผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนที่ได้รับยกเว้นข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนตามหมวด 1 ต้องมีสาระสําคัญตามข้อ 51 (2) เงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนเกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนตามหมวด 1 ดังนี้ (ก) กรณีที่บุคคลใด กลุ่มบุคคลเดียวกันใด หรือผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ถือหน่วยลงทุนเกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน ต้องมีสาระสําคัญตามข้อ 52 (ข) กรณีที่คนต่างด้าวถือหน่วยลงทุนเกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน ต้องมีสาระสําคัญตามข้อ 53 ข้อ 51 เงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิของผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนที่ได้รับยกเว้นข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน ต้องมีสาระสําคัญดังต่อไปนี้ (1) ในระหว่างระยะเวลาที่ผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนได้รับยกเว้นให้ถือหน่วยลงทุนได้โดยไม่จํากัดอัตราส่วน ผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนจะถูกจํากัดมิให้มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในส่วนที่ถือเกินกว่าสัดส่วนดังนี้ (ก) ร้อยละ 50 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม (ข) ร้อยละ 50 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของหน่วยลงทุนแต่ละชนิด ในกรณีที่กองทุนรวมนั้นมีการแบ่งชนิดของหน่วยลงทุน (2) เมื่อพ้นระยะเวลาตาม (1) หากผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนถือหน่วยลงทุนเกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนตามข้อ 46 ต้องมีสาระสําคัญตามที่กําหนดในข้อ 52 ข้อ 52 เงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิของบุคคลใด กลุ่มบุคคลเดียวกันใด หรือผู้จําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ที่ถือหน่วยลงทุนเกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน ต้องมีสาระสําคัญดังต่อไปนี้ (1) การจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนดังนี้ (ก) การรับเงินปันผลในส่วนที่ถือเกินกว่าข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนนั้น เว้นแต่ การเกินสัดส่วนดังกล่าวมิได้เกิดจากการได้หน่วยลงทุนมาเพิ่มเติม (ข) การใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในส่วนที่ถือเกินกว่าข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน ทั้งนี้ ในกรณีที่กองทุนรวมมีการแบ่งชนิดหน่วยลงทุน หากเป็นการขอมติรายชนิดหน่วยลงทุน จะถูกจํากัดมิให้ใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนในส่วนที่ถือเกินกว่าสัดส่วนดังนี้ 1. 1 ใน 3 ของจํานวนหน่วยลงทุนชนิดนั้น 2. ร้อยละ 50 ของจํานวนหน่วยลงทุนชนิดนั้น ในกรณีที่เป็นการถือหน่วยลงทุนของบุคคลตามข้อ 47(2) (ก) และ (ข) (2) การยกเงินปันผลส่วนที่ไม่อาจจ่ายแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนตามข้อจํากัดใน (1) (ก)ให้เป็นรายได้แผ่นดิน โดยถือว่าผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งปวงรับทราบและยินยอมให้ดําเนินการแล้ว (3) การจัดทําบัญชีและแยกเงินปันผลตาม (2) ออกจากทรัพย์สินอื่นของกองทุนรวมโดยไม่นํามารวมคํานวณเป็นมูลค่าทรัพย์สินของกองทุนรวม ข้อ 53 เงื่อนไขเกี่ยวกับสิทธิของคนต่างด้าวที่ถือหน่วยลงทุนเกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน ต้องมีสาระสําคัญที่แสดงว่า บริษัทจัดการหรือนายทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุนจะปฏิเสธการโอนหน่วยลงทุน ในกรณีที่การโอนหน่วยลงทุนดังกล่าวจะเป็นเหตุให้การถือหน่วยลงทุนของคนต่างด้าวเกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน หมวด 3หน้าที่ของบริษัทจัดการเพื่อให้การถือหน่วยลงทุนเป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 54 เพื่อให้มีการถือหน่วยลงทุนเป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในแต่ละกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการดําเนินการตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีระบบงานที่สามารถควบคุมการถือหน่วยลงทุนให้เป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน (2) จัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่บุคคลต่าง ๆ ไม่เกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนและดูแลให้ผู้สนับสนุนการขายหรือรับซื้อคืนจัดสรรหน่วยลงทุนไม่เกินข้อจํากัดดังกล่าวด้วย (3) ในกรณีที่มีบุคคลอื่นเป็นนายทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุน ให้บริษัทจัดการแจ้งให้นายทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุนทราบถึงข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนของคนต่างด้าว และดูแลให้นายทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุนปฏิเสธการโอนหน่วยลงทุนของคนต่างด้าว หากการโอนหน่วยลงทุนดังกล่าวจะเป็นเหตุให้การถือหน่วยลงทุนของคนต่างด้าวเกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน (4) ตรวจสอบสัดส่วนการถือหน่วยลงทุนในแต่ละกองทุนรวมเพื่อให้เป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน และดําเนินการให้ผู้สนับสนุนการขายหรือรับซื้อคืนตรวจสอบและรายงานต่อบริษัทจัดการเมื่อพบการถือหน่วยลงทุนที่ไม่เป็นไปตามข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน “ผู้สนับสนุนการขายหรือรับซื้อคืน” ตามวรรคหนึ่ง หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ หรือการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ ที่เป็นหน่วยลงทุน ข้อ 55 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงแก่บริษัทจัดการว่ามีการถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมใดเกินกว่าข้อจํากัดตามข้อ 46 ข้อ 47 หรือข้อ 48 ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) รายงานต่อสํานักงานภายใน 5 วันทําการนับแต่วันที่บริษัทจัดการรู้หรือควรรู้ถึงเหตุดังกล่าว (2) แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนจําหน่ายหน่วยลงทุนในส่วนที่ถือเกินข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุน ภาค 4การจัดการกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด 1 บททั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 56 บริษัทจัดการต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ ตลอดอายุของกองทุนรวม (1) ดูแลให้ข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการและโครงการจัดการกองทุนรวมเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนประกาศ กฎ และคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว โดยในกรณีที่ข้อกําหนดในข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการหรือโครงการจัดการกองทุนรวมขัดหรือแย้งกับหลักเกณฑ์ในกฎหมาย ประกาศ กฎ หรือคําสั่งนั้น ให้บริษัทจัดการดําเนินการเพื่อให้มีการแก้ไขข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการและโครงการจัดการกองทุนรวมโดยไม่ชักช้า (2) ดูแลให้กองทุนรวมมีลักษณะตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศนี้ ข้อ 57 ในกรณีที่ผู้ถือหน่วยลงทุนร้องขอให้บริษัทจัดการออกใบหน่วยลงทุนหรือหลักฐานแสดงสิทธิในหน่วยลงทุน ให้บริษัทจัดการออกใบหน่วยลงทุนหรือหลักฐานแสดงสิทธิในหน่วยลงทุนที่เป็นปัจจุบัน และมีข้อมูลที่จําเป็นและเพียงพอเพื่อให้ผู้ถือหน่วยลงทุนใช้เป็นหลักฐานแสดงสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนและใช้อ้างอิงต่อบริษัทจัดการและบุคคลอื่นได้ ทั้งนี้ ในกรณีที่มีข้อจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนจะระบุข้อจํากัดสิทธิเช่นว่านั้นไว้อย่างชัดเจน ข้อ 58 การเรียกเก็บค่าธรรมเนียม เงินตอบแทนอื่นใด หรือค่าใช้จ่ายจากผู้ซื้อหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน หรือกองทุนรวม บริษัทจัดการจะกระทําได้ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) มีการกําหนดอัตราและวิธีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม เงินตอบแทนอื่นใดหรือค่าใช้จ่ายดังกล่าวไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวมแล้วอย่างชัดเจน (2) ในกรณีที่เป็นการเรียกเก็บค่าใช้จ่าย ต้องเป็นค่าใช้จ่ายที่จําเป็นและสมควรซึ่งเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทุนรวมโดยตรงเท่านั้น ข้อ 59 บริษัทจัดการต้องอํานวยความสะดวกแก่ผู้ดูแลผลประโยชน์หรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากผู้ดูแลผลประโยชน์ เพื่อให้บุคคลดังกล่าวสามารถปฏิบัติหน้าที่ของตนในส่วนที่เกี่ยวกับกองทุนรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ หมวด 2 การดําเนินงานและการมอบหมายงานของบริษัทจัดการ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 60 บริษัทจัดการต้องแต่งตั้งบุคคลซึ่งเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและความเข้าใจในธุรกิจจัดการกองทุนและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งต้องได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน เพื่อทําหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) ผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อทําหน้าที่ตัดสินใจลงทุนหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (2) ผู้จัดการกองทุน เพื่อทําหน้าที่ตัดสินใจลงทุนหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินอื่นที่มิใช่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานตามวรรคหนึ่ง (1) และผู้จัดการกองทุนตามวรรคหนึ่ง (2) อาจเป็นบุคคลเดียวกันก็ได้ ข้อ 61 ในการแต่งตั้งผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน บริษัทจัดการต้องพิจารณาให้บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) ไม่เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานของบริษัทอื่นที่ดําเนินการในลักษณะที่คล้ายคลึงหรือแข่งขันกับการดําเนินการของบริษัทจัดการ เว้นแต่บริษัทจัดการแสดงได้ว่ามีการจัดโครงสร้างขององค์กรที่ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือมีมาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์นั้นได้ (2) ในกรณีที่แต่งตั้งพนักงานของบริษัทจัดการเป็นผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน บุคคลดังกล่าวต้องดํารงตําแหน่งที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ (ก) ตําแหน่งที่ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับการจัดการลงทุน (ข) ตําแหน่งกรรมการ ผู้จัดการของบริษัทจัดการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งดูแลรับผิดชอบสูงสุดในสายงานที่เกี่ยวกับการลงทุน ข้อ 62 ให้บริษัทจัดการจัดให้มีคณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุนอย่างน้อย 1 คณะเพื่อทําหน้าที่ให้คําปรึกษาหรือคําแนะนําเกี่ยวกับการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจนการจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุน คณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุนตามวรรคหนึ่ง ต้องประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้ (1) ผู้แทนจากบริษัทจัดการ โดยผู้แทนอย่างน้อย 1 รายต้องเป็นผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (2) ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้มีประสบการณ์ในกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท ข้อ 63 ในการขอคําปรึกษาหรือคําแนะนําจากคณะกรรมการที่ปรึกษาการลงทุน บริษัทจัดการต้องปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) ดําเนินการให้กรรมการแจ้งการมีส่วนได้เสียในเรื่องที่พิจารณา (2) ห้ามมิให้กรรมการผู้ที่มีส่วนได้เสียในเรื่องที่พิจารณาไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม เข้าร่วมพิจารณาในเรื่องนั้น ข้อ 64 บริษัทจัดการต้องกํากับดูแลและตรวจสอบให้บุคลากรของตนปฏิบัติงานตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และหลักเกณฑ์ที่ออกตามกฎหมายดังกล่าวรวมทั้งมาตรฐานการปฏิบัติงานที่สมาคมกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ข้อ 65 บริษัทจัดการอาจมอบหมายให้ผู้อื่นบริหารจัดการกองทุนรวมเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการลงทุนและการจัดหาผลประโยชน์ในทรัพย์สินอื่นที่มิใช่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และการปฏิบัติการด้านงานสนับสนุน ในการมอบหมายการบริหารจัดการกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง บริษัทจัดการต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) คัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมที่จะดําเนินการตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรอบคอบ และระมัดระวัง โดยในกรณีที่เป็นการมอบหมายการลงทุนและการจัดหาผลประโยชน์ในทรัพย์สินอื่นที่มิใช่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ผู้ได้รับมอบหมายต้องเป็นบุคคลที่สามารถประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนส่วนบุคคล หรือธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าประเภทการเป็นผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า แล้วแต่กรณี และหากเป็นการจัดการลงทุนในต่างประเทศ บุคคลที่ได้รับมอบหมายต้องเป็นบุคคลที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประเภทดังกล่าวจากหน่วยงานกํากับดูแลด้านหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกของ International Organization of Securities Commissions (IOSCO) ที่ได้รับการยอมรับจากสํานักงาน (2) กํากับและตรวจสอบการดําเนินการของผู้รับมอบหมายอย่างเพียงพอ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมาตรฐานการปฏิบัติงานที่สํานักงานประกาศกําหนด หรือที่สมาคมกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน หมวด 3 การจัดการลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วนที่ 1การลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 66 การได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมเป็นครั้งแรกให้บริษัทจัดการเข้าทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่จดทะเบียนกองทุนรวม โดยคิดเป็นมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ข้อ 67 บริษัทจัดการต้องดํารงมูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานณ วันสิ้นรอบปีบัญชี โดยมีมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้บริษัทจัดการจะไม่ดํารงมูลค่าดังกล่าวก็ได้ (1) กรณีที่เป็นรอบปีบัญชีสุดท้ายที่กองทุนรวมสิ้นอายุโครงการ (2) กรณีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ข้อ 68 การคํานวณมูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ ให้คํานวณจากผลรวมของราคาที่ทําให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น และมูลค่าเงินลงทุนที่กองทุนรวม คาดว่าจะต้องใช้ในการพัฒนาให้เป็นโครงการที่แล้วเสร็จ (2) กรณีที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการที่แล้วเสร็จ ให้คํานวณตามราคาที่ทําให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น (3) กรณีที่มีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามหมวด 4ให้คํานวณโดยใช้ราคาที่ได้จากการประเมินมูลค่าครั้งล่าสุด ซึ่งปรับปรุงด้วยการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ถ้ามี) และการตัดจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน(ถ้ามี) ที่เกิดขึ้นภายหลังการประเมินมูลค่าครั้งล่าสุด ในกรณีที่กองทุนรวมมีการแบ่งชําระราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานหากกองทุนรวมนําเงินส่วนที่กันไว้สําหรับการชําระราคาในคราวถัด ๆ ไป ไปลงทุนในทรัพย์สินตามข้อ 74(1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) บริษัทจัดการอาจนับเงินส่วนที่กันไว้รวมคํานวณเป็นมูลค่าของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามวรรคหนึ่งได้ ส่วนที่ 2การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 69 ในการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้บริษัทจัดการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กองทุนรวมต้องไม่ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานเอง โดยจะจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานโดยการให้เช่า ให้สิทธิ หรือให้ผู้อื่นดําเนินการเท่านั้น (2) กองทุนรวมต้องกําหนดอัตราค่าเช่า ค่าสิทธิ หรือค่าตอบแทนอื่นที่เกี่ยวข้องตลอดจนเงื่อนไขตามสัญญาจัดหาผลประโยชน์ เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของกองทุนรวม และมีลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระทํากับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ข้อ 70 ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตหรือสิทธิตามสัญญาแบ่งรายได้ตามข้อ 4(3) บริษัทจัดการต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ด้วย (1) ติดตามและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของส่วนแบ่งรายได้ที่กองทุนรวมได้รับอย่างสม่ําเสมอ (2) หากพบความผิดพลาดหรือข้อบกพร่องที่อาจทําให้กองทุนรวมไม่ได้รับส่วนแบ่งรายได้ที่ถูกต้องครบถ้วนตามข้อตกลง ต้องดําเนินการหรือมอบหมายให้ผู้เชี่ยวชาญดําเนินการให้ผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาดดังกล่าว ข้อ 71 ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 4(1) (2) (3) และ (4) บริษัทจัดการต้องจัดให้มีข้อกําหนดในเอกสารสัญญาที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้เช่าผู้รับสิทธิ หรือผู้รับจ้างที่นําทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมไปจัดหาผลประโยชน์ มีหน้าที่รายงานข้อเท็จจริงและเหตุผลต่อบริษัทจัดการโดยไม่ชักช้า เมื่อมีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันอาจมีผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ข้อ 72 ในกรณีที่กองทุนรวมลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้นที่ออกโดยบริษัทตามข้อ 4(5) บริษัทจัดการต้องจัดให้มีมาตรการหรือกลไกที่จะทําให้บริษัทจัดการสามารถดูแลและควบคุมให้บริษัทดังกล่าวมีการประกอบกิจการที่เป็นไปตามโครงการจัดการกองทุนรวม และตามหลักเกณฑ์ในประกาศนี้และประกาศอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เป็นไปในทํานองเดียวกับการปฏิบัติของกองทุนรวมโดยอนุโลม ซึ่งรวมถึงการดําเนินการของบริษัทจัดการดังต่อไปนี้ (1) การส่งบุคลากรเข้าร่วมบริหารในกิจการของบริษัทดังกล่าว โดยบุคลากรนั้นต้องเป็นผู้จัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (2) การดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ของตนเพื่อให้ผู้บริหารและบุคคลผู้มีอํานาจควบคุมกิจการโครงสร้างพื้นฐาน มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท (3) การดําเนินการตามอํานาจหน้าที่ของตนเพื่อให้การกู้ยืมเงินและการก่อภาระผูกพัน ของบริษัทดังกล่าว (ถ้ามี) เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับกองทุนรวม เว้นแต่ในกรณีของหลักเกณฑ์เกี่ยวกับอัตราส่วนการกู้ยืมเงิน จะพิจารณาเฉพาะในชั้นของกองทุนรวมก็ได้ (4) การจัดให้มีมาตรการที่จะทําให้ผู้ดูแลผลประโยชน์สามารถตรวจสอบการดําเนินการของบริษัทจัดการเพื่อให้เป็นไปตามมาตรการหรือกลไกที่บริษัทจัดการได้วางไว้ตามข้อกําหนดนี้ การดําเนินการของบริษัทจัดการเพื่อให้บริษัทตามวรรคหนึ่งมีการประกอบกิจการในทํานองเดียวกับการปฏิบัติของกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง มิให้รวมถึงการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในข้อ 69(1) โดยบริษัทดังกล่าวอาจประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานเองได้ ข้อ 72/1( ให้บริษัทจัดการจัดให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่กองทุนรวมเข้าครอบครองและดําเนินการให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินนั้นในครั้งต่อ ๆ ไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ การตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอาจดําเนินการด้วยวิธีการหรือกลไกที่น่าเชื่อถือตามที่ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมและบริษัทจัดการตกลงกันได้ (2) จัดให้มีการบันทึกสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอย่างถูกต้องและครบถ้วนให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันที่เริ่มตรวจตรา (3) ส่งสําเนาบันทึกตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้ดูแลผลประโยชน์ภายใน 5 วันทําการนับแต่วันทําบันทึกแล้วเสร็จ (4) หากบริษัทจัดการตรวจพบหรือได้รับแจ้งจากผู้ดูแลผลประโยชน์ว่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานชํารุดบกพร่องอย่างมีนัยสําคัญ ให้บริษัทจัดการดําเนินการให้มีการซ่อมแซมทรัพย์สินนั้นให้อยู่ในสภาพที่จะใช้หาผลประโยชน์ได้โดยเร็ว ส่วนที่ 3การลงทุนในทรัพย์สินอื่น \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 73 นอกจากการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานแล้ว กองทุนรวมอาจลงทุนหรือมีไว้ซึ่งทรัพย์สินอื่นที่เป็นตราสารทางการเงินตามข้อ 74 และหุ้นที่ให้สิทธิพิเศษแก่ผู้ถือหุ้นในการอนุมัติการดําเนินงานบางประการ (golden share) ตามข้อ 75 อัตราส่วนการลงทุนในทรัพย์สินอื่นตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศเกี่ยวกับอัตราส่วนการลงทุนในทรัพย์สินของกองทุนรวมทั่วไป โดยอนุโลม ข้อ 74 ตราสารทางการเงินที่กองทุนรวมอาจลงทุนในหรือมีไว้ ได้แก่ (1) พันธบัตรรัฐบาล (2) ตั๋วเงินคลัง (3) พันธบัตรหรือหุ้นกู้ที่รัฐวิสาหกิจ หรือนิติบุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นเป็นผู้ออก และมีกระทรวงการคลังเป็นผู้ค้ําประกันต้นเงินและดอกเบี้ยเต็มจํานวนแบบไม่มีเงื่อนไข (4) เงินฝากในธนาคาร หรือบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (5) บัตรเงินฝากที่ธนาคารหรือบริษัทเงินทุนเป็นผู้ออก ทั้งนี้ หากเป็นบัตรเงินฝากที่เข้าลักษณะของตราสารที่มีลักษณะของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝง ต้องได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานก่อนการลงทุน (6) ตั๋วแลกเงินหรือตั๋วสัญญาใช้เงินที่ธนาคาร บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ หรือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เป็นผู้ออก ผู้รับรอง ผู้รับอาวัล ผู้สลักหลังโอนประเภทมีสิทธิไล่เบี้ย หรือผู้ค้ําประกัน ทั้งนี้ หากเป็นตั๋วแลกเงินหรือตั๋วสัญญาใช้เงินที่เข้าลักษณะของตราสารที่มีลักษณะของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝง ต้องได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานก่อนการลงทุน (7) หน่วยลงทุนหรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหน่วยลงทุนของกองทุนรวม ตราสารแห่งหนี้ หรือกองทุนรวมอื่นที่มีนโยบายการลงทุนในตราสารแห่งหนี้ หรือเงินฝาก (8) หน่วยลงทุนของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานอื่น (9) หน่วยของโครงการจัดการลงทุนต่างประเทศ ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขที่ครบถ้วนดังนี้ (ก) เป็นหน่วยของโครงการจัดการลงทุนต่างประเทศ ที่อยู่ภายใต้การกํากับดูแลของหน่วยงานกํากับดูแลด้านหลักทรัพย์และตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกสามัญของ International Organization of Securities Commissions (IOSCO) หรือเป็นหน่วยของโครงการจัดการลงทุนต่างประเทศ ที่มีการซื้อขายในตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกของ World Federation of Exchanges (WFE) (ข) โครงการจัดการลงทุนต่างประเทศตาม (ก) จัดตั้งขึ้นเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป และมีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินประเภทและชนิดเดียวกับทรัพย์สินที่กองทุนรวมสามารถลงทุนหรือมีไว้ได้ (10) หุ้นที่ออกโดยบริษัทที่เป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (ก) บริษัทนั้นมีการลงทุนทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 4(1) (2) (3) หรือ (4) รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของบริษัทดังกล่าว หรือมีรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 4(1) (2) (3) หรือ (4) รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของรายได้รวมในแต่ละปีบัญชี (ข) บริษัทนั้นมิใช่บริษัทตามข้อ 4(5) (11) สัญญาซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งการเข้าทําสัญญาดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันความเสี่ยงของกองทุนรวม ข้อ 75 กองทุนรวมอาจลงทุนในหรือมีไว้ซึ่งหุ้นที่ออกโดยนิติบุคคลใดนิติบุคคลหนึ่งดังต่อไปนี้ ซึ่งเป็นหุ้นที่ให้สิทธิพิเศษแก่ผู้ถือหุ้นในการอนุมัติการดําเนินงานบางประการ (golden share) ตามที่กําหนดไว้ในข้อบังคับของนิติบุคคลดังกล่าว โดยให้กองทุนรวมลงทุนหรือมีไว้ได้ไม่เกิน 1 หุ้น (1) นิติบุคคลที่เป็นผู้เช่า ผู้รับสิทธิ หรือผู้รับจ้างในการนําทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมไปจัดหาผลประโยชน์ และนิติบุคคลดังกล่าวตกลงชําระค่าตอบแทนให้แก่กองทุนรวมในอัตราผันแปรตามผลประกอบการของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น (2) นิติบุคคลที่กองทุนรวมเข้าทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 4(3) ส่วนที่ 4การได้มาเพิ่มเติมและจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และการทําธุรกรรมระหว่างกองทุนรวมกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 76 การได้มาเพิ่มเติมและจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวด 1 ของภาค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับลักษณะการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวม โดยอนุโลม และให้บริษัทจัดการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ด้วย (1) การได้มาเพิ่มเติมหรือการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าเกินกว่า 100 ล้านบาท หรือตั้งแต่ร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวมขึ้นไปจะกระทําได้เมื่อได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุน เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้ (ก) การได้มาเพิ่มเติมหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อตกลงหรือสัญญาที่มีกับภาครัฐซึ่งได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในโครงการจัดการกองทุนรวม (ข) การได้มาเพิ่มเติมหรือการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าเกินกว่า 100 ล้านบาท แต่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม ที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้ดูแลผลประโยชน์แล้ว การคํานวณมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามวรรคหนึ่ง ให้พิจารณาจากมูลค่าการลงทุนในแต่ละกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ทุกรายการภายในรอบระยะเวลา 6 เดือน (2) การได้มาเพิ่มเติมหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1)ให้รวมถึงการได้มาเพิ่มเติมหรือจําหน่ายไปไม่ว่าโดยทางตรง หรือโดยทางอ้อมผ่านบริษัทที่กองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นตามข้อ 4(5) ด้วย ข้อ 77 การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ที่มีมูลค่าของสัญญาเกินกว่า 100 ล้านบาท หรือตั้งแต่ร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวมขึ้นไป จะกระทําได้เมื่อได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุนเว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์ ซึ่งได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในโครงการจัดการกองทุนรวม (2) การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์ที่มีมูลค่าของสัญญาเกินกว่า 100 ล้านบาท แต่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวมที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้ดูแลผลประโยชน์แล้ว การคํานวณมูลค่าของสัญญาตามวรรคหนึ่ง ให้พิจารณาจากมูลค่าของสัญญาทุกรายการภายในรอบระยะเวลา 6 เดือน ข้อ 78 การทําธุรกรรมระหว่างกองทุนรวมกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ให้บริษัทจัดการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ในการทําธุรกรรมที่เกี่ยวกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้บริษัทจัดการปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศที่กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการกระทําที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการจัดการกองทุนรวม และหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (ก) เป็นธุรกรรมที่ใช้ราคาที่เป็นธรรม (ข) เป็นธุรกรรมที่บุคคลที่มีส่วนได้เสียกับการทําธุรกรรมไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเข้าทําธุรกรรม (ค) การคิดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการเข้าทําธุรกรรมจากกองทุนรวมอยู่ในอัตราที่เป็นธรรมและเหมาะสม (2) การดําเนินการดังต่อไปนี้ บริษัทจัดการจะกระทําได้เมื่อได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุน (ก) การเข้าทําธุรกรรมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เป็นการได้มาเพิ่มเติม หรือการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมีมูลค่าของทรัพย์สินไม่น้อยกว่า 20 ล้านบาทหรือไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม แล้วแต่จํานวนใดจะสูงกว่า เว้นแต่เป็นกรณีที่ต้องปฏิบัติตามข้อตกลงหรือสัญญาที่มีกับภาครัฐ ซึ่งได้ระบุไว้เป็นการเฉพาะเจาะจงแล้วในโครงการจัดการกองทุนรวม (ข) การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมีมูลค่าของสัญญาไม่น้อยกว่าที่กําหนดไว้ใน (ก) (ค) การตกลง ยินยอม หรือใช้สิทธิออกเสียง เพื่อให้บริษัทที่กองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นตามข้อ 4(5) ทําธุรกรรมตาม (ก) หรือ (ข) กับบุคคลที่เกี่ยวข้อง หมวด 4การประเมินมูลค่าทรัพย์สิน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 79 การประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 15 และหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 4(1) (2) (3) หรือ (4) จะกระทําโดยผู้ประเมินมูลค่ารายเดียวกันติดต่อกันเกิน 2 ครั้งมิได้ (2) ในกรณีดังนี้ ให้บริษัทจัดการจัดให้มีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานโดยไม่ชักช้า (ก) กรณีที่ปรากฏแก่บริษัทจัดการว่ามีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆอันอาจมีผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอย่างมีนัยสําคัญ (ข) กรณีที่ได้รับการร้องขอจากผู้ดูแลผลประโยชน์หรือผู้สอบบัญชีของกองทุนรวม ข้อ 80 การประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานในกรณีดังต่อไปนี้ให้กระทําทุก 3 ปีนับแต่วันที่มีการประเมินมูลค่าครั้งล่าสุด (1) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 4(1) (2) (3) หรือ (4) (2) การประเมินมูลค่าในชั้นของบริษัท กรณีที่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นหุ้นที่ออกโดยบริษัทตามข้อ 4(5) ข้อ 81 การประเมินมูลค่าทรัพย์สินอื่นที่กองทุนรวมหรือบริษัทตามข้อ 4(5) ลงทุนให้ประเมินมูลค่าตามหลักเกณฑ์ในข้อ 15(3) หมวด 5การขอมติและการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วนที่ 1 การขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 82 การขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวม ให้เป็นไปตามบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวในกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และข้อ 87 ข้อ 89(1) ข้อ 94 ข้อ 95 และข้อ 99 โดยอนุโลม การขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนตามวรรคหนึ่ง บริษัทจัดการอาจดําเนินการด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์โดยคํานึงถึงความเหมาะสมของผู้ถือหน่วยลงทุน มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของการดําเนินการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมหรือการดําเนินการทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย ข้อ 83 การแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวมในเรื่องดังต่อไปนี้ ต้องได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มาประชุมหรือที่ตอบกลับและมีสิทธิออกเสียง (1) การเปลี่ยนแปลงนโยบายการลงทุนที่ทําให้ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ (2) การแก้ไขเปลี่ยนแปลงการประกันรายได้ของกองทุนรวม (3) การควบรวมกองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนและความเสี่ยงแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ (4) การชําระและรับชําระหนี้ของกองทุนรวมด้วยทรัพย์สินอื่นแทนเงิน (5) การเพิ่มค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายมากกว่าร้อยละ 5 ของค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายตามที่ระบุไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม ข้อ 84 ในกรณีที่ผู้ถือหน่วยลงทุนมีการใช้สิทธิร้องขอให้ศาลสั่งเพิกถอนมติของผู้ถือหน่วยลงทุนในการแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการรายงานการใช้สิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนต่อสํานักงานโดยไม่ชักช้า และรายงานความคืบหน้าของการใช้สิทธิต่อสํานักงานทุก 6 เดือน หรือเมื่อมีความคืบหน้าเกี่ยวกับการใช้สิทธิ แล้วแต่เหตุการณ์ใดจะเกิดก่อน ทั้งนี้ให้บริษัทจัดการเผยแพร่รายงานดังกล่าวในลักษณะที่ผู้ลงทุนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ด้วย ส่วนที่ 2 การขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อดําเนินการใด ๆเกี่ยวกับกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 85 ความในส่วนนี้ให้นํามาใช้บังคับกับการขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อดําเนินการใด ๆ เกี่ยวกับกองทุนรวม เว้นแต่ในกรณีที่มีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนไว้เป็นการเฉพาะไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกรณีนั้นแทน ข้อ 86 การขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อดําเนินการใด ๆ เกี่ยวกับกองทุนรวมบริษัทจัดการจะกระทําโดยการจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนหรือการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนก็ได้ ทั้งนี้ บริษัทจัดการอาจดําเนินการด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์โดยคํานึงถึงความเหมาะสมของผู้ถือหน่วยลงทุน มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของการดําเนินการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมหรือการดําเนินการทางอิเล็กทรอนิกส์ด้วย ข้อ 87 บริษัทจัดการต้องดําเนินการเพื่อให้การออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) การออกเสียงลงคะแนน ให้ผู้ถือหน่วยลงทุนมีคะแนนเสียงเท่าจํานวนหน่วยลงทุนที่ถือ โดยถือว่า 1 หน่วยลงทุนมี 1 เสียง เว้นแต่ผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีลักษณะต่อไปนี้ มิให้มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (ก) ผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยทางอ้อมในเรื่องที่ขอมติ (ข) ผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนเกินกว่าสัดส่วนที่กําหนดตามภาค 3ซึ่งถูกจํากัดสิทธิออกเสียงเฉพาะหน่วยลงทุนในส่วนที่ถือเกินกว่าสัดส่วนดังกล่าว (ค) ผู้ถือหน่วยลงทุนที่เป็นกองทุนรวมอื่นที่อยู่ภายใต้การจัดการของบริษัทจัดการเดียวกัน ทั้งนี้ กองทุนรวมอื่นให้รวมถึงกองทุนรวมที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ทุกประเภท (2) การกําหนดผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อนี้ (ก) เป็นผู้ถือหน่วยลงทุน ณ วันที่บริษัทจัดการกําหนด และจํานวนหน่วยลงทุนที่ผู้ถือหน่วยลงทุนแต่ละรายจะมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนให้เป็นไปตามที่ปรากฏในสมุดทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุน ณ วันเดียวกันนั้น ทั้งนี้ วันที่บริษัทจัดการกําหนดดังกล่าวต้องเป็นวันที่ล่วงหน้าก่อนลงมติไม่เกิน 2 เดือน แต่ต้องไม่ก่อนวันที่บริษัทจัดการอนุมัติให้มีการขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุน และเมื่อบริษัทจัดการได้กําหนดวันเพื่อกําหนดผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีสิทธิลงมติแล้วจะเปลี่ยนแปลงมิได้ (ข) เป็นผู้ถือหน่วยลงทุนที่บริษัทจัดการรวบรวมรายชื่อได้จากการปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน ในกรณีของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานที่มีผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมดเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ ให้บริษัทจัดการเปิดเผยวันกําหนดรายชื่อผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนหรือวันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุนผ่านช่องทางที่ผู้ลงทุนสามารถเข้าถึงได้ตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเปิดเผยสารสนเทศของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานที่ออกโดยตลาดหลักทรัพย์โดยอนุโลม ข้อ 88 การขอมติโดยการจัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมในส่วนที่ 3 ข้อ 89 การขอมติโดยการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) บริษัทจัดการต้องส่งหนังสือขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนวันปิดรับหนังสือตอบกลับจากผู้ถือหน่วยลงทุน ทั้งนี้ หนังสือขอมติดังกล่าวต้องระบุวันปิดรับหนังสือตอบกลับไว้อย่างชัดเจน และมีรายละเอียดตามข้อ 94(1) โดยอนุโลม (2) มติของผู้ถือหน่วยลงทุน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีที่เป็นการขอมติเพื่อทํารายการสําคัญตามข้อ 98 ให้ถือมติตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีสิทธิออกเสียงและตามหลักเกณฑ์ในข้อ 99 โดยอนุโลม (ข) กรณีอื่นใดนอกจาก (ก) ให้นําความในมาตรา 129/2 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ส่วนที่ 3 การประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 90 ในการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน นอกจากที่กําหนดไว้ส่วนนี้ ให้นําความในมาตรา 129/2 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ 91 ในกรณีที่กองทุนรวมมีผู้ถือหน่วยลงทุนทั้งหมดเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ มิให้นําความในข้อ 92 และข้อ 93 มาใช้บังคับ ข้อ 92 ให้บริษัทจัดการจัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นการประชุมสามัญประจําปีภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดของรอบปีบัญชีของกองทุนรวม เพื่อรายงานให้ที่ประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนรับทราบในเรื่องดังต่อไปนี้เป็นอย่างน้อย (1) การจัดการกองทุนรวมในเรื่องที่สําคัญ และแนวทางการจัดการกองทุนรวมในอนาคต (2) ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกองทุนรวมในรอบปีบัญชีที่ผ่านมาโดยอย่างน้อยต้องมีการนําเสนองบการเงินที่ผ่านการตรวจสอบและแสดงความเห็นจากผู้สอบบัญชีแล้ว (3) การแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของกองทุนรวม และค่าใช้จ่ายในการสอบบัญชี ข้อ 93 ในกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ ให้บริษัทจัดการจัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนเป็นการประชุมวิสามัญ (1) เมื่อบริษัทจัดการเห็นสมควรให้มีการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อประโยชน์ในการจัดการกองทุนรวม (2) เมื่อผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งถือหน่วยลงทุนรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม เข้าชื่อกันทําหนังสือขอให้บริษัทจัดการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน โดยระบุเหตุผลในการขอให้เรียกประชุมไว้อย่างชัดเจน ในกรณีที่ปรากฏเหตุตามวรรคหนึ่ง (2) บริษัทจัดการต้องจัดให้มีการประชุมวิสามัญผู้ถือหน่วยลงทุนภายใน 45 วันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือของผู้ถือหน่วยลงทุน ข้อ 94 ในการเรียกประชุมผู้ถือหน่วยลงทุน ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (1) จัดทําหนังสือนัดประชุมที่มีรายละเอียดเพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้ถือหน่วยลงทุน โดยอย่างน้อยต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการประชุม ตลอดจนระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่จะเสนอต่อที่ประชุมพร้อมด้วยรายละเอียดตามสมควร โดยระบุให้ชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่จะเสนอเพื่อทราบเพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งความเห็นของบริษัทจัดการและผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมในเรื่องดังกล่าว โดยให้ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการออกเสียงลงมติในแต่ละวาระ และวันที่ประสงค์จะให้มติมีผล ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการเสนอเรื่องเพื่ออนุมัติหรือเพื่อพิจารณา ให้ระบุความเห็นของบริษัทจัดการและผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมเกี่ยวกับผลกระทบที่ผู้ถือหน่วยลงทุนอาจได้รับจากการลงมติในเรื่องนั้น ๆ ด้วย (2) จัดส่งหนังสือนัดประชุมถึงผู้ถือหน่วยลงทุนล่วงหน้าก่อนวันประชุมตามระยะเวลาดังนี้ (ก) 14 วัน ในกรณีที่เป็นการประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งมีวาระที่ต้องได้มติผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง (ข) 7 วัน ในกรณีอื่นนอกจาก (ก) และกรณีการนัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนตามมาตรา 129/2 วรรคสองแห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 บริษัทจัดการต้องจัดให้ผู้ดูแลผลประโยชน์เข้าร่วมการประชุมดังกล่าวด้วย โดยให้จัดส่งหนังสือนัดประชุมตามวรรคหนึ่งไปยังผู้ดูแลผลประโยชน์พร้อมกับการจัดส่งไปยังผู้ถือหน่วยลงทุน ข้อ 95 ในการมอบฉันทะของผู้ถือหน่วยลงทุนให้ผู้ใดเข้าประชุมและออกเสียงแทนบริษัทจัดการต้องดําเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ถือหน่วยลงทุน 1 รายสามารถมอบฉันทะให้ผู้รับมอบฉันทะได้เพียง 1 ราย (2) หนังสือมอบฉันทะต้องระบุจํานวนหน่วยลงทุนของผู้มอบฉันทะ ชื่อผู้รับมอบฉันทะ และครั้งที่ของการประชุมที่มอบฉันทะให้เข้าประชุมและออกเสียงลงคะแนน ให้บริษัทจัดการระบุเอกสารที่ผู้รับมอบฉันทะต้องนํามาแสดงในวันประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนด้วย ข้อ 96 การประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนที่ได้เรียกนัดเพราะผู้ถือหน่วยลงทุนร้องขอตามข้อ 93 วรรคหนึ่ง (2) หากล่วงเวลานัดไปแล้วถึง 1 ชั่วโมง จํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งมาเข้าร่วมประชุมไม่ครบเป็นองค์ประชุมซึ่งอนุโลมใช้ตามมาตรา 129/2 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ให้การประชุมนั้นเป็นอันระงับไป ข้อ 97 ให้บริษัทจัดการควบคุมการประชุมให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ โครงการจัดการกองทุนรวม และข้อผูกพันระหว่างบริษัทจัดการกับผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม โดยต้องดําเนินการประชุมให้เป็นไปตามลําดับระเบียบวาระที่กําหนดไว้ในหนังสือนัดประชุม เว้นแต่ที่ประชุมจะมีมติให้เปลี่ยนลําดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งมาประชุม เมื่อที่ประชุมพิจารณาเสร็จตามวรรคหนึ่งแล้ว ผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งมีหน่วยลงทุนนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้ทั้งหมด จะขอให้ที่ประชุมพิจารณาเรื่องอื่นนอกจากที่กําหนดไว้ในหนังสือนัดประชุมอีกก็ได้ ในกรณีที่ที่ประชุมพิจารณาเรื่องตามลําดับระเบียบวาระไม่เสร็จตามวรรคหนึ่ง หรือพิจารณาเรื่องที่ผู้ถือหน่วยลงทุนเสนอไม่เสร็จตามวรรคสอง แล้วแต่กรณี และจําเป็นต้องเลื่อนการพิจารณา ให้ที่ประชุมกําหนดสถานที่ วัน และเวลาที่จะประชุมครั้งต่อไป และให้บริษัทจัดการส่งหนังสือนัดประชุม ระบุสถานที่ วัน เวลา และระเบียบวาระการประชุมไปยังผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันประชุม ข้อ 98 การขอมติของผู้ถือหน่วยลงทุนในเรื่องดังต่อไปนี้ ให้ถือมติตามจํานวนหน่วยลงทุนรวมกันไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนหน่วยลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง (1) การได้มาเพิ่มเติมหรือการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าเกินกว่า 100 ล้านบาท หรือตั้งแต่ร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวมขึ้นไป (2) การทําธุรกรรมระหว่างกองทุนรวมกับบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เป็นการได้มาเพิ่มเติม หรือการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งมีมูลค่าของทรัพย์สินไม่น้อยกว่า20 ล้านบาทหรือไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม แล้วแต่จํานวนใดจะสูงกว่า (3) การเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม (4) การลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมตามข้อ 115(4) (5) การเข้าทํา แก้ไข หรือยกเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ที่มีมูลค่าของสัญญาเกินกว่า 100 ล้านบาท หรือตั้งแต่ร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวมขึ้นไป (6) การตกลง ยินยอม หรือใช้สิทธิออกเสียง ในกรณีที่บริษัทที่กองทุนรวมเป็นผู้ถือหุ้นตามข้อ 4(5) จะดําเนินการตาม (1) (2) (3) (4) หรือ (5) ข้อ 99 ในกรณีที่กองทุนรวมมีการแบ่งหน่วยลงทุนออกเป็นหลายชนิด มติของผู้ถือหน่วยลงทุนต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ด้วย (1) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุนทุกชนิด โดยแต่ละชนิดได้รับผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุนไม่เท่ากัน ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนแต่ละชนิด (2) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุนไม่ว่ากรณีใด ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนแต่ละชนิด (3) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุนชนิดใดชนิดหนึ่งให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยลงทุนชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนหน่วยลงทุนชนิดนั้น หมวด 6การจ่ายเงินปันผล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 100( บริษัทจัดการต้องจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วในแต่ละรอบปีบัญชี ทั้งนี้ ภายใน 90 วันนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชี หรือวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่ายเงินปันผลนั้น แล้วแต่กรณี กําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วตามวรรคหนึ่ง ให้หมายถึงกําไรสุทธิที่หักด้วยรายการ เงินสํารองเฉพาะเพื่อการดังนี้ (ก) การซ่อมแซม บํารุงรักษา หรือปรับปรุงกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมตามแผนที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวนแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี รายงานประจําปี หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า (ข) การชําระหนี้เงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันของกองทุนรวมตามนโยบายการกู้ยืมเงินที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวมและหนังสือชี้ชวน แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี รายงานประจําปี หรือที่บริษัทจัดการได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน้า (ค) การจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนชนิดที่ให้สิทธิในการได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนในลําดับแรก (ถ้ามี) (2) ในการพิจารณาจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน บริษัทจัดการจะต้องพิจารณาถึงความจําเป็นในการดํารงเงินสดของกองทุนรวมให้เหมาะสม ทั้งนี้ ตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด (3) บริษัทจัดการต้องไม่กู้ยืมเงินเพื่อจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุน (4) ในกรณีที่กองทุนรวมยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ ห้ามมิให้บริษัทจัดการจ่ายเงินปันผล ในกรณีที่บริษัทจัดการไม่สามารถจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง (1) ผู้ดูแลผลประโยชน์และบริษัทจัดการต้องชี้แจงเหตุผลความจําเป็นต่อสํานักงานตามแนวทางที่สํานักงานกําหนด และเปิดเผยให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทราบในการประชุมสามัญประจําปี ข้อ 101( ยกเลิก ข้อ 102( ยกเลิก หมวด 7การเพิ่มเงินทุนจดทะเบียน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 103 การเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมจะกระทําได้ต่อเมื่อได้รับอนุมัติจากสํานักงาน เว้นแต่เป็นการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมโดยการเสนอขายหน่วยลงทุนในกรณีดังต่อไปนี้ (1) กรณีการเสนอขายหน่วยลงทุนทั้งจํานวนต่อผู้ถือหน่วยลงทุนตามสัดส่วนการถือหน่วยลงทุนโดยได้รับชําระราคาเต็มมูลค่าที่เสนอขายจากผู้ถือหน่วยลงทุน และได้เริ่มเสนอขายภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุนให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียนดังกล่าว (2) กรณีการเสนอขายหน่วยลงทุนในลักษณะเป็นการทั่วไปโดยกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ที่จะซื้อหน่วยลงทุนต้องเป็นผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวม และจํานวนการจองซื้อไม่เกินกว่าสัดส่วนการถือหน่วยลงทุน โดยเป็นการเสนอขายตามมติของผู้ถือหน่วยลงทุนที่ให้เสนอขายต่อผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน แต่จะไม่เสนอขายให้ผู้ถือหน่วยลงทุนที่จะทําให้กองทุนรวมหรือบริษัทจัดการมีหน้าที่ตามกฎหมายต่างประเทศ ส่วนที่ 1 หลักเกณฑ์การอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 104 การเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมจะได้รับอนุมัติจากสํานักงานเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กองทุนรวมมีลักษณะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมตามหมวด 1 ของภาค 1 โดยอนุโลม (2) การเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมไม่ขัดหรือแย้งกับโครงการจัดการกองทุนรวม หรือกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนประกาศ กฎ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าวด้วย (3) ผู้ถือหน่วยลงทุนมีมติโดยชัดแจ้งอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมด้วยคะแนนเสียงตามที่กําหนดในหมวด 5 ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมโดยเสนอขายหน่วยลงทุนเป็นการเฉพาะเจาะจงให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนบางราย ต้องไม่มีผู้ถือหน่วยลงทุนซึ่งถือหน่วยลงทุนรวมกันเกินกว่าร้อยละ 10 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดคัดค้านการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมดังกล่าว (4) หนังสือนัดประชุมหรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ ต้องมีข้อมูลอย่างน้อยตามข้อ 105 หรือข้อ 106 ข้อ 105 หนังสือนัดประชุมหรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติเพื่อเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ต้องมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) วัตถุประสงค์ในการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม (2) จํานวนหน่วยลงทุนเพิ่มทุน ราคาเสนอขาย วิธีการเสนอขายและการจัดสรรหน่วยลงทุน (3) ในกรณีที่ราคาเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนต่ํากว่าราคาที่เสนอขายต่อผู้ถือหน่วยลงทุน หรือต่ํากว่าราคาตลาด (ถ้ามี) บริษัทจัดการจะแสดงเหตุผลที่จะเสนอขายหน่วยลงทุนต่อผู้ลงทุนในราคาดังกล่าว (4) ผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุนหรือกองทุนรวมจากการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม โดยบริษัทจัดการจะระบุข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบต่อราคาตลาดของหน่วยลงทุนแต่ละชนิด(price dilution) (ข) ผลกระทบต่อส่วนแบ่งกําไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหน่วยลงทุนเดิม(control dilution) (ค) ข้อมูลอื่นใดที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุนของผู้ถือหน่วยลงทุน ข้อ 106 ในกรณีที่เป็นการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนเพื่อให้ได้มาเพิ่มเติมซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน นอกจากข้อมูลตามข้อ 105 แล้ว หนังสือนัดประชุมหรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ ต้องมีการเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ด้วย (1) ลักษณะของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว (2) หลักเกณฑ์การกําหนดราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว (3) สรุปรายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว และสมมติฐานที่สําคัญในการประเมินมูลค่า (4) ความเห็นของบริษัทจัดการเกี่ยวกับความสมเหตุสมผลของสมมติฐานในการประเมินมูลค่าตาม (3) (5) สรุปสาระสําคัญของข้อตกลงเกี่ยวกับการจัดหาประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว และร่างสัญญาอื่นที่เกี่ยวข้อง (6) การกู้ยืมเงินและผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุน (ถ้ามี) เช่น แหล่งที่มาและจํานวนเงินที่จะกู้ยืม ทรัพย์สินที่จะนําไปเป็นหลักประกัน ลําดับสิทธิของเจ้าหนี้เงินกู้ยืมและผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนแต่ละชนิด เป็นต้น ในกรณีที่บริษัทจัดการพิจารณาแล้วมีความเชื่อโดยสุจริตและสมเหตุสมผลว่าการเปิดเผยข้อมูลบางรายการตามวรรคหนึ่งก่อนการเข้าทํารายการที่ได้รับมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนจะส่งผลกระทบต่อประโยชน์ของกองทุนรวมและผู้ถือหน่วยลงทุนโดยรวม บริษัทจัดการจะไม่ระบุข้อมูลนั้นก็ได้ โดยให้แสดงเหตุผลในการไม่ระบุข้อมูลดังกล่าวไว้ในหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ เมื่อความจําเป็นในการไม่เปิดเผยข้อมูลนั้นหมดไป ให้บริษัทจัดการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อผู้ถือหน่วยลงทุนโดยไม่ชักช้า ส่วนที่ 2 การยื่นคําขออนุมัติเพิ่มเงินทุนจดทะเบียน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 107 ให้บริษัทจัดการที่ประสงค์จะเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมยื่นคําขอเป็นหนังสือ พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอดังต่อไปนี้ (1) รายละเอียดโครงการจัดการกองทุนรวมในส่วนที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม (2) ร่างหนังสือชี้ชวนที่ใช้ในการเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติม ทั้งนี้ ร่างหนังสือชี้ชวนดังกล่าวจะยังไม่ระบุข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหน่วยลงทุนก็ได้ (3) เอกสารหลักฐานอื่นตามที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน ข้อ 108 เมื่อบริษัทจัดการได้ยื่นคําขออนุมัติเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานครบถ้วนตามข้อ 107 แล้ว ให้บริษัทจัดการเผยแพร่ข้อมูลที่มีสาระตรงตามโครงการจัดการกองทุนรวมและร่างหนังสือชี้ชวนที่แก้ไขเพิ่มเติมครั้งหลังสุดต่อผู้ลงทุนผ่านระบบการรับส่งข้อมูลตามที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ข้อ 109 ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุมัติเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมภายใน 165 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ส่วนที่ 3การดําเนินการเมื่อได้รับอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 110 บริษัทจัดการที่ได้รับอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) เริ่มเสนอขายหน่วยลงทุนภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ได้รับอนุมัติจากสํานักงานให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียน (2) จัดสรรและเสนอขายหน่วยลงทุนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในภาค 2 (3) แก้ไขเพิ่มเติมเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวมและการแก้ไขเพิ่มเติมรายการทางทะเบียน ข้อ 111 ในระหว่างการเสนอขายหน่วยลงทุนเพื่อเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม บริษัทจัดการอาจยุติการขายหน่วยลงทุนได้ โดยต้องดําเนินการตามหลักเกณฑ์ในข้อ 25 และข้อ 26 โดยอนุโลม ข้อ 112 บริษัทจัดการต้องจัดให้มีการยื่นคําขอจดทะเบียนหน่วยลงทุนเพิ่มทุนที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันปิดการเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติม ส่วนที่ 4 การสิ้นสุดการอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 113 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงดังต่อไปนี้ ให้การอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมเป็นอันสิ้นสุดลง (1) บริษัทจัดการมิได้เริ่มเสนอขายหน่วยลงทุนเพื่อการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนภายในกําหนดเวลาตามข้อ 110(1) (2) มูลค่าหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้ เมื่อรวมกับมูลค่าการกู้ยืมเงินจากบุคคลอื่น (ถ้ามี)มีมูลค่าไม่เพียงพอที่จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามที่ได้รับมติของผู้ถือหน่วยลงทุน ข้อ 114 ในกรณีที่การอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมสิ้นสุดลงตามข้อ 113(2) ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) แจ้งให้สํานักงานทราบภายใน 15 วันนับแต่วันสิ้นสุดระยะเวลาเสนอขายหน่วยลงทุน (2) คืนเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุนและผลประโยชน์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นจากเงินที่ได้รับจากการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนภายใน 14 วันนับแต่วันสิ้นสุดระยะเวลาการเสนอขายหน่วยลงทุนนั้นตามสัดส่วนของเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุน ทั้งนี้ หากบริษัทจัดการไม่สามารถคืนเงินและผลประโยชน์ภายในกําหนดเวลานั้นได้เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งที่บริษัทจัดการต้องรับผิดชอบ ให้บริษัทจัดการชําระดอกเบี้ยในอัตราไม่ต่ํากว่าร้อยละ 7.5 ต่อปีนับแต่วันที่ครบกําหนดเวลานั้นจนถึงวันที่บริษัทจัดการคืนเงินค่าจองซื้อครบถ้วน หมวด 8การลดเงินทุนจดทะเบียน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 115 การลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม บริษัทจัดการอาจกระทําได้เฉพาะเมื่อเข้ากรณีดังต่อไปนี้ (1) เป็นการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมตามแผนที่ได้กําหนดไว้อย่างชัดเจนในโครงการจัดการกองทุนรวม (2) กองทุนรวมมีสภาพคล่องส่วนเกินที่เหลืออยู่ภายหลังจากการจําหน่ายทรัพย์สิน กิจการโครงสร้างพื้นฐานและการจ่ายเงินปันผล ทั้งนี้ ต้องปรากฏข้อเท็จจริงด้วยว่ากองทุนรวมไม่มีกําไรสะสมเหลืออยู่แล้ว (3) กองทุนรวมมีรายการค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด และไม่มีเหตุต้องนําไปใช้ในการคํานวณกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วของกองทุนรวม (4) กรณีอื่นใดที่มีมติของผู้ถือหน่วยลงทุนให้ลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ข้อ 116 ให้บริษัทจัดการดําเนินการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่กองทุนรวมมีการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียนเพื่อลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเพิ่มเติมแล้ว แต่ปรากฏเหตุขัดข้องในภายหลังอันทําให้ไม่สามารถได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าวได้ ข้อ 117 การลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กระทําโดยการลดมูลค่าหน่วยลงทุนหรือจํานวนหน่วยลงทุน เว้นแต่ในกรณีของกองทุนรวมที่มีการแบ่งหน่วยลงทุนออกเป็นหลายชนิด และจะมีการลดเงินทุนจดทะเบียนของหน่วยลงทุนแต่ละชนิดไม่พร้อมกันหรือไม่เท่ากัน ให้กระทําได้โดยการลดจํานวนหน่วยลงทุนเท่านั้น (2) เฉลี่ยเงินคืนแก่ผู้ถือหน่วยลงทุนที่มีชื่ออยู่ในสมุดทะเบียน ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยลงทุน โดยไม่หักเงินที่เฉลี่ยคืนดังกล่าวจากกําไรสะสมของกองทุนรวม ข้อ 118 ในกรณีที่บริษัทจัดการมีการขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการเปิดเผยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ในหนังสือนัดประชุม หรือหนังสือแจ้งผู้ถือหน่วยลงทุนเพื่อขอมติ แล้วแต่กรณี (1) เหตุแห่งการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม (2) จํานวนเงินทุนจดทะเบียนและจํานวนเงินทุนจดทะเบียนต่อหน่วยลงทุนที่ลดลงในแต่ละครั้ง (3) ผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยลงทุนหรือกองทุนรวมจากการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม ข้อ 119 ในการลดเงินทุนจดทะเบียน ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) แก้ไขเพิ่มเติมเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวมและการแก้ไขเพิ่มเติมรายการทางทะเบียน (2) จัดให้มีข้อมูลเกี่ยวกับการลดเงินทุนจดทะเบียนทุกครั้งของกองทุนรวมไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทจัดการเพื่อให้ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบได้ โดยข้อมูลดังกล่าวต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) เหตุแห่งการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม (ข) จํานวนเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมและจํานวนเงินทุนจดทะเบียนต่อหน่วยลงทุนที่ลดในแต่ละครั้ง (ค) วันปิดสมุดทะเบียน และวันที่ดําเนินการเฉลี่ยเงินคืนผู้ถือหน่วยลงทุน หมวด 9การเลิกกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 120 ให้บริษัทจัดการดําเนินการเลิกกองทุนรวม ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) เมื่อจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนลดลงเหลือน้อยกว่า 35 ราย เว้นแต่จะได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน (2) เมื่อมีการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมและบริษัทจัดการนําเงินไปลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวม จนทําให้กองทุนรวมมีเงินทุนจดทะเบียนต่ํากว่า 2,000 ล้านบาทเมื่อคํานวณจากมูลค่าที่ตราไว้ของหน่วยลงทุน (3) เมื่อมีการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทุนรวมและบริษัทจัดการไม่สามารถดําเนินการเพื่อให้ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนมีมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่า 1,500 ล้านบาท และไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทุนรวม ภายใน 1 ปีนับแต่วันที่จําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (4) เมื่อสํานักงานมีคําสั่งเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม (5) เมื่อปรากฏเหตุการณ์ตามที่ระบุไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม หมวด 10การเปิดเผยข้อมูลเหตุการณ์สําคัญของกองทุนรวม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 121 ให้บริษัทจัดการรายงานพร้อมด้วยเหตุผลต่อสํานักงานเมื่อมีเหตุการณ์ใด ๆเกิดขึ้น อันมีหรือจะมีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ถือหน่วยลงทุน หรือต่อการตัดสินใจลงทุนหรือต่อการเปลี่ยนแปลงในราคาของหน่วยลงทุน ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่สํานักงานประกาศกําหนด ข้อ 122 ภายใต้บังคับของข้อ 121 เมื่อมีเหตุที่ทําให้หรืออาจทําให้ต้องเลิกกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการเปิดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการรายงานเหตุการณ์สําคัญของกองทุนรวมและทรัสต์ที่มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์หรือโครงสร้างพื้นฐาน ด้วย (1) กรณีที่เป็นการเลิกกองทุนรวมเพราะเหตุครบกําหนดอายุของโครงการหรือเพราะเหตุอื่นที่ทราบกําหนดการเลิกกองทุนรวมล่วงหน้า ให้ดําเนินการดังนี้ (ก) แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ดูแลผลประโยชน์ทราบเป็นหนังสือก่อนวันเลิกกองทุนรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 วันทําการ (ข) ดําเนินการด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อให้ผู้ลงทุนทราบเรื่องดังกล่าวก่อนวันเลิก กองทุนรวมเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 วันทําการ เช่น ประกาศในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่น เป็นต้น (2) กรณีอื่นนอกจาก (1) ให้รายงานต่อผู้ดูแลผลประโยชน์โดยไม่ชักช้า ภาค 5 อํานาจของสํานักงาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 123 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจไม่อนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมตามคําขอได้ (1) กองทุนรวมที่ขออนุมัติจัดตั้งมีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะได้รับอนุมัติตามประกาศนี้ แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการจัดตั้งกองทุนรวมนั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือประกาศนี้ (2) การจัดตั้งกองทุนรวมอาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐ (3) กองทุนรวมที่ขออนุมัติมีลักษณะเป็นการจัดตั้งเพื่อประโยชน์ของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดเป็นหลัก (4) การจัดตั้งกองทุนรวมอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม หรือ (5) การจัดตั้งกองทุนรวมอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุน หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน ข้อ 124 ในกรณีที่เข้าลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจผ่อนผัน ไม่นําหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้มาใช้พิจารณากับคําขอ หรือไม่นําเงื่อนไขตามประกาศนี้มาใช้บังคับกับการขอจัดตั้งกองทุนรวม (1) มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจนซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผันให้ไม่มีนัยสําคัญสําหรับการพิจารณาอนุญาตในกรณีนั้น และประโยชน์ที่จะได้ไม่คุ้มค่ากับต้นทุนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขดังกล่าว (2) บริษัทจัดการมีข้อจํากัดตามกฎหมายอื่นที่ทําให้ไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน (3) บริษัทจัดการมีมาตรการอื่นที่เพียงพอ และสามารถทดแทนการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน การผ่อนผันตามวรรคหนึ่ง ให้คํานึงถึงความเหมาะสมและความเพียงพอของข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนและมาตรการคุ้มครองผู้ลงทุนเป็นสําคัญ ทั้งนี้ สํานักงานอาจกําหนดเงื่อนไขให้บริษัทจัดการต้องปฏิบัติด้วยก็ได้ ข้อ 125 ในกรณีที่ปรากฏต่อสํานักงานว่าข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ที่สํานักงานนํามาพิจารณาเพื่ออนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมมีลักษณะดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจสั่งให้บริษัทจัดการแก้ไขหรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติม หรือระงับการเสนอขายหน่วยลงทุนภายในระยะเวลาที่กําหนด หรือเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมได้ (1) เป็นเท็จ (2) ขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งในสาระสําคัญอันอาจทําให้บุคคลผู้เข้าซื้อหน่วยลงทุนเสียหาย (3) คลาดเคลื่อนในสาระสําคัญหรือมีเหตุการณ์ที่มีผลให้ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปในสาระสําคัญอันอาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจในการลงทุนของผู้เข้าซื้อหน่วยลงทุน (4) มีเหตุการณ์ที่มีผลให้ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปซึ่งหากปรากฏต่อสํานักงานก่อนการอนุมัติ สํานักงานอาจไม่อนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมนั้น ข้อ 126 ให้นําหลักเกณฑ์เกี่ยวกับอํานาจของสํานักงานตามข้อ 123 ข้อ 124 และข้อ 125 มาใช้บังคับกับการพิจารณาอนุมัติให้เพิ่มเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมโดยอนุโลม ข้อ 127 สํานักงานอาจเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมได้ หากปรากฏกรณีดังต่อไปนี้ (1) มีการแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวม หรือข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการ ที่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดตามประกาศนี้ (2) มีการดําเนินการเมื่อได้รับอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวมไม่เป็นไปตามหมวด 3 ในภาค 1 และส่วนที่ 1 ในหมวด 3 ของภาค 4 (3) มีการลงทุนหรือการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ไม่เป็นไปตามแผนการลงทุนที่ได้กําหนดไว้ในโครงการจัดการกองทุนรวม ซึ่งเป็นกรณีที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อการดําเนินการของกองทุนรวม (4) มีการจัดการกองทุนรวมโดยฝ่าฝืนหรือมิได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในภาค 4 ข้อ 128 เมื่อมีการเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งกองทุนรวม หากได้มีการเสนอขาย หน่วยลงทุนแล้ว แต่ยังมิได้มีการจดทะเบียนกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการคืนเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุน และผลประโยชน์ใด ๆ ที่เกิดจากเงินที่ได้รับจากการจําหน่ายหน่วยลงทุนให้แก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุน โดยให้นําความในข้อ 30(2) มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่หากมีการจดทะเบียนกองทุนรวมแล้ว ให้บริษัทจัดการดําเนินการให้มีการเลิกกองทุนรวมทันที ข้อ 129 ให้สํานักงานมีอํานาจประกาศกําหนดประเภทหรือลักษณะของค่าใช้จ่ายที่บริษัทจัดการไม่สามารถจ่ายจากเงินของกองทุนรวมได้ ข้อ 130 ให้สํานักงานมีอํานาจผ่อนผันการปฏิบัติของบริษัทจัดการตามข้อกําหนดในเรื่องดังต่อไปนี้ได้ เมื่อบริษัทจัดการสามารถแสดงได้ว่าเป็นกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควร (1) ระยะเวลาในการเข้าทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (2) การดํารงมูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ณ วันสิ้นรอบปีบัญชี (3) การกระจายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป และการนําหน่วยลงทุนของกองทุนรวมไปจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ ในกรณีของกองทุนรวมที่มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นโครงการที่แล้วเสร็จ (4) การเลิกกองทุนรวมเพราะเหตุที่มีจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนน้อยกว่า 35 ราย ข้อ 131 สํานักงานอาจกําหนดแนวทาง (guideline) ในรายละเอียดเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้ได้ และเมื่อมีการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวให้ถือว่าบริษัทจัดการได้ปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้แล้ว ภาค 6 บทเฉพาะกาล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 132 ในกรณีของกองทุนรวมที่จดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวมกับสํานักงานแล้วก่อนวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2561 ให้บริษัทจัดการสามารถดําเนินการจัดประชุมสามัญผู้ถือหน่วยลงทุนประจําปีตามข้อ 92 เป็นครั้งแรกสําหรับรอบปีบัญชีที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561 แต่ไม่เกินวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ได้ โดยให้บริษัทจัดการจัดประชุมดังกล่าวภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีนั้น ข้อ 133 ให้บรรดาประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดแห่งประกาศนี้ จนกว่าจะได้มีประกาศ คําสั่ง และหนังสือเวียนที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ 134 ในกรณีที่มีประกาศฉบับอื่นใดอ้างอิงประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทน. 1/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานลงวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554 ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงประกาศฉบับนี้ ประกาศ ณ วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 (นางทิพยสุดา ถาวรามร) รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการแทน คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
635
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 8/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 8/2565 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3 ) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในบทนิยามคําว่า “ผู้ลงทุนรายใหญ่” ในข้อ 3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 38/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ““ผู้ลงทุนรายใหญ่” หมายความว่า ผู้ลงทุนรายใหญ่ตามประกาศคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในข้อ 35 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 38/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 35 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามข้อ 34(4) (ก) ให้บุคคลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ ซึ่งหนังสือชี้ชวนระบุวิธีการจัดสรรไว้แยกต่างหากจากผู้จองซื้อทั่วไป เข้าลักษณะเป็นผู้จองซื้อพิเศษ (1) ผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 39/2564 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2564 แต่ไม่รวมถึงผู้ลงทุนตามข้อ 5(10) (17) (21) (22) (23) (24) (25) และ (26) แห่งประกาศฉบับดังกล่าว (2) กองทุนส่วนบุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์รับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนตาม (1) หรือ ผู้ลงทุนตาม (3) ถึง (10) (3) ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือ นิติบุคคลอื่นที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น (4) สภากาชาดไทย หรือมูลนิธิเพื่อสาธารณะประโยชน์ (5) สหกรณ์ออมทรัพย์ หรือชุมนุมสหกรณ์ (6) สถาบันการเงินระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นสมาชิก (7) โครงการจัดการลงทุน (collective investment scheme) ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และเสนอขายหน่วยต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป (8) ผู้ลงทุนต่างประเทศซึ่งมีลักษณะเดียวกับผู้ลงทุนดังต่อไปนี้ (ก) ผู้ลงทุนสถาบันตาม (1) แต่ไม่รวมถึงบริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ กองทุนรวม และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ข) ผู้ลงทุนตาม (3) (ค) กองทุนส่วนบุคคลที่เป็นการรับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนตาม (ก) หรือ (ข) (9) นิติบุคคลซึ่งมีผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (8) ถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด (10) ผู้ลงทุนอื่นใดตามที่สํานักงานประกาศกําหนด” ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2565 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
636
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทค. 90/2552 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทค. 90/2552 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 36 มาตรา 41 มาตรา 43 และมาตรา 45 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการ ก.ล.ต. ทําหน้าที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนตามมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. มีอํานาจเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดําเนินการ การสั่งการ การลงโทษ และข้อมูลอื่นใดที่ได้จากการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 เช่น ประกาศ หนังสือเวียน แนวนโยบายในการกํากับดูแล ผลการกํากับดูแลการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อมูลสถิติ บทศึกษา และบทวิจัย เป็นต้น เมื่อเห็นว่าการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนหรือเพื่อคุ้มครองผู้ลงทุน ข้อ ๒ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. จัดให้ข้อมูลข่าวสารดังต่อไปนี้ เป็นข้อมูลข่าวสารที่บุคคลทั่วไปสามารถตรวจดูได้จากเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือที่ศูนย์สารสนเทศตลาดทุนของสํานักงาน ก.ล.ต. (1) สรุปการตรวจสอบการดําเนินงานของบุคคลที่อยู่ภายใต้การกํากับดูแลตามแผนตรวจสอบปกติ (2) การสั่งการให้บุคคลที่อยู่ภายใต้การกํากับดูแลกระทําการหรืองดเว้นกระทําการ เว้นแต่การสั่งการที่มิได้มีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อลูกค้าหรือผู้ลงทุนทั่วไป (3) การลงโทษผู้กระทําผิด ไม่ว่าจะเป็นโทษทางปกครองหรือโทษทางอาญา เว้นแต่การลงโทษทางปกครองที่เป็นเพียงการภาคทัณฑ์ จะจัดให้มีการเปิดเผยเป็นการทั่วไปหรือไม่ก็ได้ โดยให้พิจารณาข้อเท็จจริงเป็นรายกรณี (4) การกล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวนเพื่อให้ดําเนินการตามกฎหมายกับบุคคลที่เข้าข่ายกระทําผิด ข้อ ๓ ในกรณีที่สํานักงาน ก.ล.ต. เห็นว่า ข้อมูลข่าวสารตามที่กําหนดในข้อ 2 เรื่องใด หากจัดให้มีการเผยแพร่ผ่านช่องทางอื่นเพิ่มเติม เช่น การออกแถลงข่าว การออกจดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ถึงบุคคลซึ่งบอกรับเป็นสมาชิกข่าวสารของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือการนําเสนอในเอกสารเผยแพร่อื่น เพิ่มเติมด้วย จะเป็นประโยชน์ต่อการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือการประกอบธุรกิจหรือให้บริการที่เกี่ยวกับสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือบทบัญญัติหรือข้อกําหนดแห่งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง หรือจะเป็นกลไกในการเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย หรือการป้องปรามการกระทําผิดได้ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. จัดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเรื่องนั้นผ่านช่องทางอื่นเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควร ข้อ ๔ ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ให้สํานักงาน ก.ล.ต. จัดให้มีรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารนั้นอย่างเพียงพอที่จะทําให้เข้าใจได้อย่างถูกต้อง ในกรณีที่เป็นการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมาย ข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยควรมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ชื่อบุคคลที่อยู่ภายใต้มาตรการบังคับใช้กฎหมาย (2) ข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุให้มีการบังคับใช้กฎหมาย (3) บทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (4) ลักษณะการบังคับใช้กฎหมาย ข้อ ๕ เมื่อข้อมูลข่าวสารเรื่องใดที่เปิดเผยบนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือที่ศูนย์สารสนเทศตลาดทุน มีความคืบหน้าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และสํานักงาน ก.ล.ต. พิจารณาเห็นว่าการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารความคืบหน้าดังกล่าวสอดคล้องกับเจตนารมณ์เพื่อการพิทักษ์ประโยชน์ของประชาชนหรือเพื่อคุ้มครองผู้ลงทุน ให้สํานักงาน ก.ล.ต. เปิดเผยข้อมูลข่าวสารความคืบหน้านั้นโดยปฏิบัติตามแนวทางที่กําหนดในประกาศนี้โดยอนุโลม ข้อ ๖ ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารบนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือที่ศูนย์สารสนเทศตลาดทุน เพื่อให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ เว้นแต่สํานักงาน ก.ล.ต. จะมีเหตุผลหรือความจําเป็นในการกําหนดเป็นประการอื่น ให้ดําเนินการตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ข้อมูลข่าวสารอื่นนอกจาก (2) ให้คงข้อมูลไว้เป็นระยะเวลาสิบปีปฏิทินนับแต่วันที่มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารดังกล่าว (2) ข้อมูลการกล่าวโทษ (ก) เรื่องที่การดําเนินการถึงที่สุดภายในระยะเวลาสิบปีนับแต่การกล่าวโทษให้คงข้อมูลดังกล่าวไว้เป็นระยะเวลาสิบปีปฏิทินนับแต่วันที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวเป็นครั้งแรก หรือคงข้อมูลดังกล่าวต่อไปอีกหกเดือนนับแต่วันที่มีการเปิดเผยข้อมูลสถานะของคดีที่ถึงที่สุด แล้วแต่ระยะเวลาใดนานกว่า (ข) เรื่องที่การดําเนินการถึงที่สุดหลังระยะเวลาสิบปีนับแต่การกล่าวโทษให้คงข้อมูลดังกล่าวไว้จนกว่าจะพ้นหกเดือนนับแต่วันที่มีการเปิดเผยข้อมูลสถานะของคดีที่ถึงที่สุดนั้น (ค) เรื่องที่ผลของคดีถึงที่สุดและเป็นคุณแก่ผู้ถูกกล่าวโทษ หากผู้ถูกกล่าวโทษมีคําขอให้นําข้อมูลการกล่าวโทษออกก่อนพ้นระยะเวลาตาม (ก) หรือ (ข) ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ดําเนินการให้เป็นไปตามคําขอของบุคคลนั้นโดยไม่ชักช้า ข้อ ๗ ข้อมูลข่าวสารที่ได้เปิดเผยบนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือที่ศูนย์สารสนเทศตลาดทุนจนครบระยะเวลาที่กําหนดตามประกาศนี้แล้ว สํานักงาน ก.ล.ต. อาจจัดเก็บไว้เป็นข้อมูลประวัติศาสตร์เพื่อให้ประชาชนขอตรวจดูเป็นรายกรณีก็ได้ ข้อ ๘ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2552 (นายวิจิตร สุพินิจ) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หมายเหตุ - เหตุผลในการออกประกาศฉบับนี้ คือ เพื่อกําหนดลักษณะและประเภทของข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการกํากับดูแลและการบังคับให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ที่สมควรเปิดเผยหรือเผยแพร่ให้ผู้ลงทุนและประชาชนทั่วไปได้รับทราบ โดยกําหนดรายละเอียด ช่องทาง และระยะเวลาในการเปิดเผยหรือเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารดังกล่าว ตลอดจนการปรับปรุงข้อมูลนั้นให้เป็นปัจจุบัน จึงจําเป็นต้องออกประกาศนี้
637
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทค. 46/2564 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 (ฉบับที่ 2)
-ร่าง- ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทค. 46/2564 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามพระราชบัญญัติ สัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้าพ.ศ. 2546 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 6 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทค. 90/2552เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 ลงวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2552 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 6 ในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารบนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือที่ศูนย์สารสนเทศตลาดทุน เพื่อให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ เว้นแต่สํานักงาน ก.ล.ต. จะมีเหตุผลหรือความจําเป็นในการกําหนดเป็นประการอื่น ให้ดําเนินการตามหลักเกณฑ์ในข้อ 6/1 ข้อ 6/2และข้อ 6/3 เพื่อประโยชน์ในการเปิดเผยข้อมูลตามประกาศนี้ การเปิดเผยข้อมูลในวันใด ๆ ในปีปฏิทินหนึ่ง ให้ถือว่าวันสิ้นปีของปีปฏิทินนั้นเป็นระยะเวลา 1 ปีปฏิทิน” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 6/1 ข้อ 6/2 และข้อ 6/3 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทค. 90/2552 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้าพ.ศ. 2546 ลงวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2552 “ข้อ 6/1 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารอื่นนอกจากข้อมูลตามข้อ 6/2 และข้อ 6/3ให้คงข้อมูลไว้เป็นระยะเวลา 10 ปีปฏิทินนับแต่วันที่มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารดังกล่าว ข้อ 6/2 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดําเนินการทางอาญา ให้เปิดเผยข้อมูล ตามระยะเวลาดังต่อไปนี้ นับแต่วันที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวเป็นครั้งแรก (1) 2 ปีปฏิทิน ในกรณีความผิดที่มีอายุความตั้งแต่ 1 ปีถึง 5 ปี (2) 10 ปีปฏิทิน ในกรณีความผิดที่มีอายุความมากกว่า 5 ปีขึ้นไป ในกรณีที่มีการกล่าวโทษ ให้เปิดเผยข้อมูลไว้ตลอดระยะเวลาที่คดียังไม่ถึงที่สุด และให้เปิดเผยข้อมูลต่อไปอีก 6 เดือนนับแต่วันที่คดีถึงที่สุด ทั้งนี้ ระยะเวลาดังกล่าวต้องไม่น้อยกว่าระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการดําเนินการทางอาญาตามวรรคหนึ่ง ให้เริ่มเปิดเผยข้อมูลภายในวันถัดจากวันที่มีคําสั่งเปรียบเทียบหรือวันที่กล่าวโทษต่อพนักงานสอบสวน แล้วแต่กรณี ในกรณีที่ผลของคดีถึงที่สุดและเป็นคุณแก่ผู้ถูกดําเนินการ หากบุคคลดังกล่าวมีคําขอให้นําข้อมูลที่เปิดเผยออกก่อนพ้นระยะเวลาตามข้อนี้ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ดําเนินการให้เป็นไปตามคําขอของบุคคลนั้นโดยไม่ชักช้า ข้อ 6/3 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการลงโทษทางปกครอง ให้เปิดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีเป็นโทษที่ไม่มีระยะเวลาลงโทษหรือมีระยะเวลาลงโทษไม่เกิน 2 ปีปฏิทิน ให้เปิดเผยข้อมูลเป็นระยะเวลา 2 ปีปฏิทินนับแต่วันที่มีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวเป็นครั้งแรก (2) ในกรณีเป็นโทษที่มีระยะเวลาลงโทษเกิน 2 ปีปฏิทิน ให้เปิดเผยข้อมูลจนถึงสิ้นปีปฏิทินที่ครบระยะเวลาลงโทษ ในกรณีที่มีการโต้แย้งคําสั่งลงโทษหรือมีการฟ้องคดีปกครอง ให้เปิดเผยข้อมูลตามหลักเกณฑ์ในวรรคหนึ่ง เว้นแต่ ณ วันที่ผลการพิจารณาข้อโต้แย้งหรือผลคดีถึงที่สุด ระยะเวลาเปิดเผยตามวรรคหนึ่งเหลือน้อยกว่า 6 เดือน ให้เปิดเผยข้อมูลต่อไปอีกเป็นระยะเวลา 6 เดือนนับแต่วันที่ผลการพิจารณาข้อโต้แย้งหรือผลคดีถึงที่สุด การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการลงโทษทางปกครองตามวรรคหนึ่ง ให้เริ่มเปิดเผยข้อมูลภายในวันถัดจากวันที่คําสั่งลงโทษมีผล ในกรณีที่ผลการพิจารณาข้อโต้แย้งหรือผลคดีถึงที่สุดและเป็นคุณแก่ผู้ถูกลงโทษหากผู้ถูกลงโทษมีคําขอให้นําข้อมูลที่เปิดเผยออกก่อนพ้นระยะเวลาตามวรรคสอง ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ดําเนินการให้เป็นไปตามคําขอของบุคคลนั้นโดยไม่ชักช้า” ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
638
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 29/2561 เรื่อง การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 29/2561 เรื่อง การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลัก โดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขาย หุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 และมาตรา 69(11) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ให้ยกเลิก (1) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 46/2559 เรื่อง หลักเกณฑ์ชั่วคราวในการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปเป็นครั้งแรก ลงวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 (2) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 55/2560 เรื่อง หลักเกณฑ์ชั่วคราวในการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปเป็นครั้งแรก (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ข้อ ๓ เพื่อให้บริษัทมหาชนจํากัดที่ประสงค์จะเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปสามารถเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ซึ่งเป็นผู้ลงทุนที่จะสนับสนุนให้เกิดความเป็นไปได้ในการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนดังกล่าวจนครบตามจํานวนที่ประสงค์จะเสนอขาย และในขณะเดียวกันเพื่อป้องกันมิให้มีการเสนอขายหุ้นให้กับผู้ลงทุนเฉพาะรายโดยมีวัตถุประสงค์เป็นประการอื่นที่จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของตลาดทุน จึงให้การเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ของบริษัทมหาชนจํากัดไม่ว่าจะเป็นบริษัทจดทะเบียนหรือไม่ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของประกาศฉบับนี้ ข้อ ๔ บริษัทมหาชนจํากัดที่ได้ยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปเป็นครั้งแรกต่อสํานักงานตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่แล้ว บริษัทมหาชนจํากัดดังกล่าวไม่สามารถเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อบุคคลในวงจํากัดได้อีก จนกว่าหุ้นของบริษัทเริ่มทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เว้นแต่การเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อบุคคลในวงจํากัดดังกล่าวเป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศนี้ หมวด ๑ การเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลัก โดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ข้อ ๕ ในกรณีที่บริษัทมหาชนจํากัดประสงค์จะเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ในระหว่างช่วงเวลาตั้งแต่วันที่ได้ยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป จนถึงวันที่หุ้นดังกล่าวของบริษัทเริ่มทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หากบริษัทปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้แล้ว ให้ถือว่าบริษัทได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนดังกล่าว (1) ได้รับมติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัทที่อนุมัติให้คณะกรรมการของบริษัทเสนอขายและจัดสรรหุ้นเพิ่มทุนให้ผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ได้ โดยการกันหุ้นบางส่วนที่ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้ออกหุ้นเพิ่มทุนเสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไปไว้แล้ว มาเสนอขายและจัดสรรให้ผู้ลงทุนดังกล่าว (2) เสนอขายหุ้นต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ (ก) เป็นผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ (ข) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับบริษัทมหาชนจํากัดตามที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจําหน่ายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทหุ้นและใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นของบริษัทที่ออกตราสารทุน (ค) ไม่เป็นผู้มีอุปการคุณของบริษัทมหาชนจํากัดตามที่กําหนดไว้ในประกาศตาม (ข) (3) มีมูลค่าการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปตามที่ยื่นคําขออนุญาตต่อสํานักงาน เมื่อรวมกับมูลค่าการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) และมูลค่าการเสนอขายหุ้นโดยผู้ถือหุ้นของบริษัทมหาชนจํากัดที่เสนอขายในคราวเดียวกัน (ถ้ามี) ไม่ต่ํากว่า 5,000 ล้านบาท (4) จัดให้มีข้อตกลงกับผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) โดยให้ผู้ลงทุนดังกล่าวชําระราคาค่าหุ้นที่ซื้อในราคาเดียวกับราคาหุ้นที่บริษัทจะเสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไป ทั้งนี้ ต้องไม่มีข้อตกลงหรือสัญญาใด ๆ ที่มีลักษณะเป็นการให้ประโยชน์กับผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) เป็นพิเศษกว่าผู้ลงทุนรายอื่น ๆ บริษัทมหาชนจํากัดต้องดําเนินการให้แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ ที่ยื่นต่อสํานักงานมีการระบุรายชื่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ที่ตกลงซื้อหุ้นตามวรรคหนึ่งและจํานวนหุ้นโดยประมาณที่แต่ละรายตกลงซื้อ โดยจะระบุจํานวนเงินโดยประมาณที่แต่ละรายตกลงซื้อไว้ด้วยก็ได้ ทั้งนี้ ก่อนที่แบบดังกล่าวจะมีผลใช้บังคับ ข้อ ๖ ในกรณีที่บริษัทมหาชนจํากัดได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้เสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป รวมทั้งแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ดังกล่าวที่ยื่นต่อสํานักงานมีผลใช้บังคับแล้ว หากบริษัทจะเสนอขายหุ้นบางส่วนต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ก่อนที่จะเสนอขายต่อผู้ลงทุนทั่วไป บริษัทจะดําเนินการดังกล่าวได้ต่อเมื่อ (1) ระบุการดําเนินการนั้นไว้อย่างชัดเจนในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ยื่นต่อสํานักงาน (2) เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 5(2) และ (4) (3) มีมูลค่าการเสนอขายหุ้นตามจํานวนที่ระบุไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ที่มีผลใช้บังคับแล้ว ไม่ต่ํากว่า 5,000 ล้านบาท ในกรณีที่ผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ตกลงซื้อหุ้นจากบริษัทมหาชนจํากัดแล้ว ให้บริษัทแก้ไขเพิ่มเติมแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ที่มีผลใช้บังคับแล้วนั้นเพื่อให้ปรากฏชื่อผู้ลงทุนดังกล่าว และจํานวนหุ้นที่ตกลงซื้อ ก่อนที่จะเสนอขายต่อผู้ลงทุนเป็นการทั่วไป ทั้งนี้ หากบริษัทไม่แก้ไขเพิ่มเติมตามที่กําหนดนี้ สํานักงานอาจพิจารณาใช้อํานาจสั่งการตามมาตรา 76 ตามควรแก่กรณี หมวด ๒ อํานาจของสํานักงาน ข้อ ๗ ในกรณีที่บริษัทมหาชนจํากัดไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อ 6 วรรคหนึ่ง สํานักงานอาจสั่งระงับการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ไว้เป็นการชั่วคราวจนกว่าบริษัทจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง หรือจะสั่งเพิกถอนการอนุญาตไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้ ข้อ ๘ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจสั่งระงับการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ตามประกาศนี้ไว้ก่อนหรือสั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ในกรณีดังกล่าวได้ (1) ผู้ได้รับอนุญาตมีข้อบกพร่องหรือมีความไม่เหมาะสมเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่หรือจะไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตได้ (2) ผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่มีนัยสําคัญต่อการตัดสินใจลงทุน (3) การเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่มีลักษณะที่อาจเข้าข่ายเป็นการหลีกเลี่ยงกฎเกณฑ์อื่นที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2561 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
639
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 29/2562 เรื่อง การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 29/2562 เรื่อง การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลัก โดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขาย หุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (ฉบับที่ 2) อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (ง) ใน (2) ของข้อ 5 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 29/2561 เรื่อง การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2561 “(ง) ไม่เป็นบริษัทหลักทรัพย์ ซึ่งรับจัดจําหน่ายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปดังกล่าว” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2562 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
640
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 73/2564 เรื่อง การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 73/2564 เรื่อง การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลัก โดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขาย หุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป (ฉบับที่ 3) อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561 และมาตรา 35 และมาตรา 69(11) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 4 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 29/2561 เรื่อง การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 4 บริษัทมหาชนจํากัดที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ จะเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อบุคคลในวงจํากัดมิได้ จนกว่าหุ้นของบริษัทเริ่มทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เว้นแต่เป็นการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศนี้ (1) บริษัทที่ได้ยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปเป็นครั้งแรกต่อสํานักงานตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่แล้ว (2) บริษัทที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปเป็นครั้งแรกต่อสํานักงานตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่โดยบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ และการเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด 1/1 การเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่โดยบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ข้อ 6/1 และข้อ 6/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 29/2561 เรื่อง การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2561 “หมวด 1/1 การเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่โดยบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อการเป็น บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ ต่อผู้ลงทุนหลัก โดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ข้อ 6/1 ในกรณีที่บริษัทมหาชนจํากัดประสงค์จะเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ในช่วงเวลาตั้งแต่วันที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปเป็นครั้งแรกต่อสํานักงานตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่โดยบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ และการเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ จนถึงวันที่หุ้นดังกล่าวเริ่มทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ หากบริษัทปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้แล้ว ให้ถือว่าบริษัทได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนดังกล่าว (1) ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 5 เว้นแต่หลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (ก) หลักเกณฑ์เกี่ยวกับผู้ลงทุนตามข้อ 5(2) (ข) หลักเกณฑ์เกี่ยวกับมูลค่าการเสนอขายตามข้อ 5(3) (2) เสนอขายหุ้นต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง (cornerstone investor) ที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังนี้ (ก) ผู้ลงทุนสถาบัน นิติบุคคลร่วมลงทุน กิจการเงินร่วมลงทุน และผู้ลงทุนที่มีลักษณะเฉพาะ ทั้งนี้ ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่โดยบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ และการเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ (ข) ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับบริษัทมหาชนจํากัดตามที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจําหน่ายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ประเภทหุ้นและใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นของบริษัทที่ออกตราสารทุน (ค) ไม่เป็นผู้มีอุปการคุณของบริษัทมหาชนจํากัดตามที่กําหนดไว้ในประกาศตาม (ข) (ง) ไม่เป็นบริษัทหลักทรัพย์ ซึ่งรับจัดจําหน่ายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปดังกล่าว ข้อ 6/2 ในกรณีที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ที่บริษัทมหาชนจํากัดได้ยื่นต่อสํานักงานมีผลใช้บังคับแล้ว หากบริษัทจะเสนอขายหุ้นบางส่วนต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจง(cornerstone investor) ก่อนที่จะเสนอขายต่อผู้ลงทุนทั่วไป บริษัทจะดําเนินการดังกล่าวได้ต่อเมื่อ (1) ระบุการดําเนินการนั้นไว้อย่างชัดเจนในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ยื่นต่อสํานักงาน (2) เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 5(4) และข้อ 6/1(2) ให้นําความในข้อ 6 วรรคสองมาใช้บังคับกับบริษัทตามวรรคหนึ่ง โดยอนุโลม” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 7 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 29/2561 เรื่อง การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อผู้ลงทุนหลักโดยเฉพาะเจาะจงเพื่อประโยชน์ในการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 7 ในกรณีที่บริษัทมหาชนจํากัดไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อ 6 วรรคหนึ่ง หรือข้อ 6/2 วรรคหนึ่ง สํานักงานอาจสั่งระงับการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ไว้เป็นการชั่วคราวจนกว่าบริษัทจะได้ปฏิบัติให้ถูกต้อง หรือจะสั่งเพิกถอนการอนุญาตไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนก็ได้” ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
641
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 35/2552 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลังการจัดจำหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน (ฉบับประมวล)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 35/2552 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลัง การจัดจําหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน (ฉบับประมวล) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35(6) และมาตรา 69(11) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 มาตรา 43 มาตรา 44 และมาตรา 64 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการ ก.ล.ต. ทําหน้าที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนตามมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ (1) “ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดจําหน่ายหุ้น (2) “ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกิน” หมายความว่า ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ที่มีหน้าที่จัดหาหุ้นส่วนที่เกินกว่าจํานวนหุ้นที่จัดจําหน่ายเพื่อส่งมอบให้แก่ผู้จองซื้อซึ่งได้รับการจัดสรรหรือส่งคืนให้แก่ผู้ให้ยืมตามข้อผูกพันในการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน (3) “จัดสรรหุ้นส่วนเกิน” หรือ “การจัดสรรหุ้นส่วนเกิน” หมายความว่า การจัดสรรหุ้นให้แก่ผู้จองซื้อเกินกว่าจํานวนหุ้นที่จัดจําหน่าย โดยการจัดสรรหุ้นเกินจํานวนดังกล่าวกระทําไปพร้อมกับการเสนอขายหุ้นที่จัดจําหน่าย (4) “หลักทรัพย์จดทะเบียน” หมายความว่า หลักทรัพย์ที่ได้รับการจดทะเบียนหรือได้รับการอนุญาตให้ทําการซื้อขายได้ในตลาดหลักทรัพย์ (5) “ตลาดหลักทรัพย์” หมายความว่า ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับบริษัทมหาชนจํากัดที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ซึ่งต้องยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน โดยในการเสนอขายในคราวนั้นมีการจัดสรรหุ้นส่วนเกินด้วย บริษัทมหาชนจํากัดตามวรรคหนึ่งมิให้หมายความรวมถึงบริษัทมหาชนจํากัดที่ได้รับอนุญาตตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่โดยบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ และการเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ ข้อ ๓ บริษัทมหาชนจํากัดจะให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นที่ออกใหม่เพิ่มเติมภายหลังปิดการเสนอขายหุ้นที่จัดจําหน่ายเพื่อให้ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์สามารถจัดสรรหุ้นส่วนเกินได้ต่อเมื่อปฏิบัติตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) การให้สิทธิซื้อหุ้นที่ออกใหม่ต้องจัดทําเป็นหนังสือ และต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ระบุจํานวนหุ้นที่ออกใหม่ที่ให้สิทธิซื้อไว้อย่างชัดเจน โดยหุ้นจํานวนดังกล่าวเมื่อรวมกับจํานวนที่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินจะมีสิทธิซื้อจากผู้ถือหุ้น (ถ้ามี) ต้องไม่เกินร้อยละสิบห้าของจํานวนหุ้นทั้งหมดที่เสนอขายตามที่ระบุไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน (ข) กําหนดให้ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินเริ่มใช้สิทธิซื้อหุ้นที่ออกใหม่เพิ่มเติมได้ในวันถัดจากวันปิดการเสนอขายหุ้นทั้งหมดที่เสนอขายตามที่ระบุไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูล การเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน และต้องดําเนินการใช้สิทธิให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังต่อไปนี้ 1. กรณีที่หุ้นของบริษัทดังกล่าวจะเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนเป็นครั้งแรก ให้ดําเนินการใช้สิทธิให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันแรกที่หุ้นนั้นเริ่มซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ 2. กรณีที่หุ้นของบริษัทดังกล่าวเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนอยู่แล้วให้ดําเนินการใช้สิทธิให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันปิดการเสนอขายหุ้นทั้งหมดตามแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน (ค) ให้ใช้สิทธิซื้อหุ้นที่ออกใหม่ได้เพียงครั้งเดียว (ง) ให้สิทธิแก่ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์เพียงรายเดียวที่ทําหน้าที่เป็นผู้จัดหาหุ้นส่วนเกิน (2) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้ออกหุ้นเพิ่มทุนในจํานวนที่เพียงพอที่จะรองรับการให้สิทธิแก่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินตาม (1) (ก) ข้อ ๔ การเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ในกรณีใดที่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินได้รับสิทธิที่จะซื้อหุ้นเพิ่มเติมจากบริษัทมหาชนจํากัดหรือผู้ถือหุ้นของบริษัทดังกล่าวเพื่อประโยชน์ในการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน ให้บริษัทมหาชนจํากัดนั้นเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน (1) ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน โดยมีรายละเอียดอย่างน้อยเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน จํานวนหุ้นส่วนเกิน การส่งมอบหุ้นส่วนเกิน ระยะเวลาการส่งมอบหุ้นส่วนเกิน และชื่อผู้จัดหาหุ้นส่วนเกิน โดยให้แสดงข้อมูลดังกล่าวในส่วนที่ว่าด้วยการจอง การจัดจําหน่าย และการจัดสรร (2) ข้อความที่แสดงว่าการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ในครั้งนั้น บริษัทหรือผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) ได้ให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นเพิ่มเติมเพื่อประโยชน์ในการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน โดยให้แสดงไว้ในหน้าแรกของแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน ข้อ ๕ ให้บรรดาประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 59/2547 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลังการจัดจําหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดแห่งประกาศนี้ จนกว่าจะได้มีประกาศ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ ๖ ในกรณีที่มีประกาศฉบับอื่นใดอ้างอิงประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 59/2547 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลังการจัดจําหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงประกาศฉบับนี้ ข้อ ๗ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม ๑ ประกาศ ณ วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552 (นายวิจิตร สุพินิจ) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
642
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 35/2552 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลังการจัดจำหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 35/2552 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลัง การจัดจําหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35(6) และมาตรา 69(11) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 มาตรา 43 มาตรา 44 และมาตรา 64ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย คณะกรรมการ ก.ล.ต. ทําหน้าที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนตามมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ (1) “ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดจําหน่ายหุ้น (2) “ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกิน” หมายความว่า ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์ที่มีหน้าที่จัดหาหุ้นส่วนที่เกินกว่าจํานวนหุ้นที่จัดจําหน่ายเพื่อส่งมอบให้แก่ผู้จองซื้อซึ่งได้รับการจัดสรรหรือส่งคืนให้แก่ผู้ให้ยืมตามข้อผูกพันในการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน (3) “จัดสรรหุ้นส่วนเกิน” หรือ “การจัดสรรหุ้นส่วนเกิน” หมายความว่า การจัดสรรหุ้นให้แก่ผู้จองซื้อเกินกว่าจํานวนหุ้นที่จัดจําหน่าย โดยการจัดสรรหุ้นเกินจํานวนดังกล่าวกระทําไปพร้อมกับการเสนอขายหุ้นที่จัดจําหน่าย (4) “หลักทรัพย์จดทะเบียน” หมายความว่า หลักทรัพย์ที่ได้รับการจดทะเบียนหรือได้รับการอนุญาตให้ทําการซื้อขายได้ในตลาดหลักทรัพย์ (5) “ตลาดหลักทรัพย์” หมายความว่า ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับบริษัทมหาชนจํากัดที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ซึ่งต้องยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน โดยในการเสนอขายในคราวนั้นมีการจัดสรรหุ้นส่วนเกินด้วย [1](#_ftn1)บริษัทมหาชนจํากัดตามวรรคหนึ่งมิให้หมายความรวมถึงบริษัทมหาชนจํากัดที่ได้รับอนุญาตตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่โดยบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ และการเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ ข้อ ๓ บริษัทมหาชนจํากัดจะให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นที่ออกใหม่เพิ่มเติม ภายหลังปิดการเสนอขายหุ้นที่จัดจําหน่ายเพื่อให้ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์สามารถจัดสรรหุ้นส่วนเกินได้ต่อเมื่อปฏิบัติตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) การให้สิทธิซื้อหุ้นที่ออกใหม่ต้องจัดทําเป็นหนังสือ และต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ระบุจํานวนหุ้นที่ออกใหม่ที่ให้สิทธิซื้อไว้อย่างชัดเจน โดยหุ้นจํานวนดังกล่าวเมื่อรวมกับจํานวนที่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินจะมีสิทธิซื้อจากผู้ถือหุ้น (ถ้ามี) ต้องไม่เกินร้อยละสิบห้าของจํานวนหุ้นทั้งหมดที่เสนอขายตามที่ระบุไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน (ข) กําหนดให้ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินเริ่มใช้สิทธิซื้อหุ้นที่ออกใหม่เพิ่มเติมได้ในวันถัดจากวันปิดการเสนอขายหุ้นทั้งหมดที่เสนอขายตามที่ระบุไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน และต้องดําเนินการใช้สิทธิให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาดังต่อไปนี้ 1. กรณีที่หุ้นของบริษัทดังกล่าวจะเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนเป็นครั้งแรก ให้ดําเนินการใช้สิทธิให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันแรกที่หุ้นนั้นเริ่มซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ 2. กรณีที่หุ้นของบริษัทดังกล่าวเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนอยู่แล้วให้ดําเนินการใช้สิทธิให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันถัดจากวันปิดการเสนอขายหุ้นทั้งหมดตามแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน (ค) ให้ใช้สิทธิซื้อหุ้นที่ออกใหม่ได้เพียงครั้งเดียว (ง) ให้สิทธิแก่ผู้จัดจําหน่ายหลักทรัพย์เพียงรายเดียวที่ทําหน้าที่เป็นผู้จัดหาหุ้นส่วนเกิน (2) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นมีมติให้ออกหุ้นเพิ่มทุนในจํานวนที่เพียงพอที่จะรองรับการให้สิทธิแก่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินตาม (1) (ก) ข้อ ๔ การเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ในกรณีใดที่ผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินได้รับสิทธิที่จะซื้อหุ้นเพิ่มเติมจากบริษัทมหาชนจํากัดหรือผู้ถือหุ้นของบริษัทดังกล่าวเพื่อประโยชน์ในการจัดสรร หุ้นส่วนเกิน ให้บริษัทมหาชนจํากัดนั้นเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน (1) ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน โดยมีรายละเอียดอย่างน้อยเกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน จํานวนหุ้นส่วนเกิน การส่งมอบหุ้นส่วนเกิน ระยะเวลาการส่งมอบหุ้นส่วนเกิน และชื่อผู้จัดหาหุ้นส่วนเกิน โดยให้แสดงข้อมูลดังกล่าวในส่วนที่ว่าด้วยการจอง การจัดจําหน่าย และการจัดสรร (2) ข้อความที่แสดงว่าการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ในครั้งนั้น บริษัทหรือผู้ถือหุ้น (แล้วแต่กรณี) ได้ให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นเพิ่มเติมเพื่อประโยชน์ในการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน โดยให้แสดงไว้ในหน้าแรกของแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวน ข้อ ๕ ให้บรรดาประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 59/2547 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลังการจัดจําหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดแห่งประกาศนี้ จนกว่าจะได้มีประกาศ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ ๖ ในกรณีที่มีประกาศฉบับอื่นใดอ้างอิงประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 59/2547 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลังการจัดจําหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงประกาศฉบับนี้ ข้อ ๗ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552 (นายวิจิตร สุพินิจ) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
643
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 74/2564 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลังการจัดจำหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 74/2564 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลัง การจัดจําหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน (ฉบับที่ 2) อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35(6) และมาตรา 69(11) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 35/2552 เรื่อง การให้สิทธิผู้จัดหาหุ้นส่วนเกินซื้อหุ้นภายหลังการจัดจําหน่ายหุ้นที่มีการจัดสรรหุ้นส่วนเกิน ลงวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2552 “บริษัทมหาชนจํากัดตามวรรคหนึ่งมิให้หมายความรวมถึงบริษัทมหาชนจํากัดที่ได้รับอนุญาตตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่โดยบริษัทมหาชนจํากัดเพื่อการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์ และการเสนอขายหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไลฟ์เอ็กซ์เช้นจ์” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
644
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกำหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 9/2555 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ข้อ ๒ ในกรณีที่ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งกําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการออกหลักทรัพย์ การเสนอขายหลักทรัพย์ หรือการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ โดยประกาศดังกล่าวมิได้กําหนดบทนิยามคําว่าผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ไว้โดยเฉพาะเป็นประการอื่น ให้คําดังกล่าวมีความหมายตามที่กําหนดไว้ในข้อ 4 ข้อ 5 หรือข้อ 6 แล้วแต่กรณี ข้อ ๓ ในประกาศนี้ “เงินฝาก” หมายความว่า ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ (1) เงินฝาก บัตรเงินฝาก ใบรับฝากเงิน หรือตราสารอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน ที่ผู้รับฝากเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงิน หรือเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายต่างประเทศ (2) ข้อตกลงที่มีลักษณะที่เทียบเคียงได้กับทรัพย์สินตาม (1) ที่เป็นไปตามหลักชะรีอะฮ์ (Shariah) โดยคู่สัญญาฝ่ายที่เทียบเคียงได้กับผู้รับฝากเป็นธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย หรือเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายต่างประเทศ ทั้งนี้ คู่สัญญาที่เทียบเคียงได้กับผู้ฝากต้องสามารถเรียกคืนเงินต้นจากคู่สัญญาฝ่ายที่เทียบเคียงได้กับผู้รับฝากได้เต็มจํานวน ณ เวลาใด ๆ (3) สลากออมทรัพย์ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (4) สลากออมสินพิเศษที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารออมสิน ข้อ ๔ ผู้ลงทุนสถาบัน ได้แก่ผู้ลงทุนดังต่อไปนี้ (1) ธนาคารแห่งประเทศไทย (2) ธนาคารพาณิชย์ (3) ธนาคารที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น (4) บริษัทเงินทุน (5) บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ (6) บริษัทหลักทรัพย์ (7) บริษัทประกันวินาศภัย (8) บริษัทประกันชีวิต (9) กองทุนรวม (10) กองทุนส่วนบุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์รับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ ผู้ลงทุนรายใหญ่ หรือผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (9) หรือ (11) ถึง (25) (11) กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (12) กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ (13) กองทุนประกันสังคม (14) กองทุนการออมแห่งชาติ (15) กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (16) ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (17) ผู้ประกอบธุรกิจการซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า (18) สถาบันการเงินระหว่างประเทศ (19) สถาบันคุ้มครองเงินฝาก (20) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (21) นิติบุคคลประเภทบรรษัท (22) นิติบุคคลซึ่งมีผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (21) ถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด (23) ผู้ลงทุนต่างประเทศซึ่งมีลักษณะทํานองเดียวกับผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (22) (24) ผู้จัดการกองทุน หรือผู้จัดการลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน (25) ผู้ลงทุนอื่นใดตามที่สํานักงานประกาศกําหนด ข้อ ๕ ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ ได้แก่ผู้ลงทุนดังต่อไปนี้ (1) นิติบุคคลที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) มีส่วนของผู้ถือหุ้นตามงบการเงินปีล่าสุดที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้วตั้งแต่ 200 ล้านบาทขึ้นไป (ข) มีเงินลงทุนโดยตรงในหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตั้งแต่ 40 ล้านบาทขึ้นไป หรือในกรณีที่นับรวมเงินฝากแล้วมีเงินลงทุนในทรัพย์สินดังกล่าวตั้งแต่ 80 ล้านบาทขึ้นไป ทั้งนี้ ให้พิจารณาตามงบการเงินปีล่าสุดที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้ว (2) บุคคลธรรมดาซึ่งนับรวมกับคู่สมรสแล้วมีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) มีสินทรัพย์สุทธิตั้งแต่ 70 ล้านบาทขึ้นไป ทั้งนี้ สินทรัพย์ดังกล่าวไม่นับรวมมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ซึ่งใช้เป็นที่พักอาศัยประจําของบุคคลนั้น (ข) มีรายได้ต่อปีตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป หรือในกรณีที่ไม่นับรวมกับคู่สมรสแล้วมีรายได้ต่อปีตั้งแต่ 7 ล้านบาทขึ้นไป (ค) มีเงินลงทุนโดยตรงในหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตั้งแต่ 25 ล้านบาทขึ้นไป หรือในกรณีที่นับรวมเงินฝากแล้วมีเงินลงทุนในทรัพย์สินดังกล่าวตั้งแต่ 50 ล้านบาทขึ้นไป ข้อ ๖ ผู้ลงทุนรายใหญ่ ได้แก่ผู้ลงทุนดังต่อไปนี้ (1) นิติบุคคลที่มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) มีส่วนของผู้ถือหุ้นตามงบการเงินปีล่าสุดที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้วตั้งแต่ 100 ล้านบาทขึ้นไป (ข) มีเงินลงทุนโดยตรงในหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป หรือในกรณีที่นับรวมเงินฝากแล้วมีเงินลงทุนในทรัพย์สินดังกล่าวตั้งแต่ 40 ล้านบาทขึ้นไป ทั้งนี้ ให้พิจารณาตามงบการเงินปีล่าสุดที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแล้ว (2) บุคคลธรรมดาซึ่งนับรวมกับคู่สมรสแล้วมีลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) มีสินทรัพย์สุทธิตั้งแต่ 50 ล้านบาทขึ้นไป ทั้งนี้ สินทรัพย์ดังกล่าวไม่นับรวมมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ซึ่งใช้เป็นที่พักอาศัยประจําของบุคคลนั้น (ข) มีรายได้ต่อปีตั้งแต่ 4 ล้านบาทขึ้นไป (ค) มีเงินลงทุนโดยตรงในหลักทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป หรือในกรณีที่นับรวมเงินฝากแล้วมีเงินลงทุนในทรัพย์สินดังกล่าวตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป ข้อ ๗ ในกรณีที่มีประกาศฉบับใดอ้างอิงความหมายของคําว่า “ผู้ลงทุนสถาบัน” หรือ “ผู้ลงทุนรายใหญ่” ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 9/2555 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงความหมายของคําว่า “ผู้ลงทุนสถาบัน” หรือ “ผู้ลงทุนรายใหญ่” แล้วแต่กรณี ตามที่กําหนดในประกาศฉบับนี้ ข้อ ๘ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 (นายวรวิทย์ จําปีรัตน์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
645
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 4/2562 เรื่อง การกำหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่ (ฉบับที่ 2)
-ร่า - ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2562 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิก (17) ของข้อ 4 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2562 (นายวรวิทย์ จําปีรัตน์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
646
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 39/2564 เรื่อง การกำหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 39/2564 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 14 วรรคหนึ่ง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิก (1) ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 (2) ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2562 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2562 ข้อ ๒ ในกรณีที่ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน หรือประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งกําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการออกหลักทรัพย์ การเสนอขายหลักทรัพย์ หรือการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ โดยประกาศดังกล่าวมิได้กําหนดบทนิยามคําว่าผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ไว้โดยเฉพาะเป็นประการอื่น ให้คําดังกล่าวมีความหมายตามที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ ข้อ ๓ ในประกาศนี้ “เงินฝาก” หมายความว่า ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ (1) เงินฝาก บัตรเงินฝาก ใบรับฝากเงิน หรือตราสารอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกัน ที่ผู้รับฝากเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงิน หรือเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายต่างประเทศ (2) ข้อตกลงที่มีลักษณะที่เทียบเคียงได้กับทรัพย์สินตาม (1) ที่เป็นไปตามหลักชะรีอะฮ์ (Shariah) โดยคู่สัญญาฝ่ายที่เทียบเคียงได้กับผู้รับฝากเป็นธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย หรือเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายต่างประเทศ ทั้งนี้ คู่สัญญาที่เทียบเคียงได้กับผู้ฝากต้องสามารถเรียกคืนเงินต้นจากคู่สัญญาฝ่ายที่เทียบเคียงได้กับผู้รับฝากได้เต็มจํานวน ณ เวลาใด ๆ (3) สลากออมทรัพย์ สลากออมสินพิเศษ หรือตราสารอื่นที่มีลักษณะทํานองเดียวกันที่ออกโดยสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น “นิติบุคคลร่วมลงทุน” (venture capital) หมายความว่า นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการร่วมลงทุนในวิสาหกิจเริ่มต้น (startup) และจํากัดลักษณะของผู้ลงทุนไว้เฉพาะผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย “กิจการเงินร่วมลงทุน” (private equity) หมายความว่า กิจการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ และมีลักษณะที่ครบถ้วนดังต่อไปนี้ (1) มีวัตถุประสงค์เพื่อการลงทุนร่วมกันของผู้ลงทุนตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป โดยจํากัดลักษณะของผู้ลงทุนไว้เฉพาะผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย (2) มีการมอบหมายให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้จัดการเงินทุนและทรัพย์สินที่เกิดจากเงินทุน (3) มีนโยบายการลงทุนในกิจการอื่นผ่านการเข้าทําสัญญาการลงทุนในหุ้นหรือการสนับสนุนทางการเงินที่ก่อให้เกิดสิทธิในการได้มาซึ่งหุ้นของกิจการนั้นในภายหลัง โดยมีส่วนในการกํากับดูแลแผนธุรกิจ การดําเนินงานหรือการปรับปรุงการดําเนินงาน หรือการดําเนินการอื่นใดในลักษณะที่สะท้อนถึงการมีบทบาทต่อการดําเนินธุรกิจของกิจการดังกล่าว “พนักงาน” หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงทํางานให้แก่บริษัทเนื่องจากการจ้างแรงงาน โดยได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง หรือสิ่งของอื่นใดเป็นการตอบแทนการทํางาน คําว่า “ผู้บริหาร” “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” “บริษัทย่อย” และ “บริษัทร่วม” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ ข้อ ๔ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณาคุณสมบัติของผู้ลงทุนตามประกาศนี้ ให้สํานักงานมีอํานาจกําหนดแนวทาง (guideline) ในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่กําหนดในประกาศนี้ เพื่อให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้ลงทุนได้ ข้อ ๕ ผู้ลงทุนสถาบัน ได้แก่ ผู้ลงทุนที่เป็นนิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาซึ่งมีความเชี่ยวชาญในการลงทุน (professional investor) ดังต่อไปนี้ (1) ธนาคารแห่งประเทศไทย (2) ธนาคารพาณิชย์ (3) ธนาคารที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น (4) บริษัทเงินทุน (5) บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ (6) บริษัทหลักทรัพย์ (7) บริษัทประกันวินาศภัย (8) บริษัทประกันชีวิต (9) กองทุนรวม (10) กองทุนส่วนบุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์รับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนดังนี้ (ก) ผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (9) หรือ (11) ถึง (24) หรือ (26) (ข) ผู้ลงทุนตาม (25) ทั้งนี้ เฉพาะในธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริษัทดังกล่าว (ค) ผู้ลงทุนที่มีคุณสมบัติด้านฐานะทางการเงินเทียบเท่าผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ (11) กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (12) กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ (13) กองทุนประกันสังคม (14) กองทุนการออมแห่งชาติ (15) กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (16) ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (17) สถาบันการเงินระหว่างประเทศ (18) สถาบันคุ้มครองเงินฝาก (19) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (20) นิติบุคคลประเภทบรรษัท (21) นิติบุคคลซึ่งมีผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (20) ถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด (22) ผู้ลงทุนต่างประเทศซึ่งมีลักษณะทํานองเดียวกับผู้ลงทุนตาม (1) ถึง (21) หรือ (23) หรือ (26) (23) ผู้ที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในการลงทุน ได้แก่ (ก) ผู้จัดการกองทุน หรือผู้จัดการลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน (ข) นักวิเคราะห์การลงทุนที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน (ค) ผู้ลงทุนที่มีลักษณะเฉพาะ (angel investor) ดังนี้ ทั้งนี้ เฉพาะในธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์ที่ออกตามประกาศเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์โดยวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) หรือวิสาหกิจเริ่มต้น (startup) หรือหลักทรัพย์ที่เสนอขายผ่านผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง (crowdfunding portal) ที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน 1. ที่ปรึกษาทางการเงินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน 2. ผู้ให้บริการระบบคราวด์ฟันดิง (crowdfunding portal) ที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน 3. ผู้ลงทุนที่มีคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ และคุณสมบัติด้านฐานะการเงิน อย่างครบถ้วนตามที่กําหนดไว้ในตารางแนบท้ายประกาศ (24) กิจการที่ประกอบธุรกิจในลักษณะเงินร่วมลงทุน ได้แก่ นิติบุคคลร่วมลงทุน และกิจการเงินร่วมลงทุน (25) บุคคลที่มีความสัมพันธ์กับบริษัทในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ ทั้งนี้ เฉพาะในธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักทรัพย์ที่ออกโดยบริษัทดังกล่าว (ก) กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงาน (ข) ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (ค) บริษัทย่อย หรือบริษัทร่วม บุคคลที่มีความสัมพันธ์กับบริษัทตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึงบุคคลที่เคยมีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งข้างต้น ซึ่งพ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่เกิน 3 เดือน (26) ผู้ลงทุนอื่นใดตามที่สํานักงานประกาศกําหนด ข้อ ๖ ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ ได้แก่ ผู้ลงทุนที่มีคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ และคุณสมบัติด้านฐานะการเงิน อย่างครบถ้วนตามที่กําหนดไว้ในตารางแนบท้ายประกาศ ในการพิจารณาคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ นอกจากการได้รับวุฒิบัตรตามหลักสูตรที่ระบุไว้อย่างชัดเจนในตารางท้ายประกาศแล้ว ให้สํานักงานมีอํานาจประกาศกําหนดหลักสูตรเกี่ยวกับการบริหารการเงินและการลงทุนอื่นที่ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษต้องได้รับวุฒิบัตรได้ ข้อ ๗ ผู้ลงทุนรายใหญ่ ได้แก่ ผู้ลงทุนที่มีคุณสมบัติด้านความรู้หรือประสบการณ์ และคุณสมบัติด้านฐานะการเงิน อย่างครบถ้วนตามที่กําหนดไว้ในตารางแนบท้ายประกาศ ให้นําความในข้อ 6 วรรคสองมาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ ๘ ให้ถือว่าผู้ลงทุนที่มีลักษณะครบถ้วนดังต่อไปนี้ ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับไม่น้อยกว่า 9 เดือน เป็นผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ตามประกาศนี้ จนกว่าจะได้รับการจัดประเภทลูกค้าในรอบถัดไป (1) มีการเปิดบัญชีเพื่อการลงทุนกับบริษัทหลักทรัพย์ และได้รับการจัดประเภทลูกค้าจากบริษัทหลักทรัพย์ให้เป็นผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ แล้วแต่กรณี ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 (2) มีการลงทุนในผลิตภัณฑ์ในตลาดทุน (รวมถึงการลงทุนคงค้าง) ในบัญชีตาม (1) การจัดประเภทลูกค้าตามวรรคหนึ่ง (1) หมายถึง การจัดประเภทลูกค้าตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 35/2556 เรื่อง มาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ลงวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556 ข้อ ๙ ในกรณีที่มีประกาศฉบับใดอ้างอิงความหมายของคําว่า “ผู้ลงทุนสถาบัน” “ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ” หรือ “ผู้ลงทุนรายใหญ่” ตามประกาศดังต่อไปนี้ ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงความหมายของคําว่า “ผู้ลงทุนสถาบัน” “ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ” หรือ “ผู้ลงทุนรายใหญ่” แล้วแต่กรณี ตามที่กําหนดในประกาศนี้ (1) ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 9/2555 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 (2) ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ข้อ ๑๐ ให้บรรดาประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียนที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ซึ่งยังมีผลใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ หรือที่ยังมีผลใช้บังคับเนื่องจากบทเฉพาะกาลของประกาศดังกล่าว ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดแห่งประกาศนี้ จนกว่าจะได้มีประกาศ คําสั่ง และหนังสือเวียนที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ ๑๑ ให้บรรดาข้อจํากัดการโอนหลักทรัพย์ที่ได้จดทะเบียนไว้กับสํานักงานโดยอ้างอิงความหมายของคําว่า “ผู้ลงทุนสถาบัน” “ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ” หรือ “ผู้ลงทุนรายใหญ่” ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ยังคงมีผลเป็นการจํากัดการโอนหลักทรัพย์ให้อยู่ในกลุ่มผู้ลงทุนตามความหมายดังกล่าวต่อไป เว้นแต่ผู้ออกหลักทรัพย์ได้แจ้งต่อสํานักงานว่าประสงค์จะอ้างอิงความหมายของคําดังกล่าวตามข้อกําหนดในประกาศนี้ ข้อ ๑๒ ในกรณีที่สํานักงานได้รับคําขออนุญาตหรือคําขออนุมัติตามหลักเกณฑ์ที่ออกโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ไว้แล้วในวันก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ หากหลักเกณฑ์ในการอนุญาตหรืออนุมัติดังกล่าวกําหนดเกี่ยวกับคุณสมบัติผู้ลงทุนไว้ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ให้การพิจารณาคุณสมบัติของผู้ลงทุนดังกล่าวเป็นไปตามประกาศดังกล่าวต่อไป เว้นแต่ผู้ยื่นคําขออนุญาตหรืออนุมัติได้แจ้งต่อสํานักงานว่าประสงค์จะให้การพิจารณาคุณสมบัติผู้ลงทุนเป็นไปตามข้อกําหนดในประกาศนี้ ข้อ ๑๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2564 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
647
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9 มาตรา 10(1) และ (2) มาตรา 17 มาตรา 18 มาตรา 19 มาตรา 21 และมาตรา 25 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน” (investment token) หมายความว่า หน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งถูกสร้างขึ้นบนระบบหรือเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกําหนดสิทธิของบุคคลในการเข้าร่วมลงทุนในโครงการหรือกิจการใด ๆ “โทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์” (utility token) หมายความว่า หน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งถูกสร้างขึ้นบนระบบหรือเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกําหนดสิทธิในการได้มาซึ่งสินค้าหรือบริการหรือสิทธิอื่นใดที่เฉพาะเจาะจง ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในข้อตกลงระหว่างผู้ออกและผู้ถือ “นิติบุคคลร่วมลงทุน” (venture capital) หมายความว่า นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการร่วมลงทุนในวิสาหกิจเริ่มต้น (startup) และจํากัดลักษณะของผู้ลงทุนไว้เฉพาะผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย “กิจการเงินร่วมลงทุน” (private equity) หมายความว่า กิจการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ และมีลักษณะที่ครบถ้วนดังต่อไปนี้ (1) มีวัตถุประสงค์เพื่อการลงทุนร่วมกันของผู้ลงทุนตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป โดยจํากัดลักษณะของผู้ลงทุนไว้เฉพาะผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย (2) มีการมอบหมายให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้จัดการเงินทุนและทรัพย์สินที่เกิดจากเงินทุน (3) มีนโยบายการลงทุนในกิจการอื่นผ่านการเข้าทําสัญญาการลงทุนในหุ้นหรือการสนับสนุนทางการเงินที่ก่อให้เกิดสิทธิในการได้มาซึ่งหุ้นของกิจการนั้นในภายหลัง โดยมีส่วนในการกํากับดูแลแผนธุรกิจ การดําเนินงานหรือการปรับปรุงการดําเนินงาน หรือการดําเนินการอื่นใดในลักษณะที่สะท้อนถึงการมีบทบาทต่อการดําเนินธุรกิจของกิจการดังกล่าว “ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล” (ICO portal) หมายความว่า ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. “สัญญาอัจฉริยะ” (smart contract) หมายความว่า ชุดคําสั่งคอมพิวเตอร์ที่ดําเนินการบังคับตามข้อตกลงระหว่างคู่สัญญาโดยอัตโนมัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ตามที่กําหนด “ผู้บริหาร” หมายความว่า ผู้จัดการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหาร 4 รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา ผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งเทียบเท่ากับผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหารรายที่ 4 ทุกรายและให้หมายความรวมถึงผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า “อํานาจควบคุมกิจการ” หมายความว่า (1) การถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงในนิติบุคคลหนึ่งเกินกว่าร้อยละ 50 ของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น (2) การมีอํานาจควบคุมคะแนนเสียงส่วนใหญ่ในที่ประชุมผู้ถือหุ้นของนิติบุคคลหนึ่ง ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือไม่ว่าเพราะเหตุอื่นใด (3) การมีอํานาจควบคุมการแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการตั้งแต่กึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม “บริษัทจดทะเบียน” หมายความว่า บริษัทที่มีหุ้นจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภาค ๑ บททั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด ๑ ขอบเขตการใช้บังคับประกาศ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับผู้ออกและเสนอขายโทเคนดิจิทัลดังต่อไปนี้ (1) โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน (2) โทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์ ซึ่งผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่พร้อมที่จะให้ผู้ถือใช้ประโยชน์ตามสิทธิของโทเคนดิจิทัลนั้น ๆ ได้ทันทีตั้งแต่วันที่เสนอขายโทเคนดิจิทัลครั้งแรก ข้อ ๔ ประกาศนี้กําหนดหลักเกณฑ์ในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การอนุญาตและวิธีการยื่นคําขออนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัล ให้เป็นไปตามภาค 2 (2) การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน ให้เป็นไปตามภาค 3 (3) การเปิดเผยข้อมูลของผู้ออกโทเคนดิจิทัล ให้เป็นไปตามภาค 4 (4) ค่าธรรมเนียมการยื่นคําขออนุญาต การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล และการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ให้เป็นไปตามภาค 5 หมวด ๒ อํานาจของสํานักงาน ก.ล.ต. \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๕ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ที่เป็นเหตุอันควรสงสัยอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจไม่อนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัลตามประกาศนี้ได้ (1) ผู้ขออนุญาตหรือการเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการเสนอขายโทเคนดิจิทัลนั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ประกาศนี้ หรือประกาศอื่น (2) การเสนอขายโทเคนดิจิทัลอาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐ (3) การเสนอขายโทเคนดิจิทัลอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม (4) การเสนอขายโทเคนดิจิทัลอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุนโดยรวม หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนโดยรวมไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน ข้อ ๖ ในกรณีที่เข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจผ่อนผันไม่นําหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้มาใช้พิจารณาคําขออนุญาต หรือไม่นําเงื่อนไขตามประกาศนี้มาใช้บังคับกับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตได้ (1) มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจนซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผันให้ ไม่มีนัยสําคัญสําหรับการพิจารณาอนุญาตในกรณีนั้น และประโยชน์ที่จะได้ไม่คุ้มค่ากับต้นทุนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขดังกล่าว (2) ผู้ขออนุญาตมีข้อจํากัดตามกฎหมายอื่นที่ทําให้ไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน (3) ผู้ขออนุญาตมีมาตรการอื่นที่เพียงพอ และสามารถทดแทนการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน การผ่อนผันตามวรรคหนึ่งให้คํานึงถึงความเหมาะสมและความเพียงพอของข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนและมาตรการคุ้มครองผู้ลงทุนเป็นสําคัญ ทั้งนี้ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ขออนุญาตต้องปฏิบัติด้วยก็ได้ ข้อ ๗ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงเพิ่มเติมต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัล ซึ่งหากข้อเท็จจริงดังกล่าวปรากฏต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนการอนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัลนั้น อาจทําให้การพิจารณาของสํานักงาน ก.ล.ต. เปลี่ยนแปลงไป หรือในกรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในประกาศนี้หรือตามข้อผูกพันที่ให้ไว้ในคําขออนุญาต สํานักงาน ก.ล.ต. อาจดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) สั่งให้ผู้ได้รับอนุญาต กรรมการ หรือผู้บริหารชี้แจง หรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมภายในระยะเวลาที่กําหนด และให้ผู้ได้รับอนุญาตระงับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตไว้ก่อนจนกว่าจะได้ชี้แจงหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (2) สั่งให้ผู้ได้รับอนุญาตหยุดการเสนอขายโทเคนดิจิทัลในส่วนที่ยังมิได้เสนอขายหรือยังไม่มีผู้จองซื้อ และให้การอนุญาตเป็นอันสิ้นสุดลงโดยไม่มีผลกระทบต่อการเสนอขายโทเคนดิจิทัลในส่วนที่ได้เสนอขายหรือมีผู้จองซื้อแล้ว ข้อ ๘ ในกรณีที่สํานักงาน ก.ล.ต. เห็นว่าเอกสารหรือรายงานที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจัดส่งให้มีข้อมูลไม่ครบถ้วนหรือมีข้อความคลุมเครือหรือไม่ชัดเจน หรือมีเหตุจําเป็นและสมควรเพื่อให้ผู้ลงทุนมีข้อมูลที่มีนัยสําคัญซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ ต่อการตัดสินใจลงทุน หรือต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาโทเคนดิจิทัลอย่างเพียงพอ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลดําเนินการดังต่อไปนี้ภายในระยะเวลาที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด (1) เปิดเผยข้อมูล รายงาน หรือส่งเอกสารหลักฐานเพิ่มเติม (2) ชี้แจง หรือแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูล (3) จัดให้มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่เป็นอิสระจัดทําความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วน หรือความน่าเชื่อถือของข้อมูลให้สํานักงาน ก.ล.ต. ทราบ ในกรณีที่เอกสารหรือรายงานตามวรรคหนึ่งคือแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน หากผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่ดําเนินการตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่ประสงค์จะยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน ก.ล.ต. อีกต่อไป ในการกําหนดให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลดําเนินการตามวรรคหนึ่ง สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลเปิดเผยการสั่งการ การดําเนินการ ข้อสังเกตของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือคําชี้แจงของผู้ออกโทเคนดิจิทัล ผ่านทางเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ตามแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดด้วยก็ได้ ข้อ ๙ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจผ่อนผันการเปิดเผยรายละเอียดของข้อมูลในเอกสารดังต่อไปนี้ได้ หากผู้ออกโทเคนดิจิทัลสามารถแสดงได้ว่าข้อมูลดังกล่าวมิใช่ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ และมีเหตุอันควรที่จะไม่แสดงรายละเอียดของข้อมูลดังกล่าวไว้ในเอกสารนั้นหรือได้ดําเนินการประการอื่นเพื่อทดแทนอย่างเพียงพอแล้ว (1) แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามที่กําหนดในภาค 3 (2) รายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ออกโทเคนดิจิทัลตามที่กําหนดในหมวด 1 ของภาค 4 ข้อ ๑๐ ในกรณีมีเหตุจําเป็นและสมควรทําให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่สามารถจัดทําและส่งรายงานที่กําหนดในภาค 4 ผู้ออกโทเคนดิจิทัลอาจมีหนังสือขอผ่อนผันการส่งรายงานดังกล่าวต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนวันครบระยะเวลาที่กําหนดไว้ พร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลในการขอผ่อนผันและแจ้งกําหนดระยะเวลาที่จะจัดส่งรายงานนั้น ในกรณีที่สํานักงาน ก.ล.ต. ไม่ผ่อนผันให้ตามที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลร้องขอตามวรรคหนึ่ง ผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องรับผิดเนื่องจากการไม่ปฏิบัติตามมาตรา 25 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 นับแต่วันครบระยะเวลาที่กําหนดในการส่งรายงานดังกล่าวตามที่กําหนดในภาค 4 ข้อ ๑๑ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามประกาศนี้ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) กําหนดหลักเกณฑ์ในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้ ให้มีความชัดเจนเพียงพอที่ผู้ขออนุญาตหรือผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้จะสามารถปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ในแนวเดียวกันทั้งนี้ การกําหนดหลักเกณฑ์ดังกล่าวอาจกําหนดตามลักษณะของโทเคนดิจิทัล ผู้ออกโทเคนดิจิทัล ผู้ลงทุน หรือการเสนอขายก็ได้ (2) กําหนดแนวทาง (guideline) การปฏิบัติในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้เพื่อเป็นการให้แนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเหมาะสมและสอดคล้องตามประกาศนี้ และหากผู้ขออนุญาตหรือผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าบุคคลดังกล่าวมีการปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้ในเรื่องที่มีการออกแนวทางนั้น ในการดําเนินการของสํานักงาน ก.ล.ต. ตามวรรคหนึ่ง ให้นําปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ มาประกอบการพิจารณาดําเนินการด้วย (1) การส่งเสริมให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีความรับผิดชอบต่อผู้ลงทุน (2) ความได้สัดส่วนระหว่างภาระของผู้อยู่ใต้บังคับแห่งประกาศนี้ กับประโยชน์ที่ผู้ลงทุนโดยรวมจะได้รับ (3) การส่งเสริมให้เกิดทางเลือกในการระดมทุนและการลงทุน (4) การส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยรวม (5) การส่งเสริมการแข่งขันอย่างเป็นธรรมของภาคเอกชน ข้อ ๑๒ เพื่อให้สํานักงาน ก.ล.ต. สามารถติดตามการปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตหรือผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้จัดส่งข้อมูล รายงาน หรือเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายในระยะเวลาที่เหมาะสมได้ หรือจะสั่งการเป็นรายกรณีโดยต้องไม่เป็นภาระต่อบุคคลนั้นจนเกินสมควร ทั้งนี้ ระยะเวลาที่สํานักงาน ก.ล.ต. จะกําหนดให้เป็นไปตามกรอบดังนี้ (1) ในกรณีที่เป็นเรื่องเร่งด่วนและมีผลกระทบต่อผู้ออกโทเคนดิจิทัล ผู้ลงทุน หรือตลาดทุน อย่างมีนัยสําคัญ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดให้ดําเนินการภายในวันทําการที่เกิดกรณีดังกล่าวได้ (2) ในกรณีอื่นนอกจาก (1) ให้กําหนดระยะเวลาอย่างสมเหตุสมผลตามสภาพการณ์ เรื่อง และประเด็นที่เกี่ยวข้อง หมวด ๓ การจัดทํา ยื่น ส่ง หรือเปิดเผยข้อมูล และเอกสารตามประกาศ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๓ เว้นแต่ข้อกําหนดในประกาศนี้จะกําหนดไว้เป็นอย่างอื่น การจัดทํา ยื่น ส่ง หรือเปิดเผยข้อมูลตามประกาศนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวดนี้ ข้อ ๑๔ ภาษาที่ใช้ในการจัดทํา ยื่น ส่ง หรือเปิดเผยข้อมูลหรือเอกสารตามประกาศนี้ ให้ใช้ภาษาไทย ผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้อาจจัดทํา ยื่น ส่ง หรือเปิดเผยข้อมูลหรือเอกสารตามวรรคหนึ่งเป็นภาษาอังกฤษด้วยก็ได้ โดยมีสาระสําคัญของข้อมูลไม่ต่างจากข้อมูลหรือเอกสารฉบับภาษาไทย ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการยื่นหรือส่งต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ต้องยื่นหรือส่งคํารับรองความถูกต้องของข้อมูลมาพร้อมกันด้วย ข้อ ๑๕ การยื่นหรือส่งข้อมูลหรือเอกสารตามประกาศนี้ ให้เป็นไปตามรูปแบบและวิธีการที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต ภาค ๒ หลักเกณฑ์การอนุญาตและ วิธีการยื่นคําขออนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด ๑ หลักเกณฑ์การอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๖ ความในหมวดนี้ให้ใช้บังคับกับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่เข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) การเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ออกใหม่ต่อประชาชน (2) การเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้ออกไว้แล้วและมีวัตถุประสงค์ที่จะเสนอขายเป็นการทั่วไปต่อประชาชน ข้อ ๑๗ การเสนอขายโทเคนดิจิทัลจะได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ขออนุญาตเป็นบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (2) ผู้ขออนุญาตไม่เป็นบุคคลล้มละลาย มีหนี้สินล้นพ้นตัว หรืออยู่ระหว่างการยื่นหรือไต่สวนคําร้องขอฟื้นฟูกิจการหรือการฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย (3) เป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนที่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) ผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 4/2560 เรื่อง การกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 (ข) นิติบุคคลร่วมลงทุน หรือกิจการเงินร่วมลงทุน (ค) ผู้ลงทุนที่มิใช่ผู้ลงทุนตาม (ก) หรือ (ข) ซึ่งเสนอขายเป็นมูลค่าไม่เกินรายละ 3 แสนบาทต่อการเสนอขายในครั้งนั้น ทั้งนี้ ผู้ขออนุญาตต้องกําหนดมูลค่าสูงสุดของการเสนอขายในแต่ละครั้งต่อผู้ลงทุนประเภทนี้รวมกันไม่เกินมูลค่าดังนี้ แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า 1. ไม่เกิน 4 เท่าของส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ออกโทเคนดิจิทัล 2. ไม่เกินร้อยละ 70 ของมูลค่าทั้งหมดที่เสนอขายต่อครั้ง (4) ผู้ขออนุญาตเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 18 (5) โทเคนดิจิทัลที่ขออนุญาตเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 19 (6) ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่าข้อมูลที่เปิดเผยต่อประชาชนหรือต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ไม่ตรงต่อความเป็นจริง ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน หรือมีข้อความที่อาจทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด (7) ผู้ขออนุญาตแสดงได้ว่า ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล (ICO portal) ได้พิจารณาแล้วว่าการเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีลักษณะที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในหมวดนี้ และสามารถเสนอขายผ่านระบบของผู้ให้บริการดังกล่าวได้ ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามวรรคหนึ่ง (7) ต้องไม่มีความเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียกับผู้ออกโทเคนดิจิทัลในลักษณะที่อาจทําให้ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลดังกล่าวขาดความเป็นอิสระในการทําหน้าที่เป็นผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล ข้อ ๑๘ ผู้ขออนุญาตต้องแสดงให้สํานักงาน ก.ล.ต. เห็นได้ว่ามีคุณสมบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (2) ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุอันควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุมกิจการของผู้ขออนุญาตมีลักษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท โดยอนุโลม (3) งบการเงินของผู้ขออนุญาตและงบการเงินรวมประจํางวดการบัญชีปีล่าสุด (ถ้ามี) ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังนี้ และเป็นไปตามหลักเกณฑ์อื่นที่เกี่ยวข้องกับการจัดทํางบการเงินตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ 1. มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยสําหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ในกรณีที่ผลการดําเนินงานและฐานะการเงินในอดีตของผู้ขออนุญาตมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกโทเคนดิจิทัลที่ขออนุญาต 2. มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยตามที่กําหนดโดยกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพบัญชี ในกรณีอื่นนอกจาก 1. (ข) ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที่สํานักงาน ก.ล.ต. ให้ความเห็นชอบให้สามารถตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงินของผู้ออกโทเคนดิจิทัล เว้นแต่เป็นงบการเงินที่จัดทําขึ้นตามหลักเกณฑ์ใน (ก) 2. (ค) รายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี ต้องไม่มีความหมายในลักษณะดังนี้ 1. ไม่แสดงความเห็นต่องบการเงินของผู้ขออนุญาตและงบการเงินรวม หรือแสดงความเห็นว่างบการเงินไม่ถูกต้อง 2. แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขในรายการบัญชีที่เป็นสาระสําคัญว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 3. แสดงความเห็นว่าถูกจํากัดขอบเขตการตรวจสอบโดยการกระทําหรือไม่กระทําของผู้ขออนุญาต หรือกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ขออนุญาต (4) ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตมีหน้าที่ตามกฎหมายในการเปิดเผยข้อมูลอย่างต่อเนื่องตามภาค 4 ของประกาศนี้ หรือตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ต้องไม่อยู่ระหว่างการดําเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งดังนี้ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ก.ล.ต. (ก) ค้างการนําส่งงบการเงินหรือรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําตามหมวด 1 ของภาค 4 ของประกาศนี้ หรือตามมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (ข) ค้างส่งรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําและจัดส่งต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตามหมวด 2 ของภาค 4 ของประกาศนี้ หรือตามมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (ค) ปรับปรุงแก้ไขงบการเงิน หรือรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําตามภาค 4 ของประกาศนี้ หรือตามมาตรา 56 หรือมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. แจ้งให้ดําเนินการปรับปรุงแก้ไข (ง) ปฏิบัติตามคําสั่งของสํานักงาน ก.ล.ต. ตามข้อ 8 หรือตามมาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (5) ผู้ขออนุญาตไม่มีลักษณะตามข้อ 20 ข้อ ๑๙ ผู้ขออนุญาตต้องแสดงให้สํานักงาน ก.ล.ต. เห็นได้ว่า โทเคนดิจิทัลที่ขออนุญาตเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) แสดงได้ว่าโทเคนดิจิทัลที่ขออนุญาตเป็นโทเคนดิจิทัลประเภทใดประเภทหนึ่งดังนี้ (ก) โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน (ข) โทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์ (2) โทเคนดิจิทัลที่ขออนุญาตมีความชัดเจนเกี่ยวกับแผนธุรกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแนวทางการดําเนินโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจ รวมทั้งการให้สิทธิแก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัลที่มีข้อกําหนดอย่างน้อยดังนี้ โดยผู้ขออนุญาตต้องแสดงได้ว่ามีการพิจารณาและวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วนแล้ว (ก) กรณีโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน ต้องมีข้อกําหนดที่ชัดเจนเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือในการเข้าร่วมลงทุนในโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจ วิธีการและเงื่อนไขในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกําหนดสิทธิ และมาตรการในการรักษาสิทธิของผู้ถืออย่างเป็นธรรม (ข) กรณีโทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์ ต้องมีข้อกําหนดที่ชัดเจนเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือในการได้มาซึ่งสินค้า บริการ หรือสิทธิอื่นใด วิธีการและเงื่อนไขในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกําหนดสิทธิ และมาตรการในการรักษาสิทธิของผู้ถืออย่างเป็นธรรม (3) ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่าแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัลและกลไกการให้สิทธิแก่ผู้ถือผ่านสัญญาอัจฉริยะ (smart contract) ไม่สามารถบังคับได้จริง หรือเป็นการเอาเปรียบผู้ลงทุน (4) แสดงได้ว่ามีการจัดทําและเปิดเผยรหัสต้นทาง (source code) ของสัญญาอัจฉริยะ (smart contract) ทั้งนี้ การเปิดเผยรหัสต้นทางให้เป็นไปตามแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดบนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ข้อ ๒๐ ผู้ขออนุญาตต้องไม่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ เว้นแต่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดในข้อ 21 (1) ภายในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัล ผู้ขออนุญาตต้องไม่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ (ก) เคยมีประวัติฝ่าฝืนหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์หรือการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ในเรื่องที่มีนัยสําคัญ (ข) เคยถูกสํานักงาน ก.ล.ต. ปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ เนื่องจากมีเหตุที่มีนัยสําคัญอันควรสงสัยเกี่ยวกับกลไกการบริหารจัดการในลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ 1. อาจไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นได้อย่างเป็นธรรมโดยอาจมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งซึ่งจะทําให้ได้เปรียบผู้ถือหุ้นรายอื่นหรือได้ประโยชน์มากกว่าผู้ถือหุ้นรายอื่นโดยไม่สมควร 2. อาจไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นได้โดยทําให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งได้รับประโยชน์ทางการเงินนอกเหนือจากที่พึงได้ตามปกติ หรือโดยทําให้บริษัทเสียประโยชน์ที่พึงได้รับ (ค) เคยถูกสํานักงาน ก.ล.ต. ปฏิเสธคําขออนุญาตหรือสั่งเพิกถอนการอนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่หรือโทเคนดิจิทัล เนื่องจากมีเหตุที่ทําให้สงสัยเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนหรือต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ที่ไม่ครบถ้วน ไม่ตรงตามความเป็นจริง ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน หรือทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ซึ่งมีลักษณะเป็นการปกปิดหรืออําพราง หรือสร้างข้อมูลที่อาจไม่มีอยู่จริงในรายการหรือการดําเนินการที่มีนัยสําคัญ (ง) เคยถอนคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่หรือโทเคนดิจิทัล โดยไม่มีการชี้แจงเหตุสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. หรือโดยมีการชี้แจงแต่ไม่ได้แสดงข้อเท็จจริงหรือเหตุผลอย่างสมเหตุสมผลที่จะหักล้างข้อสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) นั้น (2) ภายในระยะเวลา 10 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัลผู้ขออนุญาตเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (3) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษหรือถูกดําเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริตอันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (4) เป็นบุคคลที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นการจัดรูปแบบเพื่อให้บุคคลที่มีลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3) หลีกเลี่ยงมิให้สํานักงาน ก.ล.ต. ใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาตาม (1) (2) หรือ (3) กับบุคคลที่มีลักษณะดังกล่าวนั้น ข้อ ๒๑ มิให้นําความในข้อ 20(1) และ (2) แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับกับผู้ขออนุญาตซึ่งได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเหตุ ระบบงาน ระบบการบริหารจัดการ และการควบคุมการดําเนินงานที่ทําให้ผู้ขออนุญาตมีลักษณะตามข้อ 20(1) หรือ (2) แล้ว หมวด ๒ วิธีการยื่นคําขออนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๒ ผู้ที่ประสงค์จะขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัล ให้ยื่นคําขออนุญาตและเอกสารหลักฐานอื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ข้อ ๒๓ ให้ผู้ขออนุญาตชําระค่าธรรมเนียมคําขออนุญาตตามอัตราที่กําหนดไว้ในภาค 5 ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เมื่อสํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาตที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ข้อ ๒๔ เมื่อสํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) สอบทานข้อเท็จจริงตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนและแจ้งประเด็นข้อสังเกตที่ได้จากการสอบทานข้อเท็จจริงเพื่อให้บริษัทชี้แจงข้อสังเกตนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือแจ้งข้อสังเกต โดยต้องดําเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 60 วันนับแต่วันที่สํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน (2) แจ้งผลการพิจารณาคําขออนุญาตภายใน 30 วันนับแต่วันที่สํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับคําชี้แจงตามข้อสังเกตจากการสอบทานข้อเท็จจริงจากผู้ขออนุญาต ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ ให้ผู้ขออนุญาตยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนที่สํานักงานก.ล.ต. จะเริ่มพิจารณาคําขออนุญาตตามวรรคหนึ่ง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน เว้นแต่สํานักงาน ก.ล.ต. ยอมรับคําขอผ่อนผันเมื่อพ้นระยะเวลาดังกล่าวในกรณีมีเหตุจําเป็นและสมควร ทั้งนี้ สํานักงาน ก.ล.ต. จะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาการอนุญาต หมวด ๓ เงื่อนไขการอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๕ ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการขายโทเคนดิจิทัลให้แล้วเสร็จภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่สํานักงาน ก.ล.ต. แจ้งการอนุญาต หากไม่สามารถดําเนินการให้แล้วเสร็จได้ภายในระยะเวลาดังกล่าวและยังประสงค์จะเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อไป ให้ผู้ได้รับอนุญาตมีหนังสือถึงสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนพ้นระยะเวลาดังกล่าวไม่น้อยกว่า 30 วันเพื่อขอขยายระยะเวลาเสนอขาย โดยต้องแจ้งเหตุผลของการขอขยายระยะเวลา และแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของผู้ได้รับอนุญาตและโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตตามหมวด 1 ของภาคนี้ ในส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสําคัญด้วย (ถ้ามี) ในกรณีนี้ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. มีอํานาจขยายระยะเวลาให้อีกได้ตามที่เห็นควร แต่ระยะเวลาดังกล่าวต้องไม่เกิน 12 เดือนนับแต่วันที่สํานักงาน ก.ล.ต. แจ้งผลการอนุญาตครั้งแรก ข้อ ๒๖ ตลอดระยะเวลาที่ผู้ได้รับอนุญาตมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในภาค 4 ผู้ได้รับอนุญาตต้องปฏิบัติตามข้อผูกพันที่ให้ไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน เว้นแต่เป็นกรณีที่ไม่กระทบต่อสิทธิของผู้ถือโทเคนดิจิทัลอย่างมีนัยสําคัญ หรือกรณีที่เป็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงโดยชอบตามวิธีการที่กําหนดไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนที่ผ่านการพิจารณาจากสํานักงาน ก.ล.ต. หมวด ๔ หลักเกณฑ์การเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาต การเผยแพร่ข้อมูล และการโฆษณาชี้ชวน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๗ ได้รับอนุญาตต้องเสนอขายโทเคนดิจิทัลผ่านผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่เป็นผู้พิจารณาลักษณะของผู้ได้รับอนุญาตและโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตตามข้อ 17(7) ข้อ ๒๘ ในกรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตจะรับคริปโทเคอร์เรนซี เป็นการตอบแทน ให้รับได้เฉพาะคริปโทเคอร์เรนซีที่อยู่ในบัญชีรายชื่อที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. และได้มาจากการซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรือฝากไว้กับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตตามพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 ซึ่งไม่อยู่ระหว่างถูกระงับการประกอบธุรกิจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับคริปโทเคอร์เรนซีเท่านั้น ข้อ ๒๙ การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลก่อนวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับ ให้กระทําได้หลังจากสํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนแล้ว และให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ก่อนวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับ โดยอนุโลม ข้อ ๓๐ นับแต่วันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับ หากผู้ได้รับอนุญาตจะจัดให้มีการโฆษณาชี้ชวนเกี่ยวกับโทเคนดิจิทัลโดยวิธีการอื่นนอกจากการแจกจ่ายหนังสือชี้ชวน ข้อมูลที่จะใช้ในการโฆษณาอย่างน้อยต้องจัดทําเป็นภาษาไทยและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ไม่มีลักษณะเป็นเท็จ เกินความจริง บิดเบือน ปิดบัง หรือทําให้สําคัญผิดในสาระสําคัญ (2) สาระสําคัญของข้อมูลที่แสดงในโฆษณาต้องไม่นอกเหนือไปจากข้อมูลที่แสดงไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนที่ได้ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ในกรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในวรรคหนึ่ง ผู้ได้รับอนุญาตต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามคําสั่งของสํานักงาน ก.ล.ต. ที่จะสั่งให้ดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้ (1) หยุดการโฆษณา หรือยุติการส่งเสริมการขาย ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน (2) แก้ไขข้อมูลหรือข้อความในการโฆษณาหรือการส่งเสริมการขาย (3) ชี้แจงเพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ตรงต่อความเป็นจริง หรือไม่ทําให้สําคัญผิด (4) กระทําการหรือไม่กระทําการใดภายในระยะเวลาที่กําหนดเพื่อให้ผู้ลงทุนตัดสินใจหรือทบทวนการตัดสินใจ บนพื้นฐานข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ตรงต่อความเป็นจริง และไม่ทําให้สําคัญผิด ข้อ ๓๑ ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดให้มีช่องทางในการแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนไม่ว่าในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสม เว้นแต่จะมีการแสดงเจตนาโดยสมัครใจที่จะไม่รับหนังสือชี้ชวน ในกรณีที่มีการแสดงเจตนาตามวรรคหนึ่ง ผู้ได้รับอนุญาตต้องแจกจ่ายหรือจัดส่งสรุปข้อมูลสําคัญของโทเคนดิจิทัล (factsheet) ไม่ว่าด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อให้ผู้ประสงค์ที่จะซื้อโทเคนดิจิทัลได้รับข้อมูลดังกล่าวก่อนทําการจองซื้อ ข้อ ๓๒ ให้ผู้ได้รับอนุญาตรายงานผลการขายโทเคนดิจิทัลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 15 วันนับแต่วันปิดการเสนอขาย โดยให้รายงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ภาค ๓ การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล และร่างหนังสือชี้ชวน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด ๑ ข้อกําหนดทั่วไปและวิธีการยื่น \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓๓ การเสนอขายโทเคนดิจิทัลจะกระทําได้ต่อเมื่อผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ตามภาค 2 และได้ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน ก.ล.ต. และแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลดังกล่าวมีผลใช้บังคับแล้ว ข้อ ๓๔ ในกรณีที่ระยะเวลาการเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามที่กําหนดในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลสิ้นสุดลงแล้ว หากผู้ออกโทเคนดิจิทัลประสงค์จะเสนอขายโทเคนดิจิทัลส่วนที่เหลือจากการเสนอขายครั้งก่อน ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนฉบับใหม่โดยวิธีการตามที่กําหนดในข้อ 35 มาตรา ๓๕ ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน ตามแบบที่กําหนดไว้ในหมวด 2 ของภาคนี้ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ตามแนวทางและวิธีการที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. หมวด ๒ แบบและข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขาย โทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓๖ แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ให้แบ่งออกเป็น 6 ส่วน ดังนี้ โดยมีรายละเอียดของข้อมูลตามข้อ 37 (1) ส่วนสรุปข้อมูลสําคัญ (factsheet) ซึ่งสรุปสาระสําคัญของโทเคนดิจิทัล รวมทั้งลักษณะพิเศษและความเสี่ยงที่สําคัญของโทเคนดิจิทัล และสรุปสาระสําคัญของผู้ออกโทเคนดิจิทัลโดยย่อ เพื่อให้เข้าใจภาพรวมของโทเคนดิจิทัลและผู้ออกโทเคนดิจิทัล (2) ส่วนข้อมูลผู้ออกโทเคนดิจิทัลและวัตถุประสงค์การใช้เงิน โดยข้อมูลเกี่ยวกับผู้ออกโทเคนดิจิทัลที่ระบุในส่วนนี้ ให้รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ออกโทเคนดิจิทัลด้วย (3) ส่วนข้อมูลแผนธุรกิจ ซึ่งแสดงสาระสําคัญตามที่กําหนดในข้อ 19(2) โดยอนุโลม (4) ส่วนข้อมูลเกี่ยวกับโทเคนดิจิทัล ซึ่งแสดงสาระสําคัญของโทเคนดิจิทัล รวมทั้งลักษณะพิเศษและความเสี่ยงที่สําคัญ (5) ส่วนข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล (6) ส่วนการรับรองความถูกต้องของข้อมูล ซึ่งเป็นไปตามหมวด 3 ข้อ ๓๗ ข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ต้องมีรายละเอียดที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ไม่มีข้อมูลที่เป็นเท็จ หรือที่อาจทําให้สําคัญผิด และไม่ขาดข้อความที่ควรต้องแจ้งในสาระสําคัญ (2) งบการเงินและงบการเงินรวมของผู้ออกโทเคนดิจิทัลที่เปิดเผยในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน (ถ้ามี) ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในหมวด 1 ของภาค 4 โดยอนุโลม (3) ในกรณีเป็นการเสนอขายโทเคนดิจิทัลพร้อมกันหรือในระยะเวลาใกล้เคียงกันในประเทศอื่นด้วย ต้องมีรายละเอียดข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องที่พึงเปิดเผยต่อผู้ลงทุนไม่น้อยกว่าที่เปิดเผยในประเทศอื่น (4) มีข้อมูลตามรายการที่กําหนดในมาตรา 69(1) ถึง (10) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยอนุโลม (5) ข้อมูลที่จําเป็นต่อการตัดสินใจลงทุนตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ข้อ ๓๘ แบบของร่างหนังสือชี้ชวนที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ให้อนุโลมใช้ตามแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีหน้าที่ยื่นตามข้อ 36 และข้อ 37 และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ด้วย (1) ร่างหนังสือชี้ชวนที่ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. อย่างน้อยต้องมีร่างที่จัดทําเป็นภาษาไทย (2) รายการในร่างหนังสือชี้ชวนที่ตรงกับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ต้องมีสาระสําคัญของข้อมูลไม่ต่างกัน (3) ต้องมีคําเตือนที่ระบุไว้ให้เห็นอย่างชัดเจนว่า “การลงทุนในโทเคนดิจิทัลมีความเสี่ยงสูง ผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับเงินหรือคริปโทเคอร์เรนซีที่ลงทุนกลับคืน ดังนั้น ก่อนลงทุน ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล และประเมินความเสี่ยงจากการลงทุนด้วยความระมัดระวัง รวมทั้งควรตระหนักถึงข้อจํากัดในการเปลี่ยนมือของโทเคนดิจิทัลด้วย สิ่งสําคัญ คือ ไม่ควรลงทุนด้วยเงินหรือคริปโทเคอร์เรนซีทั้งหมดที่มีอยู่ ทั้งนี้ การเผยแพร่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลไม่ได้เป็นการแสดงว่า สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุน หรือประกันราคาหรือผลตอบแทนของโทเคนดิจิทัลที่เสนอขาย หรือรับรองความสําเร็จของโครงการ” ข้อ ๓๙ ก่อนปิดการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาต หากผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้เปิดเผยข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญที่มิได้แสดงอยู่ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและหนังสือชี้ชวนให้แก่บุคคลใดเป็นการเฉพาะรายเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ความเหมาะสมของการลงทุนในโทเคนดิจิทัลที่เสนอขาย หรือการตัดสินใจลงทุนในโทเคนดิจิทัลที่เสนอขาย ผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องดําเนินการให้มีการเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าวในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและหนังสือชี้ชวนโดยพลัน ทั้งนี้ ต้องไม่ช้ากว่าวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีผลใช้บังคับ หรือในกรณีที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีผลใช้บังคับแล้วต้องไม่ช้ากว่าวันทําการถัดจากวันที่ได้เปิดเผยข้อเท็จจริงต่อบุคคลใดนั้น หมวด ๓ การรับรองข้อมูล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๐ การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมิใช่บริษัทจดทะเบียน ให้กรรมการทุกคน ผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุด และผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ลงลายมือชื่อ (2) กรณีที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลเป็นบริษัทจดทะเบียน ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันมิใช่ผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุด หรือผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี การลงลายมือชื่อดังกล่าวต้องมีผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดหรือผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ลงลายมือชื่อด้วย ข้อ ๔๑ ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควรทําให้บุคคลที่ต้องลงนามเพื่อนิติบุคคลตามที่กําหนดในข้อ 40 ไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ ให้นิติบุคคลดังกล่าวปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ก.ล.ต. (1) หากเหตุที่ทําให้บุคคลดังกล่าวคนใดไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ เกิดจากการที่บุคคลดังกล่าวอยู่ในภาวะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บป่วยทางร่างกายหรือทางจิต ผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการข้อมูล (2) หากเหตุที่ทําให้บุคคลดังกล่าวคนใดไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ เกิดจากกรณีอื่นนอกจากที่ระบุใน (1) เมื่อเหตุดังกล่าวหมดสิ้นไป ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจัดให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อทันที เพื่อให้แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีผลใช้บังคับได้ตามข้อ 42 หมวด ๔ วันมีผลใช้บังคับของแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขาย โทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๒ ให้แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับเมื่อได้ดําเนินการตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้แล้ว (1) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องได้รับอนุญาตตามภาค 2 (2) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้ชําระค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามภาค 5 (3) เมื่อพ้น 5 วันนับแต่วันที่สํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่แก้ไขเพิ่มเติมครั้งหลังสุด (ไม่รวมข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามข้อ 36(5) หรือข้อมูลอื่นที่มิใช่ข้อมูลสําคัญซึ่งสํานักงาน ก.ล.ต. ผ่อนผันให้แก้ไขเพิ่มเติมได้) (4) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้ระบุข้อมูลตามรายการครบถ้วนแล้ว ภาค ๔ การเปิดเผยข้อมูลของผู้ออกโทเคนดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด ๑ การเปิดเผยข้อมูลอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับผลการดําเนินงาน และฐานะการเงินของผู้ออกโทเคนดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๑ วันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดหน้าที่ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๓ ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลตามประกาศนี้มีหน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานตามประเภทข้อมูลที่กําหนดในหมวดนี้ เมื่อแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนที่ยื่นตามหมวด 2 มีผลใช้บังคับ เว้นแต่มีเหตุที่ทําให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลสิ้นสุดหน้าที่ตามที่กําหนดในข้อ 44 ข้อ ๔๔ ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลสิ้นสุดหน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ออกโทเคนดิจิทัลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เมื่อเกิดกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่ได้ขายโทเคนดิจิทัลภายในระยะเวลาที่สํานักงาน ก.ล.ต. อนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัล หรือผู้ออกโทเคนดิจิทัลยกเลิกการเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามเงื่อนไขที่ระบุไว้แล้วอย่างชัดเจน (2) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้ชําระหนี้ตามโทเคนดิจิทัล (ถ้ามี) จนครบถ้วนแล้ว (3) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีการชําระบัญชีเพื่อเลิกกิจการ (4) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด (5) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลเป็นสถาบันการเงินที่ถูกระงับการดําเนินกิจการตามคําสั่งของเจ้าพนักงานหรือหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ตามกฎหมาย (6) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์แสดงได้ว่าโครงการตามแผนธุรกิจที่ได้นําเสนอไว้ในการเสนอขายครั้งแรก ดําเนินการแล้วเสร็จและเปิดให้ผู้ถือโทเคนดิจิทัลสามารถใช้สิทธิในการได้มาซึ่งสินค้า บริการ หรือสิทธิอื่นใดได้แล้ว ข้อ ๔๕ ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลแจ้งเหตุที่ทําให้สิ้นสุดหน้าที่การจัดทําและส่งรายงานตามข้อ 44 ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนถึงกําหนดเวลาส่งรายงานดังกล่าว ส่วน ๒ ประเภทและรายละเอียดข้อมูล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๖ ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจัดทํารายงานที่แสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีหน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานจากการออกหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลดังกล่าวจัดทําและส่งรายงานที่แสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เช่นเดียวกับที่มีหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าว และให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมใน (2) (ค) และ ข้อ 47 ข้อ 48 ข้อ 49 ข้อ 50 และข้อ 51 ด้วย (2) ในกรณีอื่นนอกจาก (1) ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจัดทําและส่งข้อมูลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ดังนี้ (ก) งบการเงินประจํารอบปีบัญชีที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้วซึ่งเป็นไปตามข้อ 47 ข้อ 48 และข้อ 49 และเอกสารที่ต้องจัดส่งพร้อมกับงบการเงินตามข้อ 50 ทั้งนี้ ภายใน 2 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี (ข) แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ซึ่งต้องมีข้อมูลสอดคล้องกับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. โดยข้อมูลดังกล่าวต้องปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันและมีข้อมูลเพิ่มเติมตามข้อ 51 ทั้งนี้ ภายใน 3 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี (ค) รายงานการใช้เงินและความคืบหน้าของโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัลทุกรอบระยะเวลา 6 เดือนของปีบัญชีตามแนวทางที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาดังกล่าว ข้อ ๔๗ งบการเงินประจํารอบปีบัญชี และงบการเงินรายไตรมาส (ถ้ามี) ของผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที่สํานักงาน ก.ล.ต. ให้ความเห็นชอบให้สามารถตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงินของผู้ออกโทเคนดิจิทัล ในกรณีที่เป็นงบการเงินประจํารอบปีบัญชี และงบการเงินรายไตรมาส (ถ้ามี) ของผู้ออกโทเคนดิจิทัลที่มีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อผู้ลงทุนตามข้อ 17(3) (ค) รายงานของผู้สอบบัญชีตามวรรคหนึ่งต้องไม่มีความหมายในลักษณะดังต่อไปนี้ (1) การจัดทําและเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินไม่เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ต้องใช้ในการจัดทํางบการเงินนั้น (2) ผู้สอบบัญชีถูกจํากัดขอบเขตการตรวจสอบหรือสอบทาน แล้วแต่กรณี โดยการกระทําหรือไม่กระทําของผู้ออกโทเคนดิจิทัล หรือของกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ออกโทเคนดิจิทัล ข้อ ๔๘ การจัดทําและเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินของผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ (1) เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยสําหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (2) ในกรณีที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินตาม (1) ไม่ครอบคลุมถึงการจัดทําหรือการเปิดเผยข้อมูลในเรื่องใด ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลระบุในหมายเหตุประกอบงบการเงินเกี่ยวกับรายการนโยบายบัญชีที่ใช้ปฏิบัติสําหรับการบันทึกบัญชีรายการนั้น และคําอธิบายว่านโยบายบัญชีดังกล่าวเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินใด ข้อ ๔๙ หมายเหตุประกอบงบการเงินของผู้ออกโทเคนดิจิทัลตามข้อ 46 ต้องแสดงงบการเงินของโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัลด้วย ในกรณีที่มีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลหลายชนิด ให้แสดงงบการเงินตามวรรคหนึ่งโดยแยกตามชนิดของโทเคนดิจิทัล ข้อ ๕๐ ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลส่งเอกสารดังต่อไปนี้ ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. พร้อมกับการจัดส่งงบการเงิน (1) หนังสือรับรองงบการเงิน โดยให้อนุโลมใช้ตามแบบ 56-3 ท้ายประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (2) บทสรุปประเภทรายงานของผู้สอบบัญชี โดยให้อนุโลมใช้ตามแบบ 61-4 ที่กําหนดตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีในตลาดทุน ข้อ ๕๑ แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปีของผู้ออกโทเคนดิจิทัลตามข้อ 46 ต้องมีข้อมูลสรุปการใช้เงินและความคืบหน้าของโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัลด้วย ทั้งนี้ ให้นําความในวรรคสองของข้อ 49 มาใช้บังคับ โดยอนุโลม หมวด ๒ การรายงานเหตุการณ์สําคัญ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๕๒ ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลรายงานพร้อมด้วยเหตุผลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 3 วันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีการฟื้นฟูกิจการ (2) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลประสบความเสียหายอย่างร้ายแรง (3) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลหยุดประกอบกิจการทั้งหมดหรือบางส่วน (4) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์หรือลักษณะการประกอบธุรกิจ (5) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลทําสัญญาให้บุคคลอื่นมีอํานาจทั้งหมดหรือบางส่วนในการบริหารงานของบริษัท (6) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลกระทําหรือถูกกระทําอันมีลักษณะเป็นการครอบงําหรือถูกครอบงํากิจการตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (7) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลผิดข้อตกลงในการชําระหนี้ตามโทเคนดิจิทัล (8) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อตกลงใด ๆ ที่เกี่ยวกับโทเคนดิจิทัลในสาระสําคัญ (9) เหตุการณ์ที่ทําให้หรืออาจทําให้ต้องยกเลิกโทเคนดิจิทัล หรือเลิกโครงการ กิจการ หรือแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัล ข้อ ๕๓ การรายงานตามข้อ 52 ให้แสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้ (1) ข้อมูลเกี่ยวกับโทเคนดิจิทัล เช่น ชื่อผู้ออกโทเคนดิจิทัล ชื่อและประเภทของโทเคนดิจิทัล วัน เดือน ปี ที่เสนอขายโทเคนดิจิทัล จํานวนโทเคนดิจิทัลที่เสนอขายทั้งหมด และจํานวนโทเคนดิจิทัลที่ยังเหลืออยู่ (2) รายละเอียดของเหตุการณ์ตามข้อ 52 เช่น วันที่เกิดเหตุการณ์ และเหตุที่ทําให้เกิดเหตุการณ์ เป็นต้น ภาค ๕ ค่าธรรมเนียม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๕๔ ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลชําระค่าธรรมเนียมดังต่อไปนี้ ตามอัตราที่กําหนดไว้สําหรับการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ตามประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยอนุโลม (1) ค่าธรรมเนียมการยื่นคําขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัล (2) ค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน (3) ค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 (นายวรวิทย์ จําปีรัตน์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
648
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 13/2562 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 13/2562 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10(1) และมาตรา 17 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (2/1) ในวรรคหนึ่งของข้อ 17 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 “(2/1) ผู้ขออนุญาตไม่เคยจัดสรรและส่งมอบโทเคนดิจิทัลที่มีลักษณะเดียวกันให้แก่บุคคลใด เว้นแต่เป็นการจัดสรรและส่งมอบโทเคนดิจิทัลโดยชอบตามประกาศที่เกี่ยวข้อง” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 25/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 “ข้อ 25/1 ในกรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตมีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่มีลักษณะเดียวกันต่อบุคคลอื่นนอกเหนือจากการเสนอขายต่อประชาชนซึ่งได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ และเป็นการเสนอขายในราคาต่ํา ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดให้มีกลไกที่ทําให้มั่นใจได้ว่าบุคคลที่ได้รับการจัดสรรจะไม่สามารถโอนโทเคนดิจิทัลที่เสนอขายในราคาต่ําตามจํานวนที่คํานวณได้จากส่วนต่างของราคาโทเคนดิจิทัลที่เสนอขายต่อประชาชนกับราคาโทเคนดิจิทัลที่เสนอขายในราคาต่ํา เว้นแต่พ้นระยะเวลา 6 เดือนนับแต่วันสุดท้ายที่มีการส่งมอบโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาต การเสนอขายในราคาต่ําตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความถึง การเสนอขายในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (1) การเสนอขายในราคาต่ํากว่าราคาที่เสนอขายต่อประชาชนซึ่งได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ (2) การเสนอขายในราคาเดียวกับราคาที่เสนอขายต่อประชาชนโดยมีการให้โทเคนดิจิทัลโดยไม่คิดค่าตอบแทนด้วย” ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 (นายวรวิทย์ จําปีรัตน์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
649
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 10/2563 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 10/2563 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10(1) มาตรา 17 มาตรา 19 และมาตรา 25 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (8) ของวรรคหนึ่งในข้อ 17 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 13/2562 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 “(8) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังนี้ (ก) ต้องเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ พร้อมจะนําไปจัดหาประโยชน์ และมีจํานวนหรือมูลค่าการลงทุนมากกว่าร้อยละ 80 ของจํานวนหรือมูลค่าโครงการนั้น (ข) ต้องผ่านการประเมินมูลค่าอย่างเต็มรูปแบบที่มีการตรวจสอบเอกสารสิทธิและเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน เป็นเวลาไม่เกินกว่า 6 เดือนก่อนวันยื่นคําขออนุญาต โดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินอย่างน้อย 2 รายที่ผู้ขออนุญาตและผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลพิจารณาว่ามีความเหมาะสมและสามารถประเมินมูลค่าทรัพย์สินให้สะท้อนมูลค่าที่แท้จริงได้อย่างน่าเชื่อถือเพียงพอและมีลักษณะดังนี้ 1. เป็นผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. 2. ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุนอยู่ในต่างประเทศ ผู้ที่ทําหน้าที่ประเมินมูลค่าทรัพย์สินต้องมีลักษณะตามข้อ 17/1 (ค) มีร่างสัญญาก่อตั้งทรัสต์สําหรับธุรกรรมการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กร. 9/2563 เรื่อง การกําหนดประเภทธุรกรรมในตลาดทุนที่ให้ใช้ทรัสต์ได้ (ฉบับที่ 4 )ลงวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2563 (ง) แสดงได้ว่ามีกลไกควบคุมให้ผู้ขออนุญาตโอนทรัพย์สินที่จะเป็นกองทรัสต์ให้แก่ทรัสตีตามข้อ 25/2” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 17/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 “ข้อ 17/1 ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุนอยู่ในต่างประเทศ ผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินอาจเป็นบุคคลที่อยู่ในบัญชีรายชื่อของบุคคลซึ่งทางการหรือหน่วยงานกํากับดูแลของประเทศอันเป็นที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์กําหนดให้สามารถทําหน้าที่ประเมินมูลค่าอสังหาริมทรัพย์นั้น ๆ ได้ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่ปรากฏบัญชีรายชื่อดังกล่าว ผู้ที่ทําหน้าที่ประเมินมูลค่าทรัพย์สินต้องเข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ซึ่งมีผลงานเป็นที่ยอมรับ อย่างแพร่หลายในประเทศอันเป็นที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์นั้น (2) เป็นบุคคลที่มีมาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบงานในการประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นสากล (3) เป็นผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่มีเครือข่ายกว้างขวางในระดับสากล (international firm)” ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของ (3) ในข้อ 19 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 “ในกรณีที่สัญญาอัจฉริยะ (smart contract) ไม่สามารถบังคับตามที่กําหนดในร่างหนังสือชี้ชวนได้ทั้งหมด ผู้ขออนุญาตต้องมีกลไกอื่นที่นํามาใช้ทดแทนสัญญาอัจฉริยะ (smart contract)ทั้งนี้ ต้องแสดงได้ว่ากลไกอื่นดังกล่าวสามารถใช้บังคับได้จริง และไม่เป็นการเอาเปรียบผู้ลงทุน” ข้อ 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 25/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 “ข้อ 25/2 ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดทําสัญญาก่อตั้งทรัสต์ที่มีรายละเอียดตามที่ได้ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตามข้อ 17(8) (ค) และดําเนินการโอนทรัพย์สินที่จะเป็นกองทรัสต์แก่ทรัสตีภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ปิดการเสนอขายโทเคนดิจิทัล” ข้อ 5 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (3/1) และ (3/2) ของข้อ 37 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 “(3/1) รายละเอียดของกลไกอื่นที่นํามาใช้ทดแทนสัญญาอัจฉริยะ (smart contract) ตามข้อ 19(3) วรรคสอง (ถ้ามี) (3/2) รายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน (ถ้ามี)” ข้อ 6 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2563 (นายวรวิทย์ จําปีรัตน์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
650
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 28/2563 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 28/2563 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 4) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10(1) และมาตรา 25 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 50 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 50 ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลส่งหนังสือรับรองงบการเงินต่อสํานักงาน ก.ล.ต. พร้อมกับการจัดส่งงบการเงิน ทั้งนี้ ให้อนุโลมใช้ตามแบบ 56-3 ท้ายประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
651
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 6/2564 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 5)
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 6/2564 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 5) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10(1) มาตรา 17 มาตรา 19 วรรคสอง และมาตรา 25 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มบทนิยามคําว่า “กองทรัสต์” และ “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” ระหว่างบทนิยามคําว่า “อํานาจควบคุมกิจการ” และคําว่า “บริษัทจดทะเบียน” ในข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ““กองทรัสต์” หมายความว่า ทรัสต์สําหรับธุรกรรมการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กร. 4/2564 เรื่อง การกําหนดประเภทธุรกรรมในตลาดทุนที่ให้ใช้ทรัสต์ได้ (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” หมายความว่า บุคคลที่มีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือหลายลักษณะดังต่อไปนี้ (1) คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (2) นิติบุคคล และผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนของนิติบุคคลนั้นซึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในนิติบุคคลดังกล่าวไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 50 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดหรือความเป็นหุ้นส่วนทั้งหมด (3) กองทุนส่วนบุคคลของบุคคลตาม (1) หรือ (2) แต่ทั้งนี้ มิให้รวมถึงกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ” ข้อ 2 ให้ยกเลิก (8) ของข้อ 17 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 10/2563 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2563 ข้อ 3 ให้ยกเลิกข้อ 17/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 10/2563 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2563 2 ข้อ 4 ให้ยกเลิกข้อ 25/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 10/2563 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2563 ข้อ 5 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด 5 หลักเกณฑ์เพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ ข้อ 32/1 ถึงข้อ 32/11 ในภาค 2 หลักเกณฑ์การอนุญาตและวิธีการยื่นคําขออนุญาต แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 “หมวด 5 หลักเกณฑ์เพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/1 ในกรณีที่เป็นการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในหมวดนี้เพิ่มเติม ส่วนที่ 1 หลักเกณฑ์การอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/2 การเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์จะได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) ต้องเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ พร้อมจะนําไปจัดหาประโยชน์ และไม่อยู่ในบังคับแห่งทรัพยสิทธิหรือมีข้อพิพาทใด ๆ เว้นแต่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้พิจารณาโดยมีความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษรว่าการอยู่ภายใต้บังคับแห่งทรัพยสิทธิหรือการมีข้อพิพาทนั้นไม่กระทบต่อการหาประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวอย่างมีนัยสําคัญ และเงื่อนไขการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้นยังเป็นประโยชน์แก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัลโดยรวม (2) มีจํานวนหรือมูลค่าการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจํานวนหรือมูลค่าโครงการนั้น หรืออสังหาริมทรัพย์ที่ลงทุนต้องมีมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท 3 (3) แสดงได้ว่าได้ตรวจสอบและสอบทาน (การทํา due diligence) อสังหาริมทรัพย์ตามหลักเกณฑ์ในข้อ 32/3 และเปิดเผยข้อมูลและความเสี่ยงไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนอย่างครบถ้วนและเพียงพอ (4) ต้องผ่านการประเมินมูลค่าอย่างเต็มรูปแบบที่มีการตรวจสอบเอกสารสิทธิและเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน เป็นเวลาไม่เกินกว่า 6 เดือนก่อนวันยื่นคําขออนุญาต โดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินอย่างน้อย 2 รายที่ผู้ขออนุญาตและผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลพิจารณาว่ามีความเหมาะสมและสามารถประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ให้สะท้อนมูลค่าที่แท้จริงได้อย่างน่าเชื่อถือเพียงพอและมีลักษณะดังนี้ (ก) เป็นผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. (ข) ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุนอยู่ในต่างประเทศ ผู้ที่ทําหน้าที่ประเมินมูลค่าทรัพย์สินต้องมีลักษณะตามข้อ 32/4 (5) แสดงได้ว่าการทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ต้องไม่มีข้อตกลงหรือข้อผูกพันใด ๆ ที่อาจมีผลให้ไม่สามารถจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์ในราคายุติธรรม (ในขณะที่มีการจําหน่าย) (6) แสดงได้ว่าจะไม่มีการนําอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวไปใช้ประกอบธุรกิจที่ขัดต่อศีลธรรมหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย (7) มีร่างสัญญาก่อตั้งทรัสต์สําหรับธุรกรรมการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กร. 4/2564 เรื่อง การกําหนดประเภทธุรกรรมในตลาดทุนที่ให้ใช้ทรัสต์ได้ (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 (8) แสดงได้ว่ามีกลไกควบคุมให้ผู้ขออนุญาตโอนทรัพย์สินที่จะเป็นกองทรัสต์ให้แก่ทรัสตีตามข้อ 32/6 (9) ในกรณีที่มีการแบ่งโทเคนดิจิทัลออกเป็นหลายชนิด ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) โทเคนดิจิทัลชนิดเดียวกันต้องมีสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนที่เท่าเทียมกัน (ข) โทเคนดิจิทัลแต่ละชนิดจะมีสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนที่แตกต่างกันได้เฉพาะในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. การกําหนดประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนให้แก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัล 2. ค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ถือโทเคนดิจิทัล 3. กรณีอื่นใดที่ผู้ขออนุญาตแสดงได้ว่าเป็นการแบ่งชนิดโทเคนดิจิทัลที่สามารถปฏิบัติได้จริง และได้คํานึงถึงประโยชน์ของผู้ถือโทเคนดิจิทัลโดยรวม ตลอดจนผลกระทบที่ผู้ถือโทเคนดิจิทัลแต่ละชนิดจะได้รับแล้ว 4 (10) ผู้ขออนุญาตมีคุณสมบัติดังนี้ (ก) ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุอันควรสงสัยว่าผู้ขออนุญาตมีฐานะทางการเงินที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย ประสบปัญหาทางการเงิน มีข้อบกพร่องหรือความไม่เหมาะสมเกี่ยวกับการควบคุมและการปฏิบัติงานอันดีของธุรกิจ (ข) แสดงได้ว่ามีหรือจะมีระบบงานที่มีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ค) แสดงได้ว่ามีหรือจะมีความพร้อมด้านบุคลากรที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน โดยอย่างน้อยต้องมีผู้รับผิดชอบในสายงานเกี่ยวกับการดูแลจัดการทรัพย์สิน ซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ด้านบริหารจัดการลงทุนหรือการจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ (ง) แสดงได้ว่ามีการป้องกันและจัดการความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ (จ) แสดงได้ว่ามีความพร้อมในการบริหารจัดการทรัพย์สินตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่ากลไกการบริหารจัดการทรัพย์สินจะไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือโทเคนดิจิทัลหรือไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือโทเคนดิจิทัลอย่างเป็นธรรม 2. ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่าขาดระบบงานที่เพียงพอที่จะทําให้สามารถบริหารจัดการทรัพย์สินให้เป็นไปตามแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัล 3. มีการบริหารจัดการด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต โดยต้องปฏิบัติต่อผู้ถือโทเคนดิจิทัลอย่างเป็นธรรม เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือโทเคนดิจิทัลโดยรวม รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทรัสต์ และมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล 4. มีการจัดการความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นในการบริหารจัดการทรัพย์สิน (11) ในกรณีที่จะมีการประกันผลตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่นต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 32/5 ข้อ 32/3 ในการตรวจสอบและสอบทานอสังหาริมทรัพย์ (การทํา due diligence) อย่างน้อยต้องมีการตรวจสอบและสอบทานในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) สภาพของอสังหาริมทรัพย์ เช่น สภาพที่ตั้ง ทางเข้าออก โอกาสในการจัดหารายได้ และภาระผูกพันต่าง ๆ ของอสังหาริมทรัพย์นั้น เป็นต้น 5 (2) ความสามารถของคู่สัญญาในการเข้าทํานิติกรรม ตลอดจนความครบถ้วน ถูกต้อง และบังคับได้ตามกฎหมายของเอกสารสิทธิหรือเอกสารสัญญาที่เกี่ยวข้อง (3) ความเหมาะสมอื่น ๆ ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์นั้น (4) ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์อยู่ในต่างประเทศ ต้องตรวจสอบและสอบทานความชอบด้วยกฎหมายของการได้มาและถือครองอสังหาริมทรัพย์ตามกฎหมายของประเทศดังกล่าว โดยต้องจัดให้มีความเห็นของที่ปรึกษาทางกฎหมายที่เชี่ยวชาญในกฎหมายของประเทศนั้นประกอบการตรวจสอบและสอบทานด้วย ข้อ 32/4 ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุนอยู่ในต่างประเทศ ผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินอาจเป็นบุคคลที่อยู่ในบัญชีรายชื่อของบุคคลซึ่งทางการหรือหน่วยงานกํากับดูแลของประเทศอันเป็นที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์กําหนดให้สามารถทําหน้าที่ประเมินมูลค่าอสังหาริมทรัพย์นั้น ๆ ได้ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่ปรากฏบัญชีรายชื่อดังกล่าว ผู้ที่ทําหน้าที่ประเมินมูลค่าทรัพย์สินต้องเข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ซึ่งมีผลงานเป็นที่ยอมรับ อย่างแพร่หลายในประเทศอันเป็นที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์นั้น (2) เป็นบุคคลที่มีมาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบงานในการประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นสากล (3) เป็นผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่มีเครือข่ายกว้างขวางในระดับสากล (international firm) ข้อ 32/5 ในกรณีที่จะได้รับหรือมีการแสดงต่อผู้ลงทุนว่าจะได้รับการประกันผลตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่นที่จะได้รับจากอสังหาริมทรัพย์ที่โทเคนดิจิทัลอ้างอิงหรือมีกระแสรายรับ การประกันดังกล่าวต้องมีหลักเกณฑ์อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ระบุวงเงินที่กําหนดไว้ในสัญญาประกัน (2) ผู้รับประกันอย่างน้อยหนึ่งรายต้องเป็นนิติบุคคล (3) มีข้อกําหนดที่แสดงว่า ผู้รับประกันยอมผูกพันตนทั้งในฐานะผู้รับประกันและในฐานะเป็นลูกหนี้ร่วมกับผู้ให้ผลตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่นดังกล่าว เช่น ผู้เช่า เป็นต้น (4) มีรายละเอียดของข้อตกลงระหว่างผู้รับประกัน ผู้ขออนุญาต และผู้ให้ผลตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่น รวมทั้งต้องไม่มีข้อตกลงหรือเงื่อนไขในลักษณะดังนี้ (ก) ข้อตกลงที่เป็นการยกเว้นความรับผิดของผู้รับประกัน เว้นแต่ในกรณีที่เกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือมิใช่ความผิดของผู้รับประกัน (ข) เงื่อนไขที่เกินความจําเป็นในลักษณะที่จะทําให้การเรียกร้องตามสัญญาประกันเป็นไปได้ยากหรือเป็นการสร้างภาระเกินสมควร 6 ส่วนที่ 2 เงื่อนไขการอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/6 ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดทําสัญญาก่อตั้งทรัสต์ที่มีรายละเอียดตามที่ได้ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตามข้อ 32/2(7) อย่างช้าภายในวันที่มีการโอนทรัพย์สินที่จะเป็นกองทรัสต์ให้แก่ทรัสตีตามวรรคสอง ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการโอนทรัพย์สินที่จะเป็นกองทรัสต์แก่ทรัสตีภายใน 15 วันนับแต่วันที่ปิดการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ข้อ 32/7 ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงทรัสตีของกองทรัสต์ตามที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือกฎหมายกําหนด ให้ผู้ได้รับอนุญาตแจ้งการเปลี่ยนแปลงให้ผู้ถือโทเคนดิจิทัลทราบภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ และให้แจ้งสํานักงาน ก.ล.ต. ภายในระยะเวลาเดียวกันนั้นด้วย ข้อ 32/8 ในการขอมติผู้ถือโทเคนดิจิทัล ผู้ได้รับอนุญาตต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) วิธีการขอมติ อาจดําเนินการโดยการจัดประชุมผู้ถือโทเคนดิจิทัลหรือการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล (2) เหตุในการขอมติ ต้องระบุกรณีที่ต้องขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนตามข้อ 36 และข้อ 37 ไว้ให้ชัดเจน (3) การดําเนินการเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือโทเคนดิจิทัล และการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัลดังนี้ ให้ปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ โดยอนุโลม (ก) การจัดทําหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือขอมติ (ข) การจัดส่งหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือขอมติ (ค) การประกาศวันนัดประชุมหรือวันสุดท้ายของการรับหนังสือแจ้งมติ (ง) องค์ประชุม (จ) การดําเนินการประชุม (ฉ) วิธีการนับคะแนนเสียง (ช) การดําเนินการอื่นใดที่เกี่ยวข้อง 7 (4) การขอมติผู้ถือโทเคนดิจิทัล การประชุมผู้ถือโทเคนดิจิทัล หรือการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล อาจดําเนินการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ โดยต้องคํานึงถึงความเหมาะสมของผู้ถือโทเคนดิจิทัล และจัดให้มีระบบงานรองรับการดําเนินการดังกล่าวที่มีความมั่นคงและปลอดภัย ทั้งนี้ ให้ปฏิบัติตามมาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมหรือการดําเนินการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยอนุโลม (5) มติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล ให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือโทเคนดิจิทัลที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน หรือผู้ถือโทเคนดิจิทัลที่ส่งกลับหนังสือแจ้งมติและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน เว้นแต่กรณีที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อผู้ถือโทเคนดิจิทัล อาจกําหนดให้ต้องได้คะแนนเสียงที่มากกว่านั้นได้ ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การส่งเสริมการขาย \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/9 ผู้ได้รับอนุญาตอาจจัดให้มีการส่งเสริมการขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ได้ โดยต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ไม่เป็นการจูงใจหรือเร่งรัดผู้ลงทุนโดยใช้การส่งเสริมการขาย เพื่อให้ผู้ลงทุนตัดสินใจลงทุนในโทเคนดิจิทัล โดยไม่คํานึงถึงข้อมูลที่เป็นพื้นฐานซึ่งจําเป็นต่อการตัดสินใจลงทุน (2) ไม่เป็นการชิงโชคหรือจับฉลากเพื่อสุ่มหาผู้ได้รับของสมนาคุณ สิทธิ หรือประโยชน์อื่นใด (3) มีการกําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ผู้ลงทุนจะได้รับของสมนาคุณ สิทธิ หรือ ประโยชน์อื่นใด ที่มีความชัดเจน ง่ายต่อการทําความเข้าใจ ไม่ทําให้สําคัญผิด เหมาะสมและเป็นธรรม (4) มีการแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบล่วงหน้าเป็นการทั่วไปในระยะเวลาที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส่งเสริมการขาย (5) ไม่คิดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งเสริมการขายจากผู้ซื้อโทเคนดิจิทัล การส่งเสริมการขายตามวรรคหนึ่ง หมายความว่า การให้ของสมนาคุณ สิทธิ หรือประโยชน์อื่นใดแก่ผู้ลงทุน เพื่อจูงใจให้ผู้ลงทุนตัดสินใจลงทุนในโทเคนดิจิทัล ส่วนที่ 4 การจัดสรรโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือ 8 มีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/10 ในการจัดสรรโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรโทเคนดิจิทัลที่เป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์หรือทรัสตีของกองทรัสต์ ให้จัดสรรโทเคนดิจิทัลให้แก่บุคคลดังกล่าวได้ไม่เกินอัตราดังต่อไปนี้ (ก) ร้อยละ 50 ของจํานวนโทเคนดิจิทัลที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด (ข) ร้อยละ 50 ของจํานวนโทเคนดิจิทัลที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของโทเคนดิจิทัลแต่ละชนิด ในกรณีที่มีการแบ่งชนิดของโทเคนดิจิทัล การคํานวณอัตราการถือโทเคนดิจิทัลตามวรรคหนึ่ง ให้นับรวมโทเคนดิจิทัลที่ถือโดยกลุ่มบุคคลเดียวกันกับผู้ก่อตั้งทรัสต์หรือทรัสตีด้วย (2) ในกรณีที่มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย หากกฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์นั้นกําหนดสัดส่วนการลงทุนของผู้ลงทุนต่างด้าวไว้ ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดสรรโทเคนดิจิทัลแก่ผู้ลงทุนต่างด้าวให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดนั้นด้วย ในกรณีที่มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ตามวรรคหนึ่งหลายโครงการและบรรดากฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์นั้นมีการกําหนดสัดส่วนการลงทุนของผู้ลงทุนต่างด้าวไว้แตกต่างกัน ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดสรรโทเคนดิจิทัลตามสัดส่วนที่กําหนดไว้ต่ําสุดของบรรดากฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดนั้น ผู้ได้รับอนุญาตต้องแบ่งแยกโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ที่จะจัดสรรให้แก่ผู้ก่อตั้งทรัสต์ ทรัสตี หรือกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ได้รับอนุญาตออกจากโทเคนดิจิทัลที่จะจัดสรรให้แก่ประชาชนทั่วไปไว้อย่างชัดเจน และเปิดเผยประเภทบุคคลดังกล่าวรวมถึงจํานวนที่จะจัดสรรไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน ข้อ 32/11 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงแก่ผู้ได้รับอนุญาตว่าบุคคลใดตามข้อ 32/10 ถือโทเคนดิจิทัลไม่เป็นไปตามอัตราหรือหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) แจ้งให้บุคคลดังกล่าวทราบโดยไม่ชักช้าถึงข้อจํากัดสิทธิเกี่ยวกับการออกเสียงลงคะแนนและการรับผลประโยชน์ตอบแทนตามที่กําหนดไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน (2) รายงานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ผู้ได้รับอนุญาตรู้หรือควรรู้ถึงเหตุดังกล่าว” 9 ข้อ 6 ให้ยกเลิกความใน (4) ของข้อ 36 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(4) ส่วนข้อมูลเกี่ยวกับโทเคนดิจิทัล ซึ่งแสดงสาระสําคัญของโทเคนดิจิทัล สัญญาอัจฉริยะ (smart contract) ลักษณะพิเศษและความเสี่ยงที่สําคัญ การออกเสียงลงคะแนนและการจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัล รวมทั้งข้อจํากัดเกี่ยวกับการออกเสียงลงคะแนนและการรับผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าว (ถ้ามี)” ข้อ 7 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (3/3) ของข้อ 37 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 10/2563 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2563 “(3/3) รายละเอียดของการประกันผลตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่น (ถ้ามี)” ข้อ 8 ให้ยกเลิกความในข้อ 46 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 46 ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจัดทํารายงานที่แสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีหน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานจากการออกหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลดังกล่าวจัดทําและส่งรายงานที่แสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เช่นเดียวกับที่มีหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าว และให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมใน (2) (ค) และ ข้อ 47 ข้อ 48 ข้อ 49 ข้อ 50 และข้อ 51 ด้วย (2) ในกรณีอื่นนอกจาก (1) ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจัดทําและส่งข้อมูลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ดังนี้ (ก) งบการเงินประจํารอบปีบัญชีที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้วซึ่งเป็นไปตามข้อ 47 ข้อ 48 และข้อ 49 และเอกสารที่ต้องจัดส่งพร้อมกับงบการเงินตามข้อ 50 ทั้งนี้ ภายใน 2 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี (ข) แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ซึ่งต้องมีข้อมูลสอดคล้องกับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. โดยข้อมูลดังกล่าวต้องปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันและมีข้อมูลเพิ่มเติมตามข้อ 51 ทั้งนี้ ภายใน 3 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี 10 (ค) รายงานการใช้เงินและความคืบหน้าของโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัลทุกรอบระยะเวลา 6 เดือนของปีบัญชีตามแนวทางที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาดังกล่าว (ง) รายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินและรายงานสอบทานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่มีการจัดทําล่าสุด เฉพาะกรณีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ ภายใน 30 วันนับแต่วันที่การประเมินหรือการสอบทานแล้วเสร็จ (จ) รายงานการวิเคราะห์และคําอธิบายระหว่างกาลของฝ่ายจัดการ (Interim Management Discussion and Analysis) เฉพาะกรณีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ เมื่อปรากฏว่ารายได้หรือกําไรสุทธิตามงบการเงินงวดใดมีความแตกต่างจากงบการเงินในงวดเดียวกันของปีก่อนเกินกว่าร้อยละ 20 โดยอย่างน้อยให้แสดงถึงสาเหตุและปัจจัยสําคัญที่ทําให้เกิดความแตกต่าง รวมทั้งผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยดังกล่าว และส่งต่อสํานักงาน ก.ล.ต. พร้อมกับการจัดส่งงบการเงิน ข้อมูลตามวรรคหนึ่ง นอกจากการจัดทําและส่งข้อมูลดังกล่าวต่อสํานักงาน ก.ล.ต. แล้ว ให้เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวให้ผู้ถือโทเคนดิจิทัลทราบผ่านช่องทางที่เหมาะสม” ข้อ 9 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
652
ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 11/2565 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 6 )
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 11/2565 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับที่ 6 ) ----------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10(1) มาตรา 17 และมาตรา 18 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกบทนิยามคําว่า "นิติบุคคลร่วมลงทุน" (venture capital) และ “กิจการเงินร่วมลงทุน” (private equity) ในข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ข้อ 2 ให้ยกเลิกความใน (3) ของวรรคหนึ่งในข้อ 17 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(3) เป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนที่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) ผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบันผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ (ข) ผู้ลงทุนที่มิใช่ผู้ลงทุนตาม (ก) ซึ่งเสนอขายเป็นมูลค่าไม่เกินรายละ 3 แสนบาทต่อการเสนอขายในครั้งนั้น ทั้งนี้ ผู้ขออนุญาตต้องกําหนดมูลค่าสูงสุดของการเสนอขายในแต่ละครั้งต่อผู้ลงทุนประเภทหนี้รวมกันไม่เกินมูลค่าดังนี้ แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า 1. ไม่เกิน 4 เท่าของส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ออกโทเคนดิจิทัล 2. ไม่เกินร้อยละ 70 ของมูลค่าทั้งหมดที่เสนอขายต่อครั้ง” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 47 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ในกรณีที่เป็นงบการเงินประจํารอบปีบัญชี และงบการเงินรายไตรมาส (ถ้ามี) ของผู้ออกโทเคนดิจิทัลที่มีการเสนขายโทเคนดิจิทัลต่อผู้ลงทุนตามข้อ 17(3) (ข) รายงานของ ผู้สอบบัญชีตามวรรคหนึ่งต้องไม่มีความหมายในลักษณะดังต่อไปนี้ (1) การจัดทําและเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินไม่เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ต้องใช้ในการจัดทํางบการเงินนั้น (2) ผู้สอบบัญชีถูกจํากัดขอบเขตการตรวจสอบหรือสอบทาน แล้วแต่กรณีโดยการกระทําหรือไม่กระทําของผู้ออกโทเคนดิจิทัล หรือของกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ออกโทเคนดิจิทัล” ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2565 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
653
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับประมวล)
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กจ. 15/2561 เรื่อง การเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน (ฉบับประมวล) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9 มาตรา 10(1) และ (2) มาตรา 17 มาตรา 18 มาตรา 19 มาตรา 21 และมาตรา 25 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ.2561 คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ข้อ 2 ในประกาศนี้ “โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน” (investment token) หมายความว่า หน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งถูกสร้างขึ้นบนระบบหรือเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกําหนดสิทธิของบุคคลในการเข้าร่วมลงทุนในโครงการหรือกิจการใด ๆ “โทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์” (utility token) หมายความว่า หน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งถูกสร้างขึ้นบนระบบหรือเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกําหนดสิทธิในการได้มาซึ่งสินค้าหรือบริการหรือสิทธิอื่นใดที่เฉพาะเจาะจง ทั้งนี้ ตามที่กําหนดในข้อตกลงระหว่างผู้ออกและผู้ถือ (ยกเลิก (ยกเลิก “ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล” (ICO portal) หมายความว่า ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. “สัญญาอัจฉริยะ” (smart contract) หมายความว่า ชุดคําสั่งคอมพิวเตอร์ที่ดําเนินการบังคับตามข้อตกลงระหว่างคู่สัญญาโดยอัตโนมัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ตามที่กําหนด “ผู้บริหาร” หมายความว่า ผู้จัดการ หรือผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหาร 4 รายแรกนับต่อจากผู้จัดการลงมา ผู้ซึ่งดํารงตําแหน่งเทียบเท่ากับผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหารรายที่ 4 ทุกรายและให้หมายความรวมถึงผู้ดํารงตําแหน่งระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็นระดับผู้จัดการฝ่ายขึ้นไปหรือเทียบเท่า “อํานาจควบคุมกิจการ” หมายความว่า (1) การถือหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงในนิติบุคคลหนึ่งเกินกว่าร้อยละ 50 ของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของนิติบุคคลนั้น (2) การมีอํานาจควบคุมคะแนนเสียงส่วนใหญ่ในที่ประชุมผู้ถือหุ้นของนิติบุคคลหนึ่ง ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือไม่ว่าเพราะเหตุอื่นใด (3) การมีอํานาจควบคุมการแต่งตั้งหรือถอดถอนกรรมการตั้งแต่กึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม “กองทรัสต์”( หมายความว่า ทรัสต์สําหรับธุรกรรมการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์หรือทรัสต์สําหรับธุรกรรมการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดประเภทธุรกรรมในตลาดทุนที่ให้ใช้ทรัสต์ได้ “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” ( หมายความว่า บุคคลที่มีความสัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือหลายลักษณะดังต่อไปนี้ (1) คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (2) นิติบุคคล และผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนของนิติบุคคลนั้นซึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในนิติบุคคลดังกล่าวไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมเกินกว่าร้อยละ 50 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดหรือความเป็นหุ้นส่วนทั้งหมด (3) กองทุนส่วนบุคคลของบุคคลตาม (1) หรือ (2) แต่ทั้งนี้ มิให้รวมถึงกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ “กิจการโครงสร้างพื้นฐาน”( หมายความว่า กิจการดังต่อไปนี้ (1) ระบบขนส่งทางรางหรือทางท่อ (2) ไฟฟ้า (3) ประปา (4) ถนน ทางพิเศษ หรือทางสัมปทาน (5) ท่าอากาศยานหรือสนามบิน (6) ท่าเรือน้ําลึก (7) โทรคมนาคม หรือโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (8) พลังงานทางเลือก (9) ระบบบริหารจัดการน้ําหรือการชลประทาน (10) ระบบป้องกันภัยธรรมชาติ ซึ่งรวมถึงระบบเตือนภัยและระบบจัดการเพื่อลดความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นด้วย (11) ระบบจัดการของเสีย (12) ระบบคมนาคมขนส่งทางบกหรือขนส่งทางน้ํา (13) กิจการที่มีลักษณะเป็นกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1) ถึง (12) หลายกิจการ (multi - infrastructure) ประกอบกัน โดยกิจการที่ประกอบกันเหล่านั้นเข้าลักษณะที่ครบถ้วนดังนี้ (ก) มีความเชื่อมโยง ส่งเสริม หรือก่อให้เกิดประโยชน์ซึ่งกันและกันหรือต่อชุมชนเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน (ข) ก่อให้เกิดหรือจะก่อให้เกิดรายได้เป็นมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 80ของรายได้รวมของกิจการทั้งหมดที่ประกอบกันนั้น “โครงการที่แล้วเสร็จ”( หมายความว่า กิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ก่อสร้างแล้วเสร็จและเริ่มมีรายได้ในเชิงพาณิชย์แล้ว “โครงการที่ยังไม่แล้วเสร็จ”( หมายความว่า กิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ไม่เข้าลักษณะของโครงการที่แล้วเสร็จ “บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน”( หมายความว่า บุคคลที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน “บริษัทจดทะเบียน” หมายความว่า บริษัทที่มีหุ้นจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ภาค 1บททั่วไป\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด 1ขอบเขตการใช้บังคับประกาศ\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับผู้ออกและเสนอขายโทเคนดิจิทัลดังต่อไปนี้ (1) โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน (2) โทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์ ซึ่งผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่พร้อมที่จะให้ผู้ถือใช้ประโยชน์ตามสิทธิของโทเคนดิจิทัลนั้น ๆ ได้ทันทีตั้งแต่วันที่เสนอขายโทเคนดิจิทัลครั้งแรก ข้อ 4 ประกาศนี้กําหนดหลักเกณฑ์ในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การอนุญาตและวิธีการยื่นคําขออนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัล ให้เป็นไปตามภาค 2 (2) การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน ให้เป็นไปตามภาค 3 (3) การเปิดเผยข้อมูลของผู้ออกโทเคนดิจิทัล ให้เป็นไปตามภาค 4 (4) ค่าธรรมเนียมการยื่นคําขออนุญาต การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล และการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ให้เป็นไปตามภาค 5 หมวด 2อํานาจของสํานักงาน ก.ล.ต.\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 5 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ที่เป็นเหตุอันควรสงสัยอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจไม่อนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัลตามประกาศนี้ได้ (1) ผู้ขออนุญาตหรือการเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการเสนอขายโทเคนดิจิทัลนั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ประกาศนี้ หรือประกาศอื่น (2) การเสนอขายโทเคนดิจิทัลอาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐ (3) การเสนอขายโทเคนดิจิทัลอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม (4) การเสนอขายโทเคนดิจิทัลอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุนโดยรวมหรืออาจทําให้ผู้ลงทุนโดยรวมไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน ข้อ 6 ในกรณีที่เข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจผ่อนผันไม่นําหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้มาใช้พิจารณาคําขออนุญาต หรือไม่นําเงื่อนไขตามประกาศนี้มาใช้บังคับกับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตได้ (1) มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจนซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผันให้ ไม่มีนัยสําคัญสําหรับการพิจารณาอนุญาตในกรณีนั้น และประโยชน์ที่จะได้ไม่คุ้มค่ากับต้นทุนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขดังกล่าว (2) ผู้ขออนุญาตมีข้อจํากัดตามกฎหมายอื่นที่ทําให้ไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน (3) ผู้ขออนุญาตมีมาตรการอื่นที่เพียงพอ และสามารถทดแทนการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน การผ่อนผันตามวรรคหนึ่งให้คํานึงถึงความเหมาะสมและความเพียงพอของข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนและมาตรการคุ้มครองผู้ลงทุนเป็นสําคัญ ทั้งนี้ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ขออนุญาตต้องปฏิบัติด้วยก็ได้ ข้อ 7 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงเพิ่มเติมต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัล ซึ่งหากข้อเท็จจริงดังกล่าวปรากฏต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนการอนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัลนั้น อาจทําให้การพิจารณาของสํานักงาน ก.ล.ต. เปลี่ยนแปลงไป หรือในกรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในประกาศนี้หรือตามข้อผูกพันที่ให้ไว้ในคําขออนุญาต สํานักงาน ก.ล.ต. อาจดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) สั่งให้ผู้ได้รับอนุญาต กรรมการ หรือผู้บริหารชี้แจง หรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติม ภายในระยะเวลาที่กําหนด และให้ผู้ได้รับอนุญาตระงับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตไว้ก่อนจนกว่าจะได้ชี้แจงหรือแก้ไขให้ถูกต้อง (2) สั่งให้ผู้ได้รับอนุญาตหยุดการเสนอขายโทเคนดิจิทัลในส่วนที่ยังมิได้เสนอขายหรือยังไม่มีผู้จองซื้อ และให้การอนุญาตเป็นอันสิ้นสุดลงโดยไม่มีผลกระทบต่อการเสนอขายโทเคนดิจิทัลในส่วนที่ได้เสนอขายหรือมีผู้จองซื้อแล้ว ข้อ 8 ในกรณีที่สํานักงาน ก.ล.ต. เห็นว่าเอกสารหรือรายงานที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจัดส่งให้มีข้อมูลไม่ครบถ้วนหรือมีข้อความคลุมเครือหรือไม่ชัดเจน หรือมีเหตุจําเป็นและสมควรเพื่อให้ผู้ลงทุนมีข้อมูลที่มีนัยสําคัญซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ ต่อการตัดสินใจลงทุนหรือต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาโทเคนดิจิทัลอย่างเพียงพอ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลดําเนินการดังต่อไปนี้ภายในระยะเวลาที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด (1) เปิดเผยข้อมูล รายงาน หรือส่งเอกสารหลักฐานเพิ่มเติม (2) ชี้แจง หรือแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูล (3) จัดให้มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่เป็นอิสระจัดทําความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้องครบถ้วน หรือความน่าเชื่อถือของข้อมูลให้สํานักงาน ก.ล.ต. ทราบ ในกรณีที่เอกสารหรือรายงานตามวรรคหนึ่งคือแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน หากผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่ดําเนินการตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่ประสงค์จะยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน ก.ล.ต. อีกต่อไป ในการกําหนดให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลดําเนินการตามวรรคหนึ่ง สํานักงาน ก.ล.ต.อาจกําหนดให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลเปิดเผยการสั่งการ การดําเนินการ ข้อสังเกตของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือคําชี้แจงของผู้ออกโทเคนดิจิทัล ผ่านทางเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ตามแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดด้วยก็ได้ ข้อ 9 สํานักงาน ก.ล.ต. อาจผ่อนผันการเปิดเผยรายละเอียดของข้อมูลในเอกสารดังต่อไปนี้ได้ หากผู้ออกโทเคนดิจิทัลสามารถแสดงได้ว่าข้อมูลดังกล่าวมิใช่ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ และมีเหตุอันควรที่จะไม่แสดงรายละเอียดของข้อมูลดังกล่าวไว้ในเอกสารนั้นหรือได้ดําเนินการประการอื่นเพื่อทดแทนอย่างเพียงพอแล้ว (1) แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามที่กําหนดในภาค 3 (2) รายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ออกโทเคนดิจิทัลตามที่กําหนดในหมวด 1 ของภาค 4 ข้อ 10 ในกรณีมีเหตุจําเป็นและสมควรทําให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่สามารถจัดทําและส่งรายงานที่กําหนดในภาค 4 ผู้ออกโทเคนดิจิทัลอาจมีหนังสือขอผ่อนผันการส่งรายงานดังกล่าวต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนวันครบระยะเวลาที่กําหนดไว้ พร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลในการขอผ่อนผันและแจ้งกําหนดระยะเวลาที่จะจัดส่งรายงานนั้น ในกรณีที่สํานักงาน ก.ล.ต. ไม่ผ่อนผันให้ตามที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลร้องขอตามวรรคหนึ่ง ผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องรับผิดเนื่องจากการไม่ปฏิบัติตามมาตรา 25 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 นับแต่วันครบระยะเวลาที่กําหนดในการส่งรายงานดังกล่าวตามที่กําหนดในภาค 4 ข้อ 11 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามประกาศนี้ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) กําหนดหลักเกณฑ์ในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้ ให้มีความชัดเจนเพียงพอที่ผู้ขออนุญาตหรือผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้จะสามารถปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ในแนวเดียวกัน ทั้งนี้ การกําหนดหลักเกณฑ์ดังกล่าวอาจกําหนดตามลักษณะของโทเคนดิจิทัล ผู้ออกโทเคนดิจิทัลผู้ลงทุน หรือการเสนอขายก็ได้ (2) กําหนดแนวทาง (guideline) การปฏิบัติในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้เพื่อเป็นการให้แนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเหมาะสมและสอดคล้องตามประกาศนี้ และหากผู้ขออนุญาตหรือ ผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้ปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าบุคคลดังกล่าวมีการปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้ในเรื่องที่มีการออกแนวทางนั้น ในการดําเนินการของสํานักงาน ก.ล.ต. ตามวรรคหนึ่ง ให้นําปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้ มาประกอบการพิจารณาดําเนินการด้วย (1) การส่งเสริมให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีความรับผิดชอบต่อผู้ลงทุน (2) ความได้สัดส่วนระหว่างภาระของผู้อยู่ใต้บังคับแห่งประกาศนี้ กับประโยชน์ที่ผู้ลงทุนโดยรวมจะได้รับ (3) การส่งเสริมให้เกิดทางเลือกในการระดมทุนและการลงทุน (4) การส่งเสริมความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยรวม (5) การส่งเสริมการแข่งขันอย่างเป็นธรรมของภาคเอกชน ข้อ 12 เพื่อให้สํานักงาน ก.ล.ต. สามารถติดตามการปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ให้สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตหรือผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้จัดส่งข้อมูล รายงาน หรือเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายในระยะเวลาที่เหมาะสมได้ หรือจะสั่งการเป็นรายกรณีโดยต้องไม่เป็นภาระต่อบุคคลนั้นจนเกินสมควร ทั้งนี้ ระยะเวลาที่สํานักงาน ก.ล.ต. จะกําหนดให้เป็นไปตามกรอบดังนี้ (1) ในกรณีที่เป็นเรื่องเร่งด่วนและมีผลกระทบต่อผู้ออกโทเคนดิจิทัล ผู้ลงทุน หรือตลาดทุน อย่างมีนัยสําคัญ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดให้ดําเนินการภายในวันทําการที่เกิดกรณีดังกล่าวได้ (2) ในกรณีอื่นนอกจาก (1) ให้กําหนดระยะเวลาอย่างสมเหตุสมผลตามสภาพการณ์ เรื่อง และประเด็นที่เกี่ยวข้อง หมวด 3การจัดทํา ยื่น ส่ง หรือเปิดเผยข้อมูลและเอกสารตามประกาศ\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 13 เว้นแต่ข้อกําหนดในประกาศนี้จะกําหนดไว้เป็นอย่างอื่น การจัดทํา ยื่น ส่ง หรือเปิดเผยข้อมูลตามประกาศนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวดนี้ ข้อ 14 ภาษาที่ใช้ในการจัดทํา ยื่น ส่ง หรือเปิดเผยข้อมูลหรือเอกสารตามประกาศนี้ให้ใช้ภาษาไทย ผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้อาจจัดทํา ยื่น ส่ง หรือเปิดเผยข้อมูลหรือเอกสารตามวรรคหนึ่งเป็นภาษาอังกฤษด้วยก็ได้ โดยมีสาระสําคัญของข้อมูลไม่ต่างจากข้อมูลหรือเอกสารฉบับภาษาไทยทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการยื่นหรือส่งต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ต้องยื่นหรือส่งคํารับรองความถูกต้องของข้อมูลมาพร้อมกันด้วย ข้อ 15 การยื่นหรือส่งข้อมูลหรือเอกสารตามประกาศนี้ ให้เป็นไปตามรูปแบบและวิธีการที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ภาค 2หลักเกณฑ์การอนุญาตและวิธีการยื่นคําขออนุญาต\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด 1หลักเกณฑ์การอนุญาต\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 16 ความในหมวดนี้ให้ใช้บังคับกับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่เข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) การเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ออกใหม่ต่อประชาชน (2) การเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้ออกไว้แล้วและมีวัตถุประสงค์ที่จะเสนอขายเป็นการทั่วไปต่อประชาชน ข้อ 17 การเสนอขายโทเคนดิจิทัลจะได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ขออนุญาตเป็นบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (2) ผู้ขออนุญาตไม่เป็นบุคคลล้มละลาย มีหนี้สินล้นพ้นตัว หรืออยู่ระหว่างการยื่นหรือไต่สวนคําร้องขอฟื้นฟูกิจการหรือการฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย (2/1) ( ผู้ขออนุญาตไม่เคยจัดสรรและส่งมอบโทเคนดิจิทัลที่มีลักษณะเดียวกันให้แก่บุคคลใด เว้นแต่เป็นการจัดสรรและส่งมอบโทเคนดิจิทัลโดยชอบตามประกาศที่เกี่ยวข้อง (3)( เป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนที่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) ผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบันผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ และผู้ลงทุนรายใหญ่ (ข) ผู้ลงทุนที่มิใช่ผู้ลงทุนตาม (ก) ซึ่งเสนอขายเป็นมูลค่าไม่เกินรายละ3 แสนบาทต่อการเสนอขายในครั้งนั้น ทั้งนี้ ผู้ขออนุญาตต้องกําหนดมูลค่าสูงสุดของการเสนอขายในแต่ละครั้งต่อผู้ลงทุนประเภทนี้รวมกันไม่เกินมูลค่าดังนี้ แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า 1. ไม่เกิน 4 เท่าของส่วนของผู้ถือหุ้นของผู้ออกโทเคนดิจิทัล 2. ไม่เกินร้อยละ 70 ของมูลค่าทั้งหมดที่เสนอขายต่อครั้ง (4) ผู้ขออนุญาตเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 18 (5) โทเคนดิจิทัลที่ขออนุญาตเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 19 (6) ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่าข้อมูลที่เปิดเผยต่อประชาชนหรือต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน ไม่ตรงต่อความเป็นจริง ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน หรือมีข้อความที่อาจทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด (7) ผู้ขออนุญาตแสดงได้ว่า ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล (ICO portal)ได้พิจารณาแล้วว่าการเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีลักษณะที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในหมวดนี้และสามารถเสนอขายผ่านระบบของผู้ให้บริการดังกล่าวได้ ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามวรรคหนึ่ง (7) ต้องไม่มีความเกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้เสียกับผู้ออกโทเคนดิจิทัลในลักษณะที่อาจทําให้ผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลดังกล่าวขาดความเป็นอิสระในการทําหน้าที่เป็นผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล (8)( ยกเลิก ข้อ 17/1( ยกเลิก ข้อ 18 ผู้ขออนุญาตต้องแสดงให้สํานักงาน ก.ล.ต. เห็นได้ว่ามีคุณสมบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย (2) ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุอันควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุมกิจการของผู้ขออนุญาตมีลักษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท โดยอนุโลม (3) งบการเงินของผู้ขออนุญาตและงบการเงินรวมประจํางวดการบัญชีปีล่าสุด (ถ้ามี) ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังนี้ และเป็นไปตามหลักเกณฑ์อื่นที่เกี่ยวข้องกับการจัดทํางบการเงินตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ 1. มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยสําหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ในกรณีที่ผลการดําเนินงานและฐานะการเงินในอดีตของผู้ขออนุญาตมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกโทเคนดิจิทัลที่ขออนุญาต 2. มาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยตามที่กําหนดโดยกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพบัญชี ในกรณีอื่นนอกจาก 1. (ข) ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที่สํานักงาน ก.ล.ต. ให้ความเห็นชอบให้สามารถตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงินของผู้ออกโทเคนดิจิทัล เว้นแต่เป็นงบการเงินที่จัดทําขึ้นตามหลักเกณฑ์ใน (ก) 2. (ค) รายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี ต้องไม่มีความหมายในลักษณะดังนี้ 1. ไม่แสดงความเห็นต่องบการเงินของผู้ขออนุญาตและงบการเงินรวมหรือแสดงความเห็นว่างบการเงินไม่ถูกต้อง 2. แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขในรายการบัญชีที่เป็นสาระสําคัญว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 3. แสดงความเห็นว่าถูกจํากัดขอบเขตการตรวจสอบโดยการกระทําหรือไม่กระทําของผู้ขออนุญาต หรือกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ขออนุญาต (4) ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตมีหน้าที่ตามกฎหมายในการเปิดเผยข้อมูลอย่างต่อเนื่องตามภาค 4 ของประกาศนี้ หรือตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ต้องไม่อยู่ระหว่างการดําเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งดังนี้ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ก.ล.ต. (ก) ค้างการนําส่งงบการเงินหรือรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําตามหมวด 1 ของภาค 4 ของประกาศนี้ หรือตามมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (ข) ค้างส่งรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําและจัดส่งต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตามหมวด 2ของภาค 4 ของประกาศนี้ หรือตามมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (ค) ปรับปรุงแก้ไขงบการเงิน หรือรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําตามภาค 4 ของประกาศนี้ หรือตามมาตรา 56 หรือมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. แจ้งให้ดําเนินการปรับปรุงแก้ไข (ง) ปฏิบัติตามคําสั่งของสํานักงาน ก.ล.ต. ตามข้อ 8 หรือตามมาตรา 58แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (5) ผู้ขออนุญาตไม่มีลักษณะตามข้อ 20 ข้อ 19 ผู้ขออนุญาตต้องแสดงให้สํานักงาน ก.ล.ต. เห็นได้ว่า โทเคนดิจิทัลที่ขออนุญาตเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) แสดงได้ว่าโทเคนดิจิทัลที่ขออนุญาตเป็นโทเคนดิจิทัลประเภทใดประเภทหนึ่งดังนี้ (ก) โทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน (ข) โทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์ (2) โทเคนดิจิทัลที่ขออนุญาตมีความชัดเจนเกี่ยวกับแผนธุรกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแนวทางการดําเนินโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจ รวมทั้งการให้สิทธิแก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัลที่มีข้อกําหนดอย่างน้อยดังนี้ โดยผู้ขออนุญาตต้องแสดงได้ว่ามีการพิจารณาและวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วนแล้ว (ก) กรณีโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุน ต้องมีข้อกําหนดที่ชัดเจนเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือในการเข้าร่วมลงทุนในโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจ วิธีการและเงื่อนไขในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกําหนดสิทธิ และมาตรการในการรักษาสิทธิของผู้ถืออย่างเป็นธรรม (ข) กรณีโทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์ ต้องมีข้อกําหนดที่ชัดเจนเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือในการได้มาซึ่งสินค้า บริการ หรือสิทธิอื่นใด วิธีการและเงื่อนไขในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อกําหนดสิทธิ และมาตรการในการรักษาสิทธิของผู้ถืออย่างเป็นธรรม (3) ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่าแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัล และกลไกการให้สิทธิแก่ผู้ถือผ่านสัญญาอัจฉริยะ (smart contract) ไม่สามารถบังคับได้จริง หรือเป็นการเอาเปรียบผู้ลงทุน (ในกรณีที่สัญญาอัจฉริยะ (smart contract) ไม่สามารถบังคับตามที่กําหนดในร่างหนังสือชี้ชวนได้ทั้งหมด ผู้ขออนุญาตต้องมีกลไกอื่นที่นํามาใช้ทดแทนสัญญาอัจฉริยะ (smart contract)ทั้งนี้ ต้องแสดงได้ว่ากลไกอื่นดังกล่าวสามารถใช้บังคับได้จริง และไม่เป็นการเอาเปรียบผู้ลงทุน (4) แสดงได้ว่ามีการจัดทําและเปิดเผยรหัสต้นทาง (source code) ของสัญญาอัจฉริยะ (smart contract) ทั้งนี้ การเปิดเผยรหัสต้นทางให้เป็นไปตามแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดบนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. (5)( แสดงได้ว่ามีการประเมินความน่าเชื่อถือของโครงการหรือกิจการที่สมเหตุสมผลโดยผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลหรือผู้เชี่ยวชาญที่เป็นอิสระ และต้องเปิดเผยข้อมูลการประเมินความน่าเชื่อถือดังกล่าว รวมทั้งปัจจัยที่ใช้ในการพิจารณา ในกรณีที่เป็นโทเคนดิจิทัลเพื่อการลงทุนที่มีการกําหนดผลตอบแทนหลักไว้อย่างแน่นอน โดยไม่ผันแปรตามผลการดําเนินงานของโครงการหรือกิจการ ไม่ว่าจะมีการกําหนดผลตอบแทนเพิ่มเติมที่อ้างอิงกับปัจจัยอ้างอิงอื่นหรือไม่ เว้นแต่เป็นการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ หรือการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ข้อ 20 ผู้ขออนุญาตต้องไม่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ เว้นแต่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดในข้อ 21 (1) ภายในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัลผู้ขออนุญาตต้องไม่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ (ก) เคยมีประวัติฝ่าฝืนหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์หรือการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ในเรื่องที่มีนัยสําคัญ (ข) เคยถูกสํานักงาน ก.ล.ต. ปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ เนื่องจากมีเหตุที่มีนัยสําคัญอันควรสงสัยเกี่ยวกับกลไกการบริหารจัดการในลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ 1. อาจไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นได้อย่างเป็นธรรมโดยอาจมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งซึ่งจะทําให้ได้เปรียบผู้ถือหุ้นรายอื่นหรือได้ประโยชน์มากกว่าผู้ถือหุ้นรายอื่นโดยไม่สมควร 2. อาจไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นได้โดยทําให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งได้รับประโยชน์ทางการเงินนอกเหนือจากที่พึงได้ตามปกติ หรือโดยทําให้บริษัทเสียประโยชน์ที่พึงได้รับ (ค) เคยถูกสํานักงาน ก.ล.ต. ปฏิเสธคําขออนุญาตหรือสั่งเพิกถอนการอนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่หรือโทเคนดิจิทัล เนื่องจากมีเหตุที่ทําให้สงสัยเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนหรือต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ที่ไม่ครบถ้วน ไม่ตรงตามความเป็นจริง ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ ลงทุน หรือทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ซึ่งมีลักษณะเป็นการปกปิดหรืออําพราง หรือสร้างข้อมูลที่อาจไม่มีอยู่จริงในรายการหรือการดําเนินการที่มีนัยสําคัญ (ง) เคยถอนคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่หรือโทเคนดิจิทัลโดยไม่มีการชี้แจงเหตุสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. หรือโดยมีการชี้แจงแต่ไม่ได้แสดงข้อเท็จจริงหรือเหตุผลอย่างสมเหตุสมผลที่จะหักล้างข้อสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) นั้น (2) ภายในระยะเวลา 10 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัลผู้ขออนุญาตเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้างทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (3) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษหรือถูกดําเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริตอันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (4) เป็นบุคคลที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นการจัดรูปแบบเพื่อให้บุคคลที่มีลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3) หลีกเลี่ยงมิให้สํานักงาน ก.ล.ต. ใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาตาม (1) (2) หรือ (3)กับบุคคลที่มีลักษณะดังกล่าวนั้น ข้อ 21 มิให้นําความในข้อ 20(1) และ (2) แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับกับผู้ขออนุญาตซึ่งได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเหตุ ระบบงาน ระบบการบริหารจัดการ และการควบคุมการดําเนินงานที่ทําให้ผู้ขออนุญาตมีลักษณะตามข้อ 20(1) และ (2) แล้ว หมวด 2วิธีการยื่นคําขออนุญาต\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 22 ผู้ที่ประสงค์จะขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัล ให้ยื่นคําขออนุญาตและเอกสารหลักฐานอื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ข้อ 23 ให้ผู้ขออนุญาตชําระค่าธรรมเนียมคําขออนุญาตตามอัตราที่กําหนดไว้ในภาค 5 ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เมื่อสํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาตที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ข้อ 24 เมื่อสํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) สอบทานข้อเท็จจริงตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนและแจ้งประเด็นข้อสังเกตที่ได้จากการสอบทานข้อเท็จจริงเพื่อให้บริษัทชี้แจงข้อสังเกตนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือแจ้งข้อสังเกต โดยต้องดําเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 60 วันนับแต่วันที่สํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน (2) แจ้งผลการพิจารณาคําขออนุญาตภายใน 30 วันนับแต่วันที่สํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับคําชี้แจงตามข้อสังเกตจากการสอบทานข้อเท็จจริงจากผู้ขออนุญาต ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ ให้ผู้ขออนุญาตยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนที่สํานักงานก.ล.ต. จะเริ่มพิจารณาคําขออนุญาตตามวรรคหนึ่ง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน เว้นแต่สํานักงาน ก.ล.ต. ยอมรับคําขอผ่อนผันเมื่อพ้นระยะเวลาดังกล่าวในกรณีมีเหตุจําเป็นและสมควร ทั้งนี้ สํานักงาน ก.ล.ต. จะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาการอนุญาต หมวด 3เงื่อนไขการอนุญาต\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 25 ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการขายโทเคนดิจิทัลให้แล้วเสร็จภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่สํานักงาน ก.ล.ต. แจ้งการอนุญาต หากไม่สามารถดําเนินการให้แล้วเสร็จได้ภายในระยะเวลาดังกล่าวและยังประสงค์จะเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อไป ให้ผู้ได้รับอนุญาตมีหนังสือถึงสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนพ้นระยะเวลาดังกล่าวไม่น้อยกว่า 30 วันเพื่อขอขยายระยะเวลาเสนอขาย โดยต้องแจ้งเหตุผลของการขอขยายระยะเวลา และแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะของผู้ได้รับอนุญาตและโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตตามหมวด 1 ของภาคนี้ ในส่วนที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสําคัญด้วย (ถ้ามี) ในกรณีนี้ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. มีอํานาจขยายระยะเวลาให้อีกได้ตามที่เห็นควร แต่ระยะเวลาดังกล่าวต้องไม่เกิน 12 เดือนนับแต่วันที่สํานักงาน ก.ล.ต. แจ้งผลการอนุญาตครั้งแรก ข้อ 25/1( ในกรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตมีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่มีลักษณะเดียวกันต่อบุคคลอื่นนอกเหนือจากการเสนอขายต่อประชาชนซึ่งได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ และเป็นการเสนอขายในราคาต่ํา ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดให้มีกลไกที่ทําให้มั่นใจได้ว่าบุคคลที่ได้รับการจัดสรรจะไม่สามารถโอนโทเคนดิจิทัลที่เสนอขายในราคาต่ําตามจํานวนที่คํานวณได้จากส่วนต่างของราคา โทเคนดิจิทัลที่เสนอขายต่อประชาชนกับราคาโทเคนดิจิทัลที่เสนอขายในราคาต่ํา เว้นแต่พ้นระยะเวลา 6 เดือนนับแต่วันสุดท้ายที่มีการส่งมอบโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาต การเสนอขายในราคาต่ําตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความถึง การเสนอขายในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (1) การเสนอขายในราคาต่ํากว่าราคาที่เสนอขายต่อประชาชนซึ่งได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ (2) การเสนอขายในราคาเดียวกับราคาที่เสนอขายต่อประชาชนโดยมีการให้โทเคนดิจิทัลโดยไม่คิดค่าตอบแทนด้วย ข้อ 25/2( ยกเลิก ข้อ 26 ตลอดระยะเวลาที่ผู้ได้รับอนุญาตมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในภาค 4ผู้ได้รับอนุญาตต้องปฏิบัติตามข้อผูกพันที่ให้ไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน เว้นแต่เป็นกรณีที่ไม่กระทบต่อสิทธิของผู้ถือโทเคนดิจิทัลอย่างมีนัยสําคัญหรือกรณีที่เป็นการแก้ไขเปลี่ยนแปลงโดยชอบตามวิธีการที่กําหนดไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนที่ผ่านการพิจารณาจากสํานักงาน ก.ล.ต. หมวด 4หลักเกณฑ์การเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาต การเผยแพร่ข้อมูล และการโฆษณาชี้ชวน\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 27 ผู้ได้รับอนุญาตต้องเสนอขายโทเคนดิจิทัลผ่านผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่เป็นผู้พิจารณาลักษณะของผู้ได้รับอนุญาตและโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตตามข้อ 17(7) ข้อ 28 ในกรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตจะรับคริปโทเคอร์เรนซี เป็นการตอบแทน ให้รับได้เฉพาะคริปโทเคอร์เรนซีที่อยู่ในบัญชีรายชื่อที่สํานักงาน ก.ล.ต. ประกาศไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. และได้มาจากการซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรือฝากไว้กับผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่ได้รับอนุญาตตามพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 ซึ่งไม่อยู่ระหว่างถูกระงับการประกอบธุรกิจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับคริปโทเคอร์เรนซีเท่านั้น ข้อ 29 การเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลก่อนวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับ ให้กระทําได้หลังจากสํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนแล้ว และให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ก่อนวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับ โดยอนุโลม ข้อ 30 นับแต่วันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับ หากผู้ได้รับอนุญาตจะจัดให้มีการโฆษณาชี้ชวนเกี่ยวกับโทเคนดิจิทัลโดยวิธีการอื่นนอกจากการแจกจ่ายหนังสือชี้ชวน ข้อมูลที่จะใช้ในการโฆษณาอย่างน้อยต้องจัดทําเป็นภาษาไทยและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ไม่มีลักษณะเป็นเท็จ เกินความจริง บิดเบือน ปิดบัง หรือทําให้สําคัญผิดในสาระสําคัญ (2) สาระสําคัญของข้อมูลที่แสดงในโฆษณาต้องไม่นอกเหนือไปจากข้อมูลที่แสดงไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนที่ได้ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ในกรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในวรรคหนึ่งผู้ได้รับอนุญาตต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามคําสั่งของสํานักงาน ก.ล.ต. ที่จะสั่งให้ดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้ (1) หยุดการโฆษณา หรือยุติการส่งเสริมการขาย ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน (2) แก้ไขข้อมูลหรือข้อความในการโฆษณาหรือการส่งเสริมการขาย (3) ชี้แจงเพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ตรงต่อความเป็นจริง หรือไม่ทําให้สําคัญผิด (4) กระทําการหรือไม่กระทําการใดภายในระยะเวลาที่กําหนดเพื่อให้ผู้ลงทุนตัดสินใจหรือทบทวนการตัดสินใจ บนพื้นฐานข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ตรงต่อความเป็นจริงและไม่ทําให้สําคัญผิด ข้อ 30/1( ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดให้ข้อความ คําเตือน หรือข้อมูลใด ๆ ในการโฆษณา สามารถรับฟังหรือมองเห็นได้อย่างชัดเจน โดยมีความเหมาะสมกับรูปแบบการนําเสนอ และต้องให้ความสําคัญในการแสดงคําเตือนในเรื่องต่าง ๆ เช่นเดียวกับการแสดงข้อความหรือข้อมูลส่วนใหญ่ในโฆษณานั้น ๆ ด้วย ข้อ 31 ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดให้มีช่องทางในการแจกจ่ายหนังสือชี้ชวนไม่ว่าในรูปเอกสารสิ่งพิมพ์หรือในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อย่างเหมาะสม เว้นแต่จะมีการแสดงเจตนาโดยสมัครใจที่จะไม่รับหนังสือชี้ชวน ในกรณีที่มีการแสดงเจตนาตามวรรคหนึ่ง ผู้ได้รับอนุญาตต้องแจกจ่ายหรือจัดส่งสรุปข้อมูลสําคัญของโทเคนดิจิทัล (factsheet) ไม่ว่าด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อให้ผู้ประสงค์ที่จะซื้อโทเคนดิจิทัลได้รับข้อมูลดังกล่าวก่อนทําการจองซื้อ ข้อ 32 ให้ผู้ได้รับอนุญาตรายงานผลการขายโทเคนดิจิทัลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 15 วันนับแต่วันปิดการเสนอขาย โดยให้รายงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. (ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควรทําให้ผู้ได้รับอนุญาตไม่สามารถยื่นรายงานผลการขายโทเคนดิจิทัลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายในระยะเวลาที่กําหนด ผู้ได้รับอนุญาตอาจมีหนังสือขอผ่อนผันการยื่นรายงานดังกล่าวต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนวันครบระยะเวลาที่กําหนดไว้ พร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลในการขอผ่อนผันและแจ้งกําหนดระยะเวลาที่จะยื่นรายงานนั้น และในกรณีที่สํานักงาน ก.ล.ต. พิจารณาเห็นว่าคําขอดังกล่าวมีเหตุจําเป็นและสมควร สํานักงาน ก.ล.ต. อาจผ่อนผันกําหนดระยะเวลาการส่งรายงานดังกล่าวได้ หมวด 5(หลักเกณฑ์เพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/1 ในกรณีที่เป็นการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในหมวดนี้เพิ่มเติม ส่วนที่ 1หลักเกณฑ์การอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/2 การเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ จะได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) ต้องเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ พร้อมจะนําไปจัดหาประโยชน์และไม่อยู่ในบังคับแห่งทรัพยสิทธิหรือมีข้อพิพาทใด ๆ เว้นแต่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้พิจารณาโดยมีความเห็นเป็นลายลักษณ์อักษรว่าการอยู่ภายใต้บังคับแห่งทรัพยสิทธิหรือการมีข้อพิพาทนั้นไม่กระทบต่อการหาประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวอย่างมีนัยสําคัญ และเงื่อนไขการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์นั้นยังเป็นประโยชน์แก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัลโดยรวม (2) มีจํานวนหรือมูลค่าการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจํานวนหรือมูลค่าโครงการนั้น หรืออสังหาริมทรัพย์ที่ลงทุนต้องมีมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่า 500 ล้านบาท (3) แสดงได้ว่าได้ตรวจสอบและสอบทาน (การทํา due diligence) อสังหาริมทรัพย์ตามหลักเกณฑ์ในข้อ 32/3 และเปิดเผยข้อมูลและความเสี่ยงไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนอย่างครบถ้วนและเพียงพอ (4) ต้องผ่านการประเมินมูลค่าอย่างเต็มรูปแบบที่มีการตรวจสอบเอกสารสิทธิและเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน เป็นเวลาไม่เกินกว่า 6 เดือนก่อนวันยื่นคําขออนุญาต โดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินอย่างน้อย 2 รายที่ผู้ขออนุญาตและผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลพิจารณาว่ามีความเหมาะสมและสามารถประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ให้สะท้อนมูลค่าที่แท้จริงได้อย่างน่าเชื่อถือเพียงพอและมีลักษณะดังนี้ (ก) เป็นผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. (ข) ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุนอยู่ในต่างประเทศ ผู้ที่ทําหน้าที่ประเมินมูลค่าทรัพย์สินต้องมีลักษณะตามข้อ 32/4 (5) แสดงได้ว่าการทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์ต้องไม่มีข้อตกลงหรือข้อผูกพันใด ๆ ที่อาจมีผลให้ไม่สามารถจําหน่ายอสังหาริมทรัพย์ในราคายุติธรรม (ในขณะที่มีการจําหน่าย) (6) แสดงได้ว่าจะไม่มีการนําอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวไปใช้ประกอบธุรกิจที่ขัดต่อศีลธรรมหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย (7) มีร่างสัญญาก่อตั้งทรัสต์สําหรับธุรกรรมการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่ กร. 4/2564 เรื่อง การกําหนดประเภทธุรกรรมในตลาดทุนที่ให้ใช้ทรัสต์ได้ (ฉบับที่ 5)ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564ก (8) แสดงได้ว่ามีกลไกควบคุมให้ผู้ขออนุญาตโอนทรัพย์สินที่จะเป็นกองทรัสต์ให้แก่ทรัสตีตามข้อ 32/6 (9) ในกรณีที่มีการแบ่งโทเคนดิจิทัลออกเป็นหลายชนิด ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) โทเคนดิจิทัลชนิดเดียวกันต้องมีสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนที่เท่าเทียมกัน (ข) โทเคนดิจิทัลแต่ละชนิดจะมีสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนที่แตกต่างกันได้เฉพาะในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. การกําหนดประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนให้แก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัล 2. ค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ถือโทเคนดิจิทัล 3. กรณีอื่นใดที่ผู้ขออนุญาตแสดงได้ว่าเป็นการแบ่งชนิดโทเคนดิจิทัลที่สามารถปฏิบัติได้จริง และได้คํานึงถึงประโยชน์ของผู้ถือโทเคนดิจิทัลโดยรวม ตลอดจนผลกระทบที่ผู้ถือโทเคนดิจิทัลแต่ละชนิดจะได้รับแล้ว (10) ผู้ขออนุญาตมีคุณสมบัติดังนี้ (ก) ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุอันควรสงสัยว่าผู้ขออนุญาตมีฐานะทางการเงินที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย ประสบปัญหาทางการเงิน มีข้อบกพร่องหรือความไม่เหมาะสมเกี่ยวกับการควบคุมและการปฏิบัติงานอันดีของธุรกิจ (ข) แสดงได้ว่ามีหรือจะมีระบบงานที่มีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ค) แสดงได้ว่ามีหรือจะมีความพร้อมด้านบุคลากรที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน โดยอย่างน้อยต้องมีผู้รับผิดชอบในสายงานเกี่ยวกับการดูแลจัดการทรัพย์สิน ซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ด้านบริหารจัดการลงทุนหรือการจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ (ง) แสดงได้ว่ามีการป้องกันและจัดการความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ (จ) แสดงได้ว่ามีความพร้อมในการบริหารจัดการทรัพย์สินตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่ากลไกการบริหารจัดการทรัพย์สินจะไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือโทเคนดิจิทัลหรือไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือโทเคนดิจิทัลอย่างเป็นธรรม 2. ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่าขาดระบบงานที่เพียงพอที่จะทําให้สามารถบริหารจัดการทรัพย์สินให้เป็นไปตามแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัล 3. มีการบริหารจัดการด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต โดยต้องปฏิบัติต่อผู้ถือโทเคนดิจิทัลอย่างเป็นธรรม เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือโทเคนดิจิทัลโดยรวม รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทรัสต์ และมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล 4. มีการจัดการความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นในการบริหารจัดการทรัพย์สิน (11) ในกรณีที่จะมีการประกันผลตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่นต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 32/5 ข้อ 32/3 ในการตรวจสอบและสอบทานอสังหาริมทรัพย์ (การทํา due diligence)อย่างน้อยต้องมีการตรวจสอบและสอบทานในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) สภาพของอสังหาริมทรัพย์ เช่น สภาพที่ตั้ง ทางเข้าออก โอกาสในการจัดหารายได้ และภาระผูกพันต่าง ๆ ของอสังหาริมทรัพย์นั้น เป็นต้น (2) ความสามารถของคู่สัญญาในการเข้าทํานิติกรรม ตลอดจนความครบถ้วน ถูกต้อง และบังคับได้ตามกฎหมายของเอกสารสิทธิหรือเอกสารสัญญาที่เกี่ยวข้อง (3) ความเหมาะสมอื่น ๆ ในการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์นั้น (4) ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์อยู่ในต่างประเทศ ต้องตรวจสอบและสอบทานความชอบด้วยกฎหมายของการได้มาและถือครองอสังหาริมทรัพย์ตามกฎหมายของประเทศดังกล่าว โดยต้องจัดให้มีความเห็นของที่ปรึกษาทางกฎหมายที่เชี่ยวชาญในกฎหมายของประเทศนั้นประกอบการตรวจสอบและสอบทานด้วย ข้อ 32/4 ในกรณีที่อสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุนอยู่ในต่างประเทศ ผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินอาจเป็นบุคคลที่อยู่ในบัญชีรายชื่อของบุคคลซึ่งทางการหรือหน่วยงานกํากับดูแลของประเทศอันเป็นที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์กําหนดให้สามารถทําหน้าที่ประเมินมูลค่าอสังหาริมทรัพย์นั้น ๆ ได้ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่ปรากฏบัญชีรายชื่อดังกล่าว ผู้ที่ทําหน้าที่ประเมินมูลค่าทรัพย์สินต้องเข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ซึ่งมีผลงานเป็นที่ยอมรับ อย่างแพร่หลายในประเทศอันเป็นที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์นั้น (2) เป็นบุคคลที่มีมาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบงานในการประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นสากล (3) เป็นผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่มีเครือข่ายกว้างขวางในระดับสากล (international firm) ข้อ 32/5 ในกรณีที่จะได้รับหรือมีการแสดงต่อผู้ลงทุนว่าจะได้รับการประกันผลตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่นที่จะได้รับจากอสังหาริมทรัพย์ที่โทเคนดิจิทัลอ้างอิงหรือมีกระแสรายรับ การประกันดังกล่าวต้องมีหลักเกณฑ์อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ระบุวงเงินที่กําหนดไว้ในสัญญาประกัน (2) ผู้รับประกันอย่างน้อยหนึ่งรายต้องเป็นนิติบุคคล (3) มีข้อกําหนดที่แสดงว่า ผู้รับประกันยอมผูกพันตนทั้งในฐานะผู้รับประกันและในฐานะเป็นลูกหนี้ร่วมกับผู้ให้ผลตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่นดังกล่าว เช่น ผู้เช่า เป็นต้น (4) มีรายละเอียดของข้อตกลงระหว่างผู้รับประกัน ผู้ขออนุญาต และผู้ให้ผลตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่น รวมทั้งต้องไม่มีข้อตกลงหรือเงื่อนไขในลักษณะดังนี้ (ก) ข้อตกลงที่เป็นการยกเว้นความรับผิดของผู้รับประกัน เว้นแต่ในกรณีที่เกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือมิใช่ความผิดของผู้รับประกัน (ข) เงื่อนไขที่เกินความจําเป็นในลักษณะที่จะทําให้การเรียกร้องตามสัญญาประกัน เป็นไปได้ยากหรือเป็นการสร้างภาระเกินสมควร ส่วนที่ 2 เงื่อนไขการอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/6 ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดทําสัญญาก่อตั้งทรัสต์ที่มีรายละเอียดตามที่ได้ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตามข้อ 32/2(7) อย่างช้าภายในวันที่มีการโอนทรัพย์สินที่จะเป็นกองทรัสต์ให้แก่ทรัสตีตามวรรคสอง ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการโอนทรัพย์สินที่จะเป็นกองทรัสต์แก่ทรัสตีภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ปิดการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ข้อ 32/7 ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงทรัสตีของกองทรัสต์ตามที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือกฎหมายกําหนด ให้ผู้ได้รับอนุญาตแจ้งการเปลี่ยนแปลงให้ผู้ถือโทเคนดิจิทัลทราบภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ และให้แจ้งสํานักงาน ก.ล.ต. ภายในระยะเวลาเดียวกันนั้นด้วย ข้อ 32/8 ในการขอมติผู้ถือโทเคนดิจิทัล ผู้ได้รับอนุญาตต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) วิธีการขอมติ อาจดําเนินการโดยการจัดประชุมผู้ถือโทเคนดิจิทัลหรือการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล (2) เหตุในการขอมติ ต้องระบุกรณีที่ต้องขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนตามข้อ 36 และข้อ 37 ไว้ให้ชัดเจน (3) การดําเนินการเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือโทเคนดิจิทัล และการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัลดังนี้ ให้ปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ โดยอนุโลม (ก) การจัดทําหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือขอมติ (ข) การจัดส่งหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือขอมติ (ค) การประกาศวันนัดประชุมหรือวันสุดท้ายของการรับหนังสือแจ้งมติ (ง) องค์ประชุม (จ) การดําเนินการประชุม (ฉ) วิธีการนับคะแนนเสียง (ช) การดําเนินการอื่นใดที่เกี่ยวข้อง (4) การขอมติผู้ถือโทเคนดิจิทัล การประชุมผู้ถือโทเคนดิจิทัล หรือการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล อาจดําเนินการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ โดยต้องคํานึงถึงความเหมาะสมของผู้ถือโทเคนดิจิทัล และจัดให้มีระบบงานรองรับการดําเนินการดังกล่าวที่มีความมั่นคงและปลอดภัย ทั้งนี้ ให้ปฏิบัติตามมาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมหรือการดําเนินการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยอนุโลม (5) มติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล ให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือโทเคนดิจิทัลที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน หรือผู้ถือโทเคนดิจิทัลที่ส่งกลับหนังสือแจ้งมติและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน เว้นแต่กรณีที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อผู้ถือโทเคนดิจิทัล อาจกําหนดให้ต้องได้คะแนนเสียงที่มากกว่านั้นได้ ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การส่งเสริมการขาย \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/9 ผู้ได้รับอนุญาตอาจจัดให้มีการส่งเสริมการขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ได้ โดยต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ไม่เป็นการจูงใจหรือเร่งรัดผู้ลงทุนโดยใช้การส่งเสริมการขาย เพื่อให้ผู้ลงทุน ตัดสินใจลงทุนในโทเคนดิจิทัล โดยไม่คํานึงถึงข้อมูลที่เป็นพื้นฐานซึ่งจําเป็นต่อการตัดสินใจลงทุน (2) ไม่เป็นการชิงโชคหรือจับฉลากเพื่อสุ่มหาผู้ได้รับของสมนาคุณ สิทธิ หรือประโยชน์อื่นใด (3) มีการกําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ผู้ลงทุนจะได้รับของสมนาคุณ สิทธิ หรือ ประโยชน์อื่นใด ที่มีความชัดเจน ง่ายต่อการทําความเข้าใจ ไม่ทําให้สําคัญผิด เหมาะสมและเป็นธรรม (4) มีการแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบล่วงหน้าเป็นการทั่วไปในระยะเวลาที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส่งเสริมการขาย (5) ไม่คิดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งเสริมการขายจากผู้ซื้อโทเคนดิจิทัล การส่งเสริมการขายตามวรรคหนึ่ง หมายความว่า การให้ของสมนาคุณ สิทธิ หรือ ประโยชน์อื่นใดแก่ผู้ลงทุน เพื่อจูงใจให้ผู้ลงทุนตัดสินใจลงทุนในโทเคนดิจิทัล ส่วนที่ 4การจัดสรรโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือ มีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/10( ในการจัดสรรโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีที่ผู้ได้รับการจัดสรรโทเคนดิจิทัลเป็นผู้ได้รับอนุญาตหรือทรัสตีของกองทรัสต์ให้จัดสรรโทเคนดิจิทัลให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตหรือทรัสตี แล้วแต่กรณี ได้ไม่เกินอัตราดังต่อไปนี้ (ก) ร้อยละ 50 ของจํานวนโทเคนดิจิทัลที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด (ข) ร้อยละ 50 ของจํานวนโทเคนดิจิทัลที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของโทเคนดิจิทัลแต่ละชนิด ในกรณีที่มีการแบ่งชนิดของโทเคนดิจิทัล การคํานวณอัตราการถือโทเคนดิจิทัลตามวรรคหนึ่ง ให้นับรวมโทเคนดิจิทัลที่ถือโดยกลุ่มบุคคลเดียวกันกับผู้ได้รับอนุญาตหรือทรัสตี แล้วแต่กรณี ด้วย (2) ในกรณีที่มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย หากกฎหมาย กฎหรือข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์นั้นกําหนดสัดส่วนการลงทุนของผู้ลงทุนต่างด้าวไว้ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดสรรโทเคนดิจิทัลแก่ผู้ลงทุนต่างด้าวให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดนั้นด้วย ในกรณีที่มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ตามวรรคหนึ่งหลายโครงการและบรรดากฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับอสังหาริมทรัพย์นั้นมีการกําหนดสัดส่วนการลงทุนของผู้ลงทุนต่างด้าวไว้แตกต่างกัน ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดสรรโทเคนดิจิทัลตามสัดส่วนที่กําหนดไว้ต่ําสุดของบรรดากฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดนั้น ผู้ได้รับอนุญาตต้องแบ่งแยกโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ที่จะจัดสรรให้แก่ผู้ได้รับอนุญาต ทรัสตี หรือกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ได้รับอนุญาตออกจากโทเคนดิจิทัลที่จะจัดสรรให้แก่ประชาชนทั่วไปไว้อย่างชัดเจน และเปิดเผยประเภทบุคคลดังกล่าวรวมถึงจํานวนที่จะจัดสรรไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน ข้อ 32/11 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงแก่ผู้ได้รับอนุญาตว่าบุคคลใดตามข้อ 32/10ถือโทเคนดิจิทัลไม่เป็นไปตามอัตราหรือหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) แจ้งให้บุคคลดังกล่าวทราบโดยไม่ชักช้าถึงข้อจํากัดสิทธิเกี่ยวกับการออกเสียง ลงคะแนนและการรับผลประโยชน์ตอบแทนตามที่กําหนดไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน (2) รายงานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ผู้ได้รับอนุญาตรู้หรือ ควรรู้ถึงเหตุดังกล่าว หมวด 6( หลักเกณฑ์เพิ่มเติมสําหรับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิง หรือมีกระแสรายรับจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/12 ในกรณีที่เป็นการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในหมวดนี้เพิ่มเติม ข้อ 32/13 ในการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามความในหมวดนี้ จะใช้ทรัสต์เพื่อการถือครองทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเพื่อประโยชน์ของผู้ถือโทเคนดิจิทัล โดยไม่ได้ใช้ทรัสต์ในการบริหารและจัดการลงทุนในทรัพย์สินดังกล่าว (passive trust) ข้อ 32/14 ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามหมวดนี้ ได้แก่ ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ (1) กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง หรือสิทธิการเช่าในที่ดิน อาคาร สิ่งปลูกสร้าง เครื่องจักร อุปกรณ์ ตลอดจนทรัพย์สินอื่นใดที่เกี่ยวข้อง ที่ใช้ในการประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (2) สิทธิสัมปทานในการประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (3) สิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคต หรือสิทธิตามสัญญาแบ่งรายได้ในอนาคตของกิจการโครงสร้างพื้นฐานหรือที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการกิจการโครงสร้างพื้นฐานหรือการบริหารจัดการทรัพย์สินอื่นใดที่ได้จากการประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (4) สิทธิเรียกร้องตามสัญญาซื้อขายติดตั้งเครื่องจักรอุปกรณ์ หรือสัญญาก่อสร้างหรือสัญญาซื้อขายผลิตภัณฑ์หรือบริการของกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (5) หุ้นของนิติบุคคลเฉพาะกิจซึ่งมีการลงทุนใน (1) (2) (3) หรือ (4) ตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) เป็นการถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด และไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนสิทธิออกเสียงทั้งหมดของนิติบุคคลเฉพาะกิจนั้น (ข) เป็นการถือหุ้นเพื่อประโยชน์ของผู้ถือโทเคนดิจิทัล เพื่อมิให้ทรัพย์สินของนิติบุคคลเฉพาะกิจดังกล่าวถูกจําหน่าย จ่าย โอน หรือก่อภาระผูกพัน โดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากทรัสตี ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์ นิติบุคคลเฉพาะกิจตามวรรคหนึ่ง หมายความว่า บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการลงทุนใน (1) (2) (3) หรือ (4) ตามข้อกําหนดในการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ข้อ 32/15 กิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 32/14 ได้แก่ กิจการดังต่อไปนี้ (1) ระบบขนส่งทางรางหรือทางท่อ (2) ไฟฟ้า (3) ประปา (4) ถนน ทางพิเศษ หรือทางสัมปทาน (5) ท่าอากาศยานหรือสนามบิน (6) ท่าเรือน้ําลึก (7) โทรคมนาคม หรือโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (8) พลังงานทางเลือก (9) ระบบบริหารจัดการน้ําหรือการชลประทาน (10) ระบบป้องกันภัยธรรมชาติ ซึ่งรวมถึงระบบเตือนภัยและระบบจัดการเพื่อลดความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นด้วย (11) ระบบจัดการของเสีย (12) ระบบคมนาคมขนส่งทางบกหรือขนส่งทางน้ํา (13) กิจการที่มีลักษณะเป็นกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1) ถึง (12) หลายกิจการ(multi-infrastructure) ประกอบกัน โดยกิจการที่ประกอบกันเหล่านั้นเข้าลักษณะที่ครบถ้วนดังนี้ (ก) มีความเชื่อมโยง ส่งเสริม หรือก่อให้เกิดประโยชน์ซึ่งกันและกันหรือต่อชุมชนเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน (ข) ก่อให้เกิดหรือจะก่อให้เกิดรายได้เป็นมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของรายได้รวมของกิจการทั้งหมดที่ประกอบกันนั้น ส่วนที่ 1 หลักเกณฑ์การอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/16 การเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานจะได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) ต้องเป็นกิจการโครงสร้างพื้นฐานซึ่งเป็นโครงการที่แล้วเสร็จ หรือในกรณีที่เป็นโครงการที่ยังไม่แล้วเสร็จ ต้องมีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการที่ยังไม่แล้วเสร็จดังกล่าวไม่เกินร้อยละ 30 ของมูลค่าการลงทุนรวมในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งนี้ การคํานวณมูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 32/19 ด้วย การลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการที่ยังไม่แล้วเสร็จตามวรรคหนึ่ง ให้หมายความรวมถึง การลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของหลายโครงการซึ่งบางโครงการเป็นโครงการที่ยังไม่แล้วเสร็จ หรือการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการเดียวซึ่งมีแผนพัฒนาโครงการเป็นส่วน ๆ (phase) โดยบางส่วนยังพัฒนาไม่แล้วเสร็จด้วย (2) มีมูลค่าการลงทุนรวมในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานไม่น้อยกว่า500 ล้านบาท โดยมีการคํานวณมูลค่าการลงทุนตามข้อ 32/19 (3) แสดงได้ว่าได้ตรวจสอบหรือสอบทาน (การทํา due diligence) ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามหลักเกณฑ์ในข้อ 32/17 (4) ต้องผ่านการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามหลักเกณฑ์ในข้อ 32/18 (5) แสดงได้ว่าการทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานต้องไม่มีข้อตกลงหรือข้อผูกพันใด ๆ ที่อาจมีผลให้ไม่สามารถจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานในราคายุติธรรม (ในขณะที่มีการจําหน่าย) (6) แสดงได้ว่าไม่มีการนําทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานไปใช้ดําเนินการในลักษณะที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจที่ฝ่าฝืนกฎหมายอย่างร้ายแรง เช่น การค้ามนุษย์ การผลิตหรือจําหน่ายยาเสพติด หรือการฟอกเงิน เป็นต้น หรือในลักษณะที่เป็นการฝ่าฝืนหรือการไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายอันอาจเป็นเหตุให้ธุรกิจของผู้ขออนุญาตได้รับผลกระทบอย่างร้ายแรงและมีนัยสําคัญ (7) มีความเห็นของผู้เชี่ยวชาญอิสระซึ่งแสดงความเห็นเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่ใช้กับกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (technological feasibility) เฉพาะในกรณีที่เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ไม่เคยใช้ในประเทศไทยมาก่อน หรือเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่จําเป็นต้องใช้ความชํานาญเฉพาะด้านเป็นพิเศษโดยต้องระบุรายละเอียด ข้อดีและข้อเสียของเทคโนโลยีดังกล่าว ตลอดจนตัวอย่างของโครงการอื่นที่ใช้เทคโนโลยีนั้น (ถ้ามี) (8) แสดงเอกสารเกี่ยวกับการมีภาระหน้าที่ตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศที่ให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดําเนินกิจการของรัฐ หรือกฎหมายอื่นในทํานองเดียวกันซึ่งครอบคลุมข้อมูลในเรื่องดังนี้ (ก) ข้อมูลที่แสดงว่ากิจการโครงสร้างพื้นฐานมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าวหรือไม่ (ข) ในกรณีที่กิจการโครงสร้างพื้นฐานมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าว ให้ยื่นข้อมูลที่แสดงถึงการดําเนินการตามกฎหมายนั้น พร้อมทั้งหนังสือรับรองจากกิจการโครงสร้างพื้นฐานหรือจากหน่วยงานที่กํากับดูแลกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าวที่แสดงว่าได้มีการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายนั้นแล้ว (9) มีร่างสัญญาก่อตั้งทรัสต์สําหรับธุรกรรมการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยรายการในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ (10) ในกรณีที่มีการแบ่งโทเคนดิจิทัลออกเป็นหลายชนิด ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) โทเคนดิจิทัลชนิดเดียวกันต้องมีสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนที่เท่าเทียมกัน (ข) โทเคนดิจิทัลแต่ละชนิดจะมีสิทธิและผลประโยชน์ตอบแทนที่แตกต่างกันได้เฉพาะในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. การกําหนดประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนให้แก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัล 2. ค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ถือโทเคนดิจิทัล 3. กรณีอื่นใดที่ผู้ขออนุญาตแสดงได้ว่าเป็นการแบ่งชนิดโทเคนดิจิทัลที่สามารถปฏิบัติได้จริง และได้คํานึงถึงประโยชน์ของผู้ถือโทเคนดิจิทัลโดยรวม ตลอดจนผลกระทบที่ผู้ถือโทเคนดิจิทัลแต่ละชนิดจะได้รับแล้ว (11) ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตมีการออกโทเคนดิจิทัลชนิดที่ให้สิทธิในการไถ่ถอน(redeemable token) สัญญาก่อตั้งทรัสต์ต้องมีข้อกําหนดที่ชัดเจนเกี่ยวกับเงื่อนไขและระยะเวลาในการไถ่ถอนดังกล่าว และผู้ขออนุญาตต้องแสดงได้ว่าการไถ่ถอนโทเคนดิจิทัลนั้นจะไม่กระทบต่อความอยู่รอดของโครงการ (12) แสดงได้ว่าการจะจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานต้องมีข้อตกลงและเงื่อนไขของสัญญา ซึ่งรวมถึงอัตราค่าเช่า ค่าสิทธิ หรือค่าตอบแทนอื่นที่เกี่ยวข้องที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือโทเคนดิจิทัล และมีลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนจะพึงกระทํากับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน (13) ผู้ขออนุญาตมีคุณสมบัติดังนี้ (ก) ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุอันควรสงสัยว่าผู้ขออนุญาตมีฐานะทางการเงินที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย ประสบปัญหาทางการเงิน มีข้อบกพร่องหรือความไม่เหมาะสมเกี่ยวกับการควบคุมและการปฏิบัติงานอันดีของธุรกิจ (ข) แสดงได้ว่ามีหรือจะมีระบบงานที่มีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ค) แสดงได้ว่ามีหรือจะมีความพร้อมด้านบุคลากรที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงาน โดยอย่างน้อยต้องมีผู้รับผิดชอบในสายงานเกี่ยวกับการดูแลจัดการทรัพย์สิน และมีบุคลากรอีกไม่น้อยกว่า 2 ราย ซึ่งมีคุณสมบัติที่ครบถ้วนดังนี้ 1. มีความรู้และประสบการณ์ด้านบริหารจัดการลงทุนหรือการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานรวมกันเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปีภายในช่วงระยะเวลา 5 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาต 2. มีความรู้ความสามารถในการวัดมูลค่า (valuation) ของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานได้อย่างน่าเชื่อถือ (ง) แสดงได้ว่ามีการป้องกันและจัดการความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ (จ) แสดงได้ว่ามีความพร้อมในการบริหารจัดการทรัพย์สินตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่ากลไกการบริหารจัดการทรัพย์สินจะไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือโทเคนดิจิทัลหรือไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือโทเคนดิจิทัลอย่างเป็นธรรม 2. ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่าขาดระบบงานที่เพียงพอที่จะทําให้สามารถบริหารจัดการทรัพย์สินให้เป็นไปตามแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัล 3. มีการบริหารจัดการด้วยความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต โดยต้องปฏิบัติต่อผู้ถือโทเคนดิจิทัลอย่างเป็นธรรม เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือโทเคนดิจิทัลโดยรวม รวมทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทรัสต์ และมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล 4. มีการจัดการความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นในการบริหารจัดการทรัพย์สิน (14) แสดงเอกสารซึ่งแสดงความเห็นของผู้ขออนุญาตและผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัล เกี่ยวกับความสมเหตุสมผลของรายงานการประเมินมูลค่า ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตหรือผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีการจัดทําประมาณการทางการเงินของกิจการโครงสร้างพื้นฐานซึ่งแสดงการวิเคราะห์ในกรณีพื้นฐาน (base case) และการวิเคราะห์ความไวต่อการเปลี่ยนแปลง (sensitivity analysis) ให้ผู้ขออนุญาตหรือผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลอธิบายความแตกต่างระหว่างรายงานการประเมินมูลค่ากับประมาณการทางการเงินดังกล่าว (ถ้ามี) ด้วย (15) แสดงหนังสือรับรองจากผู้ที่จะเข้าเป็นทรัสตีของกองทรัสต์โดยต้องมีข้อความที่แสดงว่าบุคคลดังกล่าวยอมรับที่จะเข้าปฏิบัติหน้าที่เป็นทรัสตีของกองทรัสต์ โดยได้ศึกษาเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่ผู้ขออนุญาตยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. แล้ว และรับรองว่าร่างสัญญาก่อตั้งทรัสต์เป็นไปตามประกาศนี้และประกาศที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุนและตนมีความพร้อมที่จะปฏิบัติหน้าที่เป็นทรัสตีของกองทรัสต์นั้น ข้อ 32/17 การตรวจสอบหรือสอบทานทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน(การทํา due diligence) ตามข้อ 32/16(3) ผู้ขออนุญาตและผู้ให้บริการระบบเสนอขายโทเคนดิจิทัลต้องจัดให้มีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจการโครงสร้างพื้นฐานและทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ข้อมูลด้านการเงิน กฎหมาย หรือเทคนิคเฉพาะทาง เป็นต้น และบุคคลดังกล่าวมีความเห็นว่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) มีความเหมาะสมสําหรับการลงทุนของผู้ลงทุนทั่วไป โดยมีศักยภาพในการสร้างผลตอบแทนตามวัตถุประสงค์ของการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (2) มีเอกสารสิทธิหรือเอกสารสัญญาที่ครบถ้วน ชัดเจน บังคับได้ตามกฎหมายและเพียงพอต่อการใช้ดําเนินการหรือจัดหาผลประโยชน์ (3) ในกรณีที่กิจการโครงสร้างพื้นฐานอยู่ในต่างประเทศ ต้องตรวจสอบหรือสอบทานความชอบด้วยกฎหมายของการได้มาและถือครองทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามกฎหมายของประเทศดังกล่าว โดยต้องจัดให้มีความเห็นของที่ปรึกษาทางกฎหมายที่เชี่ยวชาญในกฎหมายของประเทศนั้นประกอบการตรวจสอบหรือสอบทานด้วย ข้อ 32/18 การประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 32/14(1) (2) (3) หรือ (4) (ก) เป็นการประเมินมูลค่าทรัพย์สินโดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่เป็นนิติบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานประเภทนั้น ๆ อย่างน้อย2 ราย เว้นแต่ในกรณีที่เป็นการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่ทําธุรกรรมกับบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ผู้ขออนุญาตหรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้ขออนุญาต อาจประเมินมูลค่าทรัพย์สินโดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สิน 1 ราย (ข) เป็นการประเมินมูลค่าทรัพย์สินอย่างเต็มรูปแบบที่มีการตรวจสอบเอกสารสิทธิและเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะ (ค) เป็นการประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่จัดทําล่วงหน้าก่อนการลงทุนในทรัพย์สินดังกล่าวเป็นเวลาไม่เกิน 1 ปี (2) กรณีทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้นของนิติบุคคลเฉพาะกิจตามข้อ 32/14(5) ให้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่นิติบุคคลเฉพาะกิจลงทุนตามหลักเกณฑ์ใน (1) โดยอนุโลม ทั้งนี้ ให้คํานึงถึงภาระภาษีของนิติบุคคลเฉพาะกิจดังกล่าวและปัจจัยอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของนิติบุคคลเฉพาะกิจที่กองทรัสต์เป็นผู้ถือหุ้นด้วย ข้อ 32/19 การคํานวณมูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่เป็นการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการที่ยังไม่แล้วเสร็จ ให้คํานวณจากผลรวมของราคาที่ทําให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น และมูลค่าเงินลงทุนที่ผู้ขออนุญาตคาดว่าจะต้องใช้ในการพัฒนาให้เป็นโครงการที่แล้วเสร็จ (2) กรณีที่เป็นการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของโครงการที่แล้วเสร็จ ให้คํานวณตามราคาที่ทําให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น กรณีที่มีการแบ่งชําระราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน เงินที่กันไว้สําหรับการชําระราคาในคราวถัด ๆ ไป อาจนํามาคํานวณรวมเป็นมูลค่าการลงทุนตามวรรคหนึ่ง (1) หรือ (2) ได้ ข้อ 32/20 ในกรณีที่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นสิทธิในการรับประโยชน์จากรายได้ในอนาคตหรือสิทธิตามสัญญาแบ่งรายได้ในอนาคตตามข้อ 32/14(3) ผู้ขออนุญาตต้องแสดงได้ว่าผู้ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นคู่สัญญาได้ดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีกลไกเพื่อให้ผู้ขออนุญาตหรือผู้ที่ผู้ขออนุญาตมอบหมายสามารถเข้าตรวจสอบหรือสอบยันความถูกต้องครบถ้วนของรายได้ที่จะมีสิทธิได้รับตามสัญญา (2) ตกลงที่จะจัดส่งรายงานหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่อผู้ขออนุญาตเพื่อใช้ในการติดตามและตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนของรายได้ที่จะมีสิทธิได้รับตามสัญญา ข้อ 32/21 ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานต้องไม่เป็นของบุคคลที่มีลักษณะตามข้อ 32/22 เว้นแต่ในกรณีที่ผู้ขออนุญาตสามารถแสดงให้สํานักงาน ก.ล.ต. เห็นได้ว่าบุคคลดังกล่าวได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเหตุ ระบบงาน ระบบการบริหารจัดการ และการควบคุมการดําเนินงานที่ทําให้บุคคลดังกล่าวมีลักษณะตามข้อ 32/22(1) หรือ (2) แล้ว มิให้นําความในข้อ 32/22(1) หรือ (2)แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับกับบุคคลนั้นอีก ข้อ 32/22 ผู้ขออนุญาตต้องไม่จัดให้มีการทําสัญญาเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานกับบุคคลที่มีลักษณะดังต่อไปนี้ หากบุคคลนั้นเองหรือบุคคลอื่นที่บุคคลดังกล่าวควบคุมได้จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพย์สิน เว้นแต่บุคคลดังกล่าวเป็นบริษัทที่มีหุ้นเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ให้พิจารณาการมีลักษณะตามที่กําหนดใน (1) (ก) เท่านั้น (1) ภายในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัลบุคคลดังกล่าวมีลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) เคยมีประวัติฝ่าฝืนหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์หรือการเสนอขายโทเคนดิจิทัลในเรื่องที่มีนัยสําคัญ (ข) เคยถูกสํานักงาน ก.ล.ต. ปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่เนื่องจากมีเหตุที่มีนัยสําคัญอันควรสงสัยเกี่ยวกับกลไกการบริหารจัดการในลักษณะดังต่อไปนี้ 1. อาจไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นได้อย่างเป็นธรรมโดยอาจมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งซึ่งจะทําให้ได้เปรียบผู้ถือหุ้นรายอื่นหรือได้ประโยชน์มากกว่าผู้ถือหุ้นรายอื่นโดยไม่สมควร 2. อาจไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นได้โดยทําให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งได้รับประโยชน์ทางการเงินนอกเหนือจากที่พึงได้ตามปกติ หรือโดยทําให้บริษัทเสียประโยชน์ที่พึงได้รับ (ค) เคยถูกสํานักงาน ก.ล.ต. ปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์หรือโทเคนดิจิทัลที่ออกใหม่เนื่องจากมีเหตุที่ทําให้สงสัยเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนที่ไม่ครบถ้วน ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน หรือทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ซึ่งมีลักษณะเป็นการปกปิดหรืออําพรางหรือสร้างข้อมูล ที่อาจไม่มีอยู่จริงในรายการหรือการดําเนินการที่มีนัยสําคัญ (ง) เคยถอนคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่หรือโทเคนดิจิทัลโดยไม่มีการชี้แจงเหตุสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. หรือโดยมีการชี้แจงแต่ไม่ได้แสดงข้อเท็จจริงหรือเหตุผลอย่างสมเหตุสมผลที่จะหักล้างข้อสงสัยในเหตุตาม (ข) หรือ (ค) นั้น (2) ภายในระยะเวลา 10 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัลบุคคลดังกล่าวเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (3) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษหรือถูกดําเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินงานที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (4) เป็นบุคคลที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นการจัดรูปแบบเพื่อให้บุคคลที่มีลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3) หลีกเลี่ยงมิให้สํานักงาน ก.ล.ต. ใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาตาม (1) (2) หรือ (3)กับบุคคลที่มีลักษณะดังกล่าวนั้น ส่วนที่ 2 เงื่อนไขการอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/23 ในกรณีที่รายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของผู้ได้รับอนุญาตมีอายุเกิน1 ปีในวันที่เสนอขายโทเคนดิจิทัล หรือในกรณีที่มีปัจจัยที่อาจทําให้มูลค่าการประเมินทรัพย์สินดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสําคัญ ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดให้มีการปรับปรุงรายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินให้เป็นปัจจุบันก่อนดําเนินการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ข้อ 32/24 ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดทําสัญญาก่อตั้งทรัสต์ที่มีรายละเอียดตามที่ได้ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตามข้อ 32/16(9) ก่อนหรือในวันที่มีการโอนทรัพย์สินที่จะให้เป็นกองทรัสต์แก่ทรัสตี ทั้งนี้ ต้องมีการโอนทรัพย์สินดังกล่าวภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่ปิดการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ข้อ 32/25 ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงทรัสตีของกองทรัสต์ตามที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือกฎหมายกําหนด ให้ผู้ได้รับอนุญาตแจ้งการเปลี่ยนแปลงให้ผู้ถือโทเคนดิจิทัลทราบภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ และให้แจ้งสํานักงาน ก.ล.ต. ภายในระยะเวลาเดียวกันนั้นด้วย ข้อ 32/26 ในการขอมติผู้ถือโทเคนดิจิทัล และการดําเนินการเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือโทเคนดิจิทัล ผู้ได้รับอนุญาตต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) วิธีการขอมติ อาจดําเนินการโดยการจัดประชุมผู้ถือโทเคนดิจิทัลหรือการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล (2) เหตุในการขอมติ ต้องระบุกรณีที่ต้องขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนตามข้อ 36 และข้อ 37 ไว้ให้ชัดเจน (3) ในการขอมติผู้ถือโทเคนดิจิทัล การดําเนินการเกี่ยวกับการประชุมผู้ถือโทเคนดิจิทัล และการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัลดังนี้ ให้ปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน โดยอนุโลม (ก) การจัดทําหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือขอมติ (ข) การจัดส่งหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือขอมติ (ค) การประกาศการนัดประชุมหรือวันสุดท้ายของการรับหนังสือแจ้งมติ (ง) องค์ประชุม (จ) การดําเนินการประชุม (ฉ) วิธีการนับคะแนนเสียง (ช) มติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล (ซ) การดําเนินการอื่นใดที่เกี่ยวข้อง (4) การขอมติผู้ถือโทเคนดิจิทัล การประชุมผู้ถือโทเคนดิจิทัล หรือการส่งหนังสือขอมติของผู้ถือโทเคนดิจิทัล อาจดําเนินการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ โดยต้องคํานึงถึงความเหมาะสมของผู้ถือโทเคนดิจิทัล และจัดให้มีระบบงานรองรับการดําเนินการดังกล่าวที่มีความมั่นคงและปลอดภัย ทั้งนี้ ให้ปฏิบัติตามมาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมหรือการดําเนินการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยอนุโลม ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การส่งเสริมการขาย \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/27 ผู้ได้รับอนุญาตอาจจัดให้มีการส่งเสริมการขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานได้ โดยต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ไม่เป็นการจูงใจหรือเร่งรัดผู้ลงทุนโดยใช้การส่งเสริมการขาย เพื่อให้ผู้ลงทุนตัดสินใจลงทุนในโทเคนดิจิทัล โดยไม่คํานึงถึงข้อมูลที่เป็นพื้นฐานซึ่งจําเป็นต่อการตัดสินใจลงทุน (2) ไม่เป็นการชิงโชคหรือจับฉลากเพื่อสุ่มหาผู้ได้รับของสมนาคุณ สิทธิ หรือประโยชน์อื่นใด (3) มีการกําหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ผู้ลงทุนจะได้รับของสมนาคุณ สิทธิ หรือประโยชน์อื่นใด ที่มีความชัดเจน ง่ายต่อการทําความเข้าใจ ไม่ทําให้สําคัญผิด เหมาะสมและเป็นธรรม (4) มีการแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบล่วงหน้าเป็นการทั่วไปในระยะเวลาที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส่งเสริมการขาย (5) ไม่คิดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการส่งเสริมการขายจากผู้ซื้อโทเคนดิจิทัล การส่งเสริมการขายตามวรรคหนึ่ง หมายความว่า การให้ของสมนาคุณ สิทธิ หรือประโยชน์อื่นใดแก่ผู้ลงทุน เพื่อจูงใจให้ผู้ลงทุนตัดสินใจลงทุนในโทเคนดิจิทัล ส่วนที่ 4 การจัดสรรโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับ จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/28 ในการจัดสรรโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีที่ผู้ได้รับจัดสรรโทเคนดิจิทัลเป็นผู้ได้รับอนุญาต หรือทรัสตีของกองทรัสต์ ให้จัดสรรให้แก่ผู้ได้รับอนุญาตหรือทรัสตี แล้วแต่กรณี ไม่เกินอัตราดังต่อไปนี้ (ก) ร้อยละ 50 ของจํานวนโทเคนดิจิทัลที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด (ข) ร้อยละ 50 ของจํานวนโทเคนดิจิทัลที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของโทเคนดิจิทัลแต่ละชนิด ในกรณีที่มีการแบ่งชนิดของโทเคนดิจิทัล การคํานวณอัตราการถือโทเคนดิจิทัลตามวรรคหนึ่ง ให้นับรวมโทเคนดิจิทัลที่ถือโดยกลุ่มบุคคลเดียวกันกับผู้ได้รับอนุญาตหรือทรัสตี แล้วแต่กรณี ด้วย (2) ในกรณีที่มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทยหากกฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นกําหนดสัดส่วนการลงทุนของผู้ลงทุนต่างด้าวไว้ ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดสรรโทเคนดิจิทัลแก่ผู้ลงทุนต่างด้าวให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดนั้นด้วย ในกรณีที่มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามวรรคหนึ่งหลายโครงการ และบรรดากฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดที่เกี่ยวข้องกับกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นมีการกําหนดสัดส่วนการลงทุนของผู้ลงทุนต่างด้าวไว้แตกต่างกัน ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดสรรโทเคนดิจิทัลตามสัดส่วนที่กําหนดไว้ต่ําสุดของบรรดากฎหมาย กฎ หรือข้อกําหนดนั้น ผู้ได้รับอนุญาตต้องแบ่งแยกโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะจัดสรรให้แก่ผู้ได้รับอนุญาต ทรัสตี หรือกรรมการหรือผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ผู้มีอํานาจควบคุม บริษัทใหญ่ หรือบริษัทย่อยของผู้ได้รับอนุญาต หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับบุคคลดังกล่าวออกจากโทเคนดิจิทัลที่จะจัดสรรให้แก่ประชาชนทั่วไปไว้อย่างชัดเจน และเปิดเผยประเภทบุคคลดังกล่าวรวมถึงจํานวนที่จะจัดสรรไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวน เพื่อประโยชน์ตามความในวรรคสอง ให้นําบทนิยามคําว่า “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่”“ผู้มีอํานาจควบคุม” “บริษัทใหญ่” “บริษัทย่อย” และ “ผู้ที่เกี่ยวข้อง” ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานมาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ 32/29 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงแก่ผู้ได้รับอนุญาตว่าบุคคลใดตามข้อ 32/28ถือโทเคนดิจิทัลไม่เป็นไปตามอัตราหรือหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ ให้ผู้ได้รับอนุญาตดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) แจ้งให้บุคคลดังกล่าวทราบโดยไม่ชักช้าถึงข้อจํากัดสิทธิเกี่ยวกับการออกเสียงลงคะแนนและการรับผลประโยชน์ตอบแทนตามที่กําหนดไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน (2) รายงานต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 5 วันทําการนับแต่วันที่ผู้ได้รับอนุญาตรู้หรือควรรู้ถึงเหตุดังกล่าว ข้อ 32/30 ผู้ได้รับอนุญาตต้องดําเนินการที่จําเป็นเพื่อให้มั่นใจได้ว่าการถือโทเคนดิจิทัลของบุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใดเป็นไปตามอัตราและหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ทั้งนี้ การดําเนินการที่จําเป็นให้หมายความรวมถึงการจัดให้มีระบบงานที่สามารถควบคุมการถือโทเคนดิจิทัลด้วย ส่วนที่ 5 การดําเนินการของผู้ได้รับอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 32/31 ในการดูแลจัดการทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ผู้ได้รับอนุญาตต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ด้วย (1) ดําเนินการหรือดูแลให้มีการดําเนินการตามกลไกเพื่อกํากับดูแลการลงทุนและตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องของผลตอบแทน รวมทั้งทบทวนและปรับปรุงให้กลไกดังกล่าวมีความเหมาะสมอยู่เสมอ (2) จัดให้มีมาตรการเพื่อให้ผู้เช่า ผู้รับสิทธิ หรือผู้รับดําเนินการในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน รายงานข้อเท็จจริงพร้อมทั้งเหตุผลต่อผู้ได้รับอนุญาตโดยไม่ชักช้า เมื่อมีเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันอาจมีผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (3) ในกรณีที่พบความผิดพลาดหรือข้อบกพร่องที่อาจส่งผลกระทบต่อมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานหรือผลตอบแทนที่กองทรัสต์ได้รับหรือพึงได้รับ ต้องปรับปรุงแก้ไขหรือดําเนินการให้มีการปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาดหรือข้อบกพร่องดังกล่าวโดยไม่ชักช้า ข้อ 32/32 ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดให้มีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อ 32/18 ทุก 3 ปีนับแต่วันที่มีการประเมินมูลค่าครั้งล่าสุด ภาค 3การยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด 1 ข้อกําหนดทั่วไปและวิธีการยื่น \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 33 การเสนอขายโทเคนดิจิทัลจะกระทําได้ต่อเมื่อผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ตามภาค 2 และได้ยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนต่อสํานักงาน ก.ล.ต. และแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลดังกล่าวมีผลใช้บังคับแล้ว ข้อ 34 ในกรณีที่ระยะเวลาการเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามที่กําหนดในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลสิ้นสุดลงแล้ว หากผู้ออกโทเคนดิจิทัลประสงค์จะเสนอขายโทเคนดิจิทัลส่วนที่เหลือจากการเสนอขายครั้งก่อน ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนฉบับใหม่โดยวิธีการตามที่กําหนดในข้อ 35 ข้อ 35 ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน ตามแบบที่กําหนดไว้ในหมวด 2 ของภาคนี้ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ตามแนวทางและวิธีการที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. หมวด 2แบบและข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 36 แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ให้แบ่งออกเป็น 6 ส่วน ดังนี้ โดยมีรายละเอียดของข้อมูลตามข้อ 37 (1) ส่วนสรุปข้อมูลสําคัญ (factsheet) ซึ่งสรุปสาระสําคัญของโทเคนดิจิทัลรวมทั้งลักษณะพิเศษและความเสี่ยงที่สําคัญของโทเคนดิจิทัล และสรุปสาระสําคัญของผู้ออกโทเคนดิจิทัลโดยย่อ เพื่อให้เข้าใจภาพรวมของโทเคนดิจิทัลและผู้ออกโทเคนดิจิทัล (2) ส่วนข้อมูลผู้ออกโทเคนดิจิทัลและวัตถุประสงค์การใช้เงิน โดยข้อมูลเกี่ยวกับผู้ออกโทเคนดิจิทัลที่ระบุในส่วนนี้ ให้รวมถึงรายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร และผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ออกโทเคนดิจิทัลด้วย (3) ส่วนข้อมูลแผนธุรกิจ ซึ่งแสดงสาระสําคัญตามที่กําหนดในข้อ 19(2) โดยอนุโลม (4)( ส่วนข้อมูลเกี่ยวกับโทเคนดิจิทัล ซึ่งแสดงสาระสําคัญของโทเคนดิจิทัลสัญญาอัจฉริยะ (smart contract) ลักษณะพิเศษและความเสี่ยงที่สําคัญ การออกเสียงลงคะแนนและการจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือโทเคนดิจิทัล รวมทั้งข้อจํากัดเกี่ยวกับการออกเสียงลงคะแนนและการรับผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าว (ถ้ามี) (5) ส่วนข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล (6) ส่วนการรับรองความถูกต้องของข้อมูล ซึ่งเป็นไปตามหมวด 3 ข้อ 37 ข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ต้องมีรายละเอียดที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ไม่มีข้อมูลที่เป็นเท็จ หรือที่อาจทําให้สําคัญผิด และไม่ขาดข้อความที่ควรต้องแจ้งในสาระสําคัญ (2) งบการเงินและงบการเงินรวมของผู้ออกโทเคนดิจิทัลที่เปิดเผยในแบบแสดงรายการข้อมูลและร่างหนังสือชี้ชวน (ถ้ามี) ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในหมวด 1ของภาค 4 โดยอนุโลม (3) ในกรณีเป็นการเสนอขายโทเคนดิจิทัลพร้อมกันหรือในระยะเวลาใกล้เคียงกันในประเทศอื่นด้วย ต้องมีรายละเอียดข้อมูลในส่วนที่เกี่ยวข้องที่พึงเปิดเผยต่อผู้ลงทุนไม่น้อยกว่าที่เปิดเผยในประเทศอื่น (3/1)( รายละเอียดของกลไกอื่นที่นํามาใช้ทดแทนสัญญาอัจฉริยะ (smart contract)ตามข้อ 19(3) วรรคสอง (ถ้ามี) (3/2)( รายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน (ถ้ามี) (3/3)( รายละเอียดของการประกันผลตอบแทนหรือผลประโยชน์อื่น (ถ้ามี) (4) มีข้อมูลตามรายการที่กําหนดในมาตรา 69(1) ถึง (10) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยอนุโลม (5) ข้อมูลที่จําเป็นต่อการตัดสินใจลงทุนตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ข้อ 38 แบบของร่างหนังสือชี้ชวนที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ให้อนุโลมใช้ตามแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีหน้าที่ยื่นตามข้อ 36 และข้อ 37 และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ด้วย (1) ร่างหนังสือชี้ชวนที่ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. อย่างน้อยต้องมีร่างที่จัดทําเป็นภาษาไทย (2) รายการในร่างหนังสือชี้ชวนที่ตรงกับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล ต้องมีสาระสําคัญของข้อมูลไม่ต่างกัน (3) ต้องมีคําเตือนที่ระบุไว้ให้เห็นอย่างชัดเจนว่า “การลงทุนในโทเคนดิจิทัลมีความเสี่ยงสูง ผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับเงินหรือคริปโทเคอร์เรนซีที่ลงทุนกลับคืน ดังนั้น ก่อนลงทุนผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัล และประเมินความเสี่ยงจากการลงทุนด้วยความระมัดระวัง รวมทั้งควรตระหนักถึงข้อจํากัดในการเปลี่ยนมือของโทเคนดิจิทัลด้วย สิ่งสําคัญ คือ ไม่ควรลงทุนด้วยเงินหรือคริปโทเคอร์เรนซีทั้งหมดที่มีอยู่ ทั้งนี้ การเผยแพร่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลไม่ได้เป็นการแสดงว่า สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แนะนําให้ลงทุน หรือประกันราคาหรือผลตอบแทนของโทเคนดิจิทัลที่เสนอขาย หรือรับรองความสําเร็จของโครงการ” ข้อ 39 ก่อนปิดการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ได้รับอนุญาต หากผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้เปิดเผยข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสําคัญที่มิได้แสดงอยู่ในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและหนังสือชี้ชวนให้แก่บุคคลใดเป็นการเฉพาะรายเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ความเหมาะสมของการลงทุนในโทเคนดิจิทัลที่เสนอขาย หรือการตัดสินใจลงทุนในโทเคนดิจิทัลที่เสนอขาย ผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องดําเนินการให้มีการเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าวในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและหนังสือชี้ชวนโดยพลัน ทั้งนี้ ต้องไม่ช้ากว่าวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีผลใช้บังคับ หรือในกรณีที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีผลใช้บังคับแล้วต้องไม่ช้ากว่าวันทําการถัดจากวันที่ได้เปิดเผยข้อเท็จจริงต่อบุคคลใดนั้น หมวด 3การรับรองข้อมูล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 40 การลงลายมือชื่อเพื่อรับรองความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมิใช่บริษัทจดทะเบียน ให้กรรมการทุกคนผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุด และผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ลงลายมือชื่อ (2) กรณีที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลเป็นบริษัทจดทะเบียน ให้กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน หรือผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดที่ได้รับมอบอํานาจจากกรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน ลงลายมือชื่อ ทั้งนี้ ในกรณีที่กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันมิใช่ผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุด หรือผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี การลงลายมือชื่อดังกล่าวต้องมีผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดหรือผู้ที่ดํารงตําแหน่งบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ลงลายมือชื่อด้วย ข้อ 41 ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นและสมควรทําให้บุคคลที่ต้องลงนามเพื่อนิติบุคคลตามที่กําหนดในข้อ 40 ไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ ให้นิติบุคคลดังกล่าวปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ก.ล.ต. (1) หากเหตุที่ทําให้บุคคลดังกล่าวคนใดไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ เกิดจากการที่บุคคลดังกล่าวอยู่ในภาวะไม่สามารถรู้ผิดชอบหรือไม่สามารถบังคับตนเองได้ เนื่องจากเจ็บป่วยทางร่างกายหรือทางจิต ผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่จําต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายการข้อมูล (2) หากเหตุที่ทําให้บุคคลดังกล่าวคนใดไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ เกิดจากกรณีอื่นนอกจากที่ระบุใน (1) เมื่อเหตุดังกล่าวหมดสิ้นไป ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจัดให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อทันที เพื่อให้แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลมีผลใช้บังคับได้ตามข้อ 42 หมวด 4วันมีผลใช้บังคับของแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 42 ให้แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนมีผลใช้บังคับเมื่อได้ดําเนินการตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้แล้ว (1) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องได้รับอนุญาตตามภาค 2 (2) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้ชําระค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามภาค 5 (3) เมื่อพ้น 5 วันนับแต่วันที่สํานักงาน ก.ล.ต. ได้รับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่แก้ไขเพิ่มเติมครั้งหลังสุด (ไม่รวมข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามข้อ 36(5) หรือข้อมูลอื่นที่มิใช่ข้อมูลสําคัญซึ่งสํานักงาน ก.ล.ต. ผ่อนผันให้แก้ไขเพิ่มเติมได้) (4) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้ระบุข้อมูลตามรายการครบถ้วนแล้ว ภาค 4การเปิดเผยข้อมูลของผู้ออกโทเคนดิจิทัล\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_หมวด 1การเปิดเผยข้อมูลอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของผู้ออกโทเคนดิจิทัล\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วนที่ 1วันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดหน้าที่\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 43 ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลตามประกาศนี้มีหน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานตามประเภทข้อมูลที่กําหนดในหมวดนี้ เมื่อแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวนที่ยื่นตามหมวด 2 มีผลใช้บังคับ เว้นแต่มีเหตุที่ทําให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลสิ้นสุดหน้าที่ตามที่กําหนดในข้อ 44 ข้อ 44 ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลสิ้นสุดหน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของผู้ออกโทเคนดิจิทัลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เมื่อเกิดกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลไม่ได้ขายโทเคนดิจิทัลภายในระยะเวลาที่สํานักงาน ก.ล.ต. อนุญาตให้เสนอขายโทเคนดิจิทัล หรือผู้ออกโทเคนดิจิทัลยกเลิกการเสนอขายโทเคนดิจิทัลตามเงื่อนไขที่ระบุไว้แล้วอย่างชัดเจน (2) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลได้ชําระหนี้ตามโทเคนดิจิทัล (ถ้ามี) จนครบถ้วนแล้ว (3) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีการชําระบัญชีเพื่อเลิกกิจการ (4) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด (5) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลเป็นสถาบันการเงินที่ถูกระงับการดําเนินกิจการตามคําสั่งของเจ้าพนักงานหรือหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ตามกฎหมาย (6) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลเพื่อการใช้ประโยชน์แสดงได้ว่าโครงการตามแผนธุรกิจที่ได้นําเสนอไว้ในการเสนอขายครั้งแรก ดําเนินการแล้วเสร็จและเปิดให้ผู้ถือโทเคนดิจิทัลสามารถใช้สิทธิในการได้มาซึ่งสินค้า บริการ หรือสิทธิอื่นใดได้แล้ว ข้อ 45 ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลแจ้งเหตุที่ทําให้สิ้นสุดหน้าที่การจัดทําและส่งรายงานตามข้อ 44 ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ก่อนถึงกําหนดเวลาส่งรายงานดังกล่าว ส่วนที่ 2ประเภทและรายละเอียดข้อมูล\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 46( ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจัดทํารายงานที่แสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินดังต่อไปนี้ (1)( ในกรณีที่ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีหน้าที่จัดทําและส่งรายงานที่แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานจากการออกหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลดังกล่าวจัดทําและส่งรายงานที่แสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เช่นเดียวกับที่มีหน้าที่ตามกฎหมายดังกล่าว และให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมใน (2) (ค) (ง) และ (จ) ข้อ 47 ข้อ 48 ข้อ 49 ข้อ 50 และข้อ 51 ด้วย (2) ในกรณีอื่นนอกจาก (1) ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลจัดทําและส่งข้อมูลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ดังนี้ (ก) งบการเงินประจํารอบปีบัญชีที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้วซึ่งเป็นไปตามข้อ 47 ข้อ 48 และข้อ 49 และเอกสารที่ต้องจัดส่งพร้อมกับงบการเงินตามข้อ 50ทั้งนี้ ภายใน 2 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี (ข) แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ซึ่งต้องมีข้อมูลสอดคล้องกับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่ยื่นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. โดยข้อมูลดังกล่าวต้องปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันและมีข้อมูลเพิ่มเติมตามข้อ 51 ทั้งนี้ ภายใน 3 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี (ค) รายงานการใช้เงินและความคืบหน้าของโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัลทุกรอบระยะเวลา 6 เดือนของปีบัญชีตามแนวทางที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาดังกล่าว (ง)( รายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินและรายงานสอบทานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่มีการจัดทําล่าสุด เฉพาะกรณีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ และการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งนี้ ภายใน 30 วันนับแต่วันที่การประเมินหรือการสอบทานแล้วเสร็จ (จ) รายงานการวิเคราะห์และคําอธิบายระหว่างกาลของฝ่ายจัดการ (Interim Management Discussion and Analysis) เฉพาะกรณีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลที่อ้างอิงหรือมีกระแสรายรับจากอสังหาริมทรัพย์ เมื่อปรากฏว่ารายได้หรือกําไรสุทธิตามงบการเงินงวดใดมีความแตกต่างจากงบการเงินในงวดเดียวกันของปีก่อนเกินกว่าร้อยละ 20 โดยอย่างน้อยให้แสดงถึงสาเหตุและปัจจัยสําคัญที่ทําให้เกิดความแตกต่าง รวมทั้งผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยดังกล่าว และส่งต่อสํานักงาน ก.ล.ต. พร้อมกับการจัดส่งงบการเงิน ข้อมูลตามวรรคหนึ่ง นอกจากการจัดทําและส่งข้อมูลดังกล่าวต่อสํานักงาน ก.ล.ต. แล้ว ให้เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวให้ผู้ถือโทเคนดิจิทัลทราบผ่านช่องทางที่เหมาะสม ข้อ 47 งบการเงินประจํารอบปีบัญชี และงบการเงินรายไตรมาส (ถ้ามี) ของผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีที่สํานักงาน ก.ล.ต. ให้ความเห็นชอบให้สามารถตรวจสอบหรือสอบทานงบการเงินของผู้ออกโทเคนดิจิทัล (ในกรณีที่เป็นงบการเงินประจํารอบปีบัญชี และงบการเงินรายไตรมาส (ถ้ามี)ของผู้ออกโทเคนดิจิทัลที่มีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อผู้ลงทุนตามข้อ 17(3) (ข) รายงานของผู้สอบบัญชีตามวรรคหนึ่งต้องไม่มีความหมายในลักษณะดังต่อไปนี้ (1) การจัดทําและเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินไม่เป็นไปตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินที่ต้องใช้ในการจัดทํางบการเงินนั้น (2) ผู้สอบบัญชีถูกจํากัดขอบเขตการตรวจสอบหรือสอบทาน แล้วแต่กรณี โดยการกระทําหรือไม่กระทําของผู้ออกโทเคนดิจิทัล หรือของกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ออกโทเคนดิจิทัล ข้อ 48 การจัดทําและเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินของผู้ออกโทเคนดิจิทัลต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ (1) เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยสําหรับกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (2) ในกรณีที่มาตรฐานการรายงานทางการเงินตาม (1) ไม่ครอบคลุมถึงการจัดทําหรือการเปิดเผยข้อมูลในเรื่องใด ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลระบุในหมายเหตุประกอบงบการเงินเกี่ยวกับรายการนโยบายบัญชีที่ใช้ปฏิบัติสําหรับการบันทึกบัญชีรายการนั้น และคําอธิบายว่านโยบายบัญชีดังกล่าวเป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินใด ข้อ 49 หมายเหตุประกอบงบการเงินของผู้ออกโทเคนดิจิทัลตามข้อ 46 ต้องแสดงงบการเงินของโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัลด้วย ในกรณีที่มีการเสนอขายโทเคนดิจิทัลหลายชนิด ให้แสดงงบการเงินตามวรรคหนึ่งโดยแยกตามชนิดของโทเคนดิจิทัล ข้อ 50( ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลส่งหนังสือรับรองงบการเงินต่อสํานักงาน ก.ล.ต.พร้อมกับการจัดส่งงบการเงิน ทั้งนี้ ให้อนุโลมใช้ตามแบบ 56-3 ท้ายประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ ข้อ 51 แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปีของผู้ออกโทเคนดิจิทัลตามข้อ 46ต้องมีข้อมูลสรุปการใช้เงินและความคืบหน้าของโครงการหรือกิจการตามแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัลด้วย ทั้งนี้ ให้นําความในวรรคสองของข้อ 49 มาใช้บังคับ โดยอนุโลม หมวด 2การรายงานเหตุการณ์สําคัญ\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 52 ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลรายงานพร้อมด้วยเหตุผลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน3 วันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีการฟื้นฟูกิจการ (2) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลประสบความเสียหายอย่างร้ายแรง (3) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลหยุดประกอบกิจการทั้งหมดหรือบางส่วน (4) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์หรือลักษณะการประกอบธุรกิจ (5) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลทําสัญญาให้บุคคลอื่นมีอํานาจทั้งหมดหรือบางส่วนในการบริหารงานของบริษัท (6) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลกระทําหรือถูกกระทําอันมีลักษณะเป็นการครอบงําหรือถูกครอบงํากิจการตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (7) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลผิดข้อตกลงในการชําระหนี้ตามโทเคนดิจิทัล (8) ผู้ออกโทเคนดิจิทัลมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อตกลงใด ๆ ที่เกี่ยวกับโทเคนดิจิทัลในสาระสําคัญ (9) เหตุการณ์ที่ทําให้หรืออาจทําให้ต้องยกเลิกโทเคนดิจิทัล หรือเลิกโครงการ กิจการ หรือแผนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับโทเคนดิจิทัล ข้อ 53 การรายงานตามข้อ 52 ให้แสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้ (1) ข้อมูลเกี่ยวกับโทเคนดิจิทัล เช่น ชื่อผู้ออกโทเคนดิจิทัล ชื่อและประเภทของโทเคนดิจิทัล วัน เดือน ปี ที่เสนอขายโทเคนดิจิทัล จํานวนโทเคนดิจิทัลที่เสนอขายทั้งหมด และจํานวนโทเคนดิจิทัลที่ยังเหลืออยู่ (2) รายละเอียดของเหตุการณ์ตามข้อ 52 เช่น วันที่เกิดเหตุการณ์ และเหตุที่ทําให้เกิดเหตุการณ์ เป็นต้น ภาค 5ค่าธรรมเนียม\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 54 ให้ผู้ออกโทเคนดิจิทัลชําระค่าธรรมเนียมดังต่อไปนี้ ตามอัตราที่กําหนดไว้สําหรับการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ตามประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยอนุโลม (1) ค่าธรรมเนียมการยื่นคําขออนุญาตเสนอขายโทเคนดิจิทัล (2) ค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายโทเคนดิจิทัลและร่างหนังสือชี้ชวน (3) ค่าธรรมเนียมการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี ประกาศ ณ วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 (นายวรวิทย์ จําปีรัตน์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
654
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กลธ. 18/2561 เรื่อง การกำหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 18/2561 เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและ ผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10(1) มาตรา 28 และมาตรา 30 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ในประกาศนี้ และรวมถึงตารางแนบท้ายที่กําหนดตามประกาศนี้ “ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล” หมายความว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลายประเภทดังต่อไปนี้ (1) การเป็นศูนย์ซื้อขายคริปโทเคอร์เรนซี (2) การเป็นศูนย์ซื้อขายโทเคนดิจิทัล (3) การเป็นนายหน้าซื้อขายคริปโทเคอร์เรนซี (4) การเป็นนายหน้าซื้อขายโทเคนดิจิทัล (5) การเป็นผู้ค้าคริปโทเคอร์เรนซี (6) การเป็นผู้ค้าโทเคนดิจิทัล “ผู้ออกโทเคนดิจิทัล” หมายความว่า ผู้ออกโทเคนดิจิทัลตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน “ผู้ลงทุน” หมายความว่า ผู้ที่สนใจจะลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล “ลูกค้า” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล “ผู้จัดการ” หมายความว่า บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานของบริษัท “ผู้อํานวยการฝ่าย” หมายความว่า บุคคลซึ่งรับผิดชอบงานในระดับส่วนงานภายในบริษัท “สถาบันการเงิน” หมายความว่า (1) ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ (2) ธุรกิจหลักทรัพย์ (3) ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (4) ธุรกิจประกันภัย (5) ธุรกิจสถาบันการเงินของรัฐที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น ข้อ ๓ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดแนวทาง (guideline) การปฏิบัติในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้ เพื่อเป็นการให้แนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเหมาะสมและสอดคล้องตามประกาศนี้ และหากผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลได้ปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้แล้ว หมวด ๑ การแต่งตั้งกรรมการหรือผู้บริหารของ ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔ ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องแต่งตั้งกรรมการหรือผู้บริหารที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ และได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศนี้ (1) เป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตามตารางคุณสมบัติของกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่แนบท้ายประกาศนี้ (2) เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ใน หมวด 2 และหมวด 3 ข้อ ๕ ผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลตามข้อ 4 ได้แก่ ผู้จัดการ รองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อํานวยการฝ่าย หรือผู้ดํารงตําแหน่งเทียบเท่าตําแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ที่ทําหน้าที่ต่อไปนี้ (1) รับผิดชอบงานเกี่ยวกับการบริหาร กําหนด ควบคุมและกํากับดูแลนโยบายของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (2) รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับการติดต่อและให้บริการลูกค้า (3) รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับการจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับการคัดเลือกสินทรัพย์ดิจิทัลที่จะนํามาให้บริการ หมวด ๒ ลักษณะต้องห้ามของกรรมการหรือผู้บริหาร ของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๖ กรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (1) เป็นหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลาย (2) เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ที่กระทําโดยทุจริต (3) เคยเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอํานาจในการจัดการของสถาบันการเงินที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. (4) เป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอํานาจในการจัดการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลอื่น เว้นแต่จะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่คณะกรรมการ ก.ล.ต.กําหนด (5) เคยถูกถอดถอนจากการเป็นประธานกรรมการ กรรมการ หรือผู้จัดการ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น (6) เป็นข้าราชการการเมือง (7) เป็นข้าราชการซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พนักงานของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือสํานักงาน ก.ล.ต. เว้นแต่ (ก) เป็นกรณีที่ได้รับการแต่งตั้งโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. เพื่อเข้าไปช่วยเหลือในการดําเนินงานของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ข) เป็นกรณีของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หมวด ๓ การมีลักษณะต้องห้ามอื่นของกรรมการหรือผู้บริหาร ของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๗ กรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามอื่นดังต่อไปนี้ด้วย (1) มีความบกพร่องในด้านความสามารถตามกฎหมาย หรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับการกํากับธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล หรือมีลักษณะขาดความน่าไว้วางใจตามที่กําหนดไว้ในข้อ 8 เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 1 (2) มีประวัติการถูกลงโทษหรือถูกดําเนินการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริตเกี่ยวกับทรัพย์สินตามที่กําหนดไว้ในข้อ 9 เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 2 (3) มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติต่อลูกค้า ผู้ลงทุน บริษัทหรือผู้ถือหุ้นโดยรวม หรือตลาดเงิน ตลาดทุนหรือตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลโดยรวม ในเรื่องที่มีนัยสําคัญตามที่กําหนดไว้ในข้อ 10 เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ข้อ ๘ ให้กรณีดังต่อไปนี้เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 1 (1) เป็นบุคคลที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ (2) เป็นคนไร้ความสามารถ หรือเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ (3) เป็นบุคคลที่อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษโดยสํานักงาน ก.ล.ต. หรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินคดีอันเนื่องจากกรณีที่สํานักงาน ก.ล.ต. กล่าวโทษ หรือศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกในความผิดตามมาตรา 66 ประกอบกับมาตรา 26 (เฉพาะที่มีลักษณะเข้าข่ายเป็นการฉ้อโกงประชาชน) หรือมาตรา 82 ถึงมาตรา 91 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 (4) เป็นบุคคลที่สํานักงาน ก.ล.ต. ปฏิเสธหรือถอนการแสดงรายชื่อของบุคคลในระบบข้อมูลรายชื่อกรรมการและผู้บริหารของบริษัทที่ออกสินทรัพย์ดิจิทัลเนื่องจากเป็นผู้ที่มีลักษณะขาดความน่าไว้วางใจให้เป็นกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารบริษัท (5) เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 103(1) ถึง (7) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (6) เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 1 ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน ข้อ ๙ ให้กรณีดังต่อไปนี้เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 2 (1) เป็นบุคคลที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกในความผิดอาญาแผ่นดินเกี่ยวกับการบริหารงานที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริตเกี่ยวกับทรัพย์สิน โดยศาลมีคําพิพากษาให้รอการลงโทษ และพ้นจากการรอการลงโทษมาแล้วไม่ถึง 3 ปี (2) เป็นบุคคลที่ศาลมีคําสั่งถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินตามกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือกฎหมายอื่นในลักษณะเดียวกัน และยังไม่พ้น 3 ปีนับแต่วันที่ศาลมีคําสั่งให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน (3) เป็นบุคคลที่ไม่สามารถดํารงตําแหน่งเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของสถาบันการเงิน เนื่องจากมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายเกี่ยวกับการกํากับดูแลสถาบันการเงินไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ และอยู่ระหว่างเวลาที่ยังไม่สามารถกลับมาดํารงตําแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวได้อีก ทั้งนี้ เฉพาะลักษณะต้องห้ามที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งดังต่อไปนี้ (ก) การทุจริตต่อหน้าที่ หรือทุจริต หลอกลวง หรือฉ้อโกงเกี่ยวกับทรัพย์สิน (ข) การบริหารงานที่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายหรือไม่เป็นไปตามคําสั่งของหน่วยงานกํากับดูแล หรือบริหารงานหรือจัดการงานที่ไม่เหมาะสม (ค) การกระทําที่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย หรือการกระทําที่ไม่เป็นธรรมหรือเป็นการเอาเปรียบ (4) เป็นบุคคลที่อยู่ระหว่างถูกดําเนินการอันเป็นผลให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลในลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) ถูกคณะกรรมการพิจารณามาตรการลงโทษทางแพ่งกําหนดมาตรการลงโทษทางแพ่ง หรือศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งกําหนดมาตรการลงโทษทางแพ่งห้ามเป็นกรรมการหรือผู้บริหารในผู้ออกโทเคนดิจิทัลหรือผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล หรือถูกสํานักงาน ก.ล.ต.สั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบ หรือมีลักษณะที่ทําให้การให้ความเห็นชอบสิ้นสุด หรือถูกดําเนินการอื่นในทํานองเดียวกัน อันเป็นผลให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการหรือผู้บริหารในผู้ออกโทเคนดิจิทัลหรือผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ข) การดําเนินการตาม (ก) สืบเนื่องมาจากการปฏิบัติงานในตําแหน่งที่มีผลกระทบถึงความเหมาะสมในการปฏิบัติงานในตําแหน่งที่พิจารณา (ค) เหตุของการดําเนินการตาม (ก) เป็นเรื่องการกระทําความผิดตามพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 และประกาศที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว ในมูลเหตุเนื่องจากการบริหารงานที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง ทุจริตเกี่ยวกับทรัพย์สิน หรือขาดความระมัดระวัง ขาดความซื่อสัตย์สุจริต (5) เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 2 ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน ข้อ ๑๐ ให้กรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีพฤติกรรมดังต่อไปนี้เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 (1) มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีหรือเคยมีพฤติกรรมประพฤติผิดต่อหน้าที่หรือการให้บริการด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและเป็นธรรม ขาดความรับผิดชอบและความรอบคอบ เอาเปรียบผู้ลงทุน หรือขาดจรรยาบรรณหรือมาตรฐานในการปฏิบัติงานเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพซึ่งกําหนดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. สมาคม หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุนหรือตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลที่สํานักงาน ก.ล.ต. ยอมรับ หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทําดังกล่าวของบุคคลอื่น (2) มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีหรือเคยมีพฤติกรรมที่เป็นการละเลยการตรวจสอบดูแลตามสมควรเพื่อป้องกันมิให้นิติบุคคลหรือกิจการที่ตนมีอํานาจในการจัดการ หรือผู้ปฏิบัติงานซึ่งอยู่ภายใต้การตรวจสอบดูแล (ถ้ามี) กระทําการใดหรืองดเว้นกระทําการใดอันเป็นการฝ่าฝืนหรือขัดต่อพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 หรือประกาศที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว อันอาจก่อให้เกิดความไม่เชื่อมั่นในธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลโดยรวม หรือความเสียหายต่อชื่อเสียง ฐานะ การดําเนินธุรกิจ หรือลูกค้าของธุรกิจนั้น (3) มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีหรือเคยมีพฤติกรรมอันส่อไปในทางไม่สุจริตที่ส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือในการเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างมีนัยสําคัญหรือมีหรือเคยมีส่วนร่วม หรือสนับสนุนการกระทําดังกล่าวของบุคคลอื่น เช่น การแสวงหาหรือเบียดบังผลประโยชน์ใดโดยมิชอบเพื่อตนเอง ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล หรือบุคคลอื่น โดยอาศัยตําแหน่งหน้าที่ที่ตนดํารงอยู่ เป็นต้น (4) เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน หมวด ๔ การขอรับความเห็นชอบและการให้ความเห็นชอบ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๑ การขอรับความเห็นชอบ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๑ ในการยื่นคําขอรับความเห็นชอบเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลให้เป็นไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการให้ความเห็นชอบเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ส่วน ๒ การให้ความเห็นชอบสิ้นสุดลง \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๒ การให้ความเห็นชอบสิ้นสุดลง \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๒ การให้ความเห็นชอบกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลสิ้นสุดลงเมื่อบุคคลนั้นมีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดไว้ในหมวด 7 หมวด ๕ หน้าที่ของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๓ ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลรายงานการแต่งตั้งและการสิ้นสุด การแต่งตั้งกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ผ่านระบที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 7 วันทําการนับแต่วันที่เกิดกรณีดังกล่าว หมวด ๖ หน้าที่ของกรรมการหรือผู้บริหารของ ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๔ กรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ปฏิบัติหน้าที่หรือให้บริการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต (2) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ และปฏิบัติต่อลูกค้าทุกรายอย่างเป็นธรรม ด้วยความเอาใจใส่ ระมัดระวัง รอบคอบ โดยคํานึงถึงประโยชน์ของลูกค้าเป็นสําคัญ (3) ปฏิบัติหน้าที่หรือดูแลให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 และประกาศที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว ในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตน (4) ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามจรรยาบรรณและมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพที่กําหนดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. สมาคม หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจตลาดทุนที่สํานักงาน ก.ล.ต. ยอมรับ ข้อ ๑๕ ในกรณีที่กรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อ 14 ให้สํานักงาน ก.ล.ต. พิจารณาและดําเนินการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการมีลักษณะต้องห้ามในกลุ่มที่ 3 ตามหมวด 7 หมวด ๗ ผลของการมีลักษณะต้องห้าม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๑ ข้อกําหนดทั่วไปในการพิจารณาลักษณะต้องห้าม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๖ ในกรณีที่กรรมการหรือผู้บริหารที่ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์สินทรัพย์ดิจิทัลได้ยื่นคําขอรับความเห็นชอบเป็นผู้มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดในประกาศนี้ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ใช้เหตุแห่งการมีลักษณะต้องห้ามดังกล่าวในการปฏิเสธการให้ความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวได้ ข้อ ๑๖ ในกรณีที่กรรมการหรือผู้บริหารที่ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์สินทรัพย์ดิจิทัลได้ยื่นคําขอรับความเห็นชอบเป็นผู้มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดในประกาศนี้ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ใช้เหตุแห่งการมีลักษณะต้องห้ามดังกล่าวในการปฏิเสธการให้ความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวได้ ข้อ ๑๗ ในกรณีที่ผู้มีลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลซึ่งได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) กรณีเป็นลักษณะต้องห้ามตามข้อ 4(1) ให้การให้ความเห็นชอบสิ้นสุดลง (2) กรณีเป็นลักษณะต้องห้ามตามหมวด 2 หมวด 3 ลักษณะต้องห้ามตามกลุ่มที่ 1 ตามข้อ 8 หรือลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 2 ตามข้อ 9(1) หรือ (2) ให้สํานักงาน ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบ (3) กรณีเป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 2 ตามข้อ 9(3) (4) หรือ (5) ให้สํานักงาน ก.ล.ต.สั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบตามแต่เหตุแห่งการมีลักษณะต้องห้ามนั้น (4) กรณีเป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามข้อ 10 สํานักงาน ก.ล.ต. อาจสั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบตามสมควรแก่กรณี ข้อ ๑๘ ในการใช้ดุลยพินิจปฏิเสธการให้ความเห็นชอบตามข้อ 16 พักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบตามข้อ 17(3) และ (4) แล้วแต่กรณี ให้สํานักงาน ก.ล.ต. มีอํานาจดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้แทนหรือประกอบการดําเนินการดังกล่าวได้ (1) กําหนดระยะเวลาหรือเงื่อนไขในการรับพิจารณาคําขอความเห็นชอบหรือห้ามการปฏิบัติหน้าที่ของบุคคลดังกล่าวในคราวต่อไป โดยระยะเวลาที่กําหนดต้องไม่เกิน 10 ปี สําหรับการพิจารณาการมีลักษณะต้องห้ามในแต่ละกรณี (2) กําหนดระยะเวลาการสั่งพักการให้ความเห็นชอบ ซึ่งเมื่อพ้นระยะเวลาดังกล่าวแล้วให้บุคคลดังกล่าวสามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลในตําแหน่งเดิมต่อไปได้โดยไม่ต้องยื่นคําขอความเห็นชอบ (3) ในกรณีพฤติกรรมที่อาจเข้าข่ายเป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามข้อ 10 มีลักษณะไม่ร้ายแรง หรือเกิดขึ้นมาแล้วเกินกว่า 10 ปีนับถึงวันที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงาน ก.ล.ต. สํานักงาน ก.ล.ต. อาจไม่ยกกรณีดังกล่าวขึ้นพิจารณาเป็นเหตุในการปฏิเสธการให้ความเห็นชอบ การพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบหรือห้ามการปฏิบัติหน้าที่ หรืออาจลดระดับการดําเนินการเป็นการเปิดเผยพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมดังกล่าวก็ได้ ส่วน ๒ การพิจารณาลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๙ ในการพิจารณาความร้ายแรงของพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อการมีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามข้อ 10 หรือการพิจารณาดําเนินการตามข้อ 16 ให้สํานักงาน ก.ล.ต. นําปัจจัยดังต่อไปนี้ มาใช้ประกอบการพิจารณา (1) บทบาทความเกี่ยวข้องและพฤติกรรมของบุคคลที่ถูกพิจารณา (2) การลงโทษที่บุคคลนั้นได้รับไปแล้ว (3) ผลกระทบหรือความเสียหายต่อลูกค้า ผู้ลงทุน บริษัท หรือผู้ถือหุ้นโดยรวม ตลาดเงิน ตลาดทุน หรือตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลโดยรวม หรือผลประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องกับข้อเท็จจริงหรือพฤติกรรมที่พิจารณา (4) การแก้ไขหรือการดําเนินการอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อลูกค้า ผู้ลงทุน บริษัท หรือผู้ถือหุ้นโดยรวม ตลาดเงิน ตลาดทุน หรือตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลโดยรวม หรือแก้ไข เยียวยา หรือป้องกันมิให้เกิดข้อเท็จจริงหรือพฤติกรรมทํานองเดียวกันนั้นซ้ําอีก (5) พฤติกรรมอื่นของผู้ถูกพิจารณาที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานหรือขัดขวางการปฏิบัติงานของสํานักงาน ก.ล.ต. (6) ประวัติหรือพฤติกรรมในอดีตอื่นใดที่แสดงถึงความไม่เหมาะสมที่จะเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ข้อ ๒๐ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ล.ต. แต่งตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งเพื่อทําหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน รวมทั้งเสนอความเห็นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เกี่ยวกับการพิจารณาเหตุของการพักหรือเพิกถอน การให้ความเห็นชอบกรรมการหรือผู้บริหารที่มีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามข้อ 10 หรือพิจารณาให้ความเห็นต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ในเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามความในหมวดนี้ หรือพิจารณาวางแนวทางและให้ความเห็นต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ในการดําเนินการ ให้คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากตลาดเงิน ตลาดทุนหรือตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลจํานวนไม่เกิน 5 คนซึ่งไม่เป็นเลขาธิการหรือพนักงานของสํานักงาน ก.ล.ต. โดยจํานวนนี้อย่างน้อยต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นผู้แทนของผู้ลงทุนจํานวน 1 คน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หลักทรัพย์ หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้าจํานวน 2 คน ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการและให้สํานักงาน ก.ล.ต. แต่งตั้งพนักงานของสํานักงาน ก.ล.ต. คนหนึ่งเป็นเลขานุการ กรรมการรายใดมีส่วนได้เสียในเรื่องที่พิจารณาในลักษณะที่อาจมีผลกระทบต่อการให้ความเห็นอย่างเป็นกลาง ให้ผู้นั้นแจ้งการมีส่วนได้เสียนั้นและห้ามมิให้เข้าร่วมพิจารณาในเรื่องดังกล่าว ข้อ ๒๑ เพื่อให้การใช้ดุลยพินิจสั่งการของสํานักงาน ก.ล.ต. ตามหมวดนี้มีความชัดเจนและผ่านกระบวนการทบทวนตามสมควร ในการแจ้งเหตุในการสั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบเนื่องจากการมีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามข้อ 10 สํานักงาน ก.ล.ต. จะกระทําได้ต่อเมื่อได้ดําเนินการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) เปิดโอกาสให้ผู้ถูกพิจารณามีโอกาสชี้แจงข้อเท็จจริง (2) เสนอข้อเท็จจริงรวมทั้งคําชี้แจงของผู้ถูกพิจารณา (ถ้ามี) ให้คณะกรรมการเพื่อพิจารณาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน และเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว และหากคณะกรรมการประสงค์จะให้ผู้ถูกพิจารณาชี้แจงเพิ่มเติม ให้สํานักงาน ก.ล.ต. จัดให้มีการชี้แจงเช่นนั้น ในการปฏิบัติอื่นใดนอกจากที่ระบุไว้ในวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ข้อ ๒๒ สํานักงาน ก.ล.ต. อาจไม่ดําเนินการตามข้อ 21 วรรคหนึ่งได้ ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) กรณีดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการพิจารณาอื่นที่ทําให้ผู้ถูกพิจารณามีโอกาสชี้แจง และเคยผ่านการพิจารณาให้ความเห็นในรูปองค์คณะที่มีผู้มีความรู้ประสบการณ์ในการประกอบธุรกิจในตลาดทุนเป็นองค์คณะด้วยหรือโดยองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องมาอย่างเพียงพอแล้ว หรือ (2) คณะกรรมการได้กําหนดแนวทางพิจารณาดําเนินการสําหรับกรณีที่มีข้อเท็จจริงทํานองเดียวกันกับกรณีที่พิจารณานี้ไว้ชัดเจนเพียงพอแล้ว ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 (นายวรวิทย์ จําปีรัตน์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
655
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กลธ. 10/2562 เรื่อง การกำหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 10/2562 เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการ และผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10(1) มาตรา 28 และมาตรา 30 แห่งพระราชกําหนด การประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 4 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 18/2561 เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) เป็นบุคคลซึ่งมิได้มีคุณวุฒิทางการศึกษา ประสบการณ์ในการทํางาน หรือคุณสมบัติอื่นตามตารางแนบท้ายประกาศนี้ เว้นแต่จะได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ก.ล.ต.” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2562 (นายวรวิทย์ จําปีรัตน์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
656
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กลธ. 33/2563 เรื่อง การกำหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 3)
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 33/2563 เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและ ผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10(1) มาตรา 28 และมาตรา 30 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในบทนิยามคําว่า “ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล” ในข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 18/2561 เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน ““ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล” หมายความว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลายประเภท ดังต่อไปนี้ (1) การเป็นศูนย์ซื้อขายคริปโทเคอร์เรนซี (2) การเป็นศูนย์ซื้อขายโทเคนดิจิทัล (3) การเป็นนายหน้าซื้อขายคริปโทเคอร์เรนซี (4) การเป็นนายหน้าซื้อขายโทเคนดิจิทัล (5) การเป็นผู้ค้าคริปโทเคอร์เรนซี (6) การเป็นผู้ค้าโทเคนดิจิทัล (7) การเป็นผู้จัดการเงินทุนคริปโทเคอร์เรนซี (8) การเป็นผู้จัดการเงินทุนโทเคนดิจิทัล (9) การเป็นที่ปรึกษาคริปโทเคอร์เรนซี (10) การเป็นที่ปรึกษาโทเคนดิจิทัล” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (5) ของข้อ 5 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 18/2561 เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 “(5) รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการเงินลงทุนเพื่อแสวงหาประโยชน์ในสินทรัพย์ดิจิทัลเพื่อลูกค้า” ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2563 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
657
ประกาศคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 22/2565 เรื่อง การกำหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการ และผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 4)
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 22 /2565 เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการ และผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 4) ------------------------------ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10(1) มาตรา 28 และมาตรา 30 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ ก.ล.๓. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (1 1) ในบทนิยามคําว่ "ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล"ของข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และลาตหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 18/2561 เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กล5. 33/2563 เรื่อง การกําหนดสักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2563 "(11) การเป็นผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล" ข้อ 2 ให้เพิ่มบทนิยามคําว่า "การให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล" ระหว่างบทนิยามคําว่า "ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล"และ "ผู้ออกโทเคนดิจิทัล" ในข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กล5. 18/2561 เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 \*"การให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล " หมายความว่า การให้บริการลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (1) การรับฝากหรือเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล หรือ (2) การบริหารจัดการกุญแจเข้ารหัส (cryptographic key) หรือสิ่งอื่นใดที่ต้องเก็บรักษาเป็นความลับ เพื่อใช้อนุมัติการโอนหรือการทําธุรกรรมเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล โดยมีอํานาจเบ็ดเสร็จหรือบางส่วน" ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (6) ของข้อ 5 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 18/2561 เรื่อง การกําหนตลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ลงวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 33/2563เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2563 "(6)รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับการให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล ทั้งนี้ ในกรณีของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลประเภทการเป็นผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล" ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2565 (นายพิชิต อัคราทิตย์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
658
ประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กลธ. 18/2561 เรื่อง การกำหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับประมวล)
ประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กลธ. 18/2561 เรื่อง การกําหนดลักษณะต้องห้ามของกรรมการและ ผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัล (ฉบับประมวล) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 10(1) มาตรา 28 และมาตรา 30 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ข้อ 2 ในประกาศนี้ และรวมถึงตารางแนบท้ายที่กําหนดตามประกาศนี้ “ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล”( หมายความว่า ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลายประเภท ดังต่อไปนี้ (1) การเป็นศูนย์ซื้อขายคริปโทเคอร์เรนซี (2) การเป็นศูนย์ซื้อขายโทเคนดิจิทัล (3) การเป็นนายหน้าซื้อขายคริปโทเคอร์เรนซี (4) การเป็นนายหน้าซื้อขายโทเคนดิจิทัล (5) การเป็นผู้ค้าคริปโทเคอร์เรนซี (6) การเป็นผู้ค้าโทเคนดิจิทัล (7) การเป็นผู้จัดการเงินทุนคริปโทเคอร์เรนซี (8) การเป็นผู้จัดการเงินทุนโทเคนดิจิทัล (9) การเป็นที่ปรึกษาคริปโทเคอร์เรนซี (10) การเป็นที่ปรึกษาโทเคนดิจิทัล (11)( การเป็นผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล “การให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล”( หมายความว่า การให้บริการลักษณะใด ลักษณะหนึ่งดังนี้ (1) การรับฝากหรือเก็บรักษาสินทรัพย์ดิจิทัล หรือ (2) การบริหารจัดการกุญแจเข้ารหัส (cryptographic key) หรือสิ่งอื่นใดที่ต้องเก็บรักษาเป็นความลับ เพื่อใช้อนุมัติการโอนหรือการทําธุรกรรมเกี่ยวกับสินทรัพย์ดิจิทัล โดยมีอํานาจเบ็ดเสร็จหรือบางส่วน “ผู้ออกโทเคนดิจิทัล” หมายความว่า ผู้ออกโทเคนดิจิทัลตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการเสนอขายโทเคนดิจิทัลต่อประชาชน “ผู้ลงทุน” หมายความว่า ผู้ที่สนใจจะลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล “ลูกค้า” หมายความว่า ผู้ใช้บริการของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล “ผู้จัดการ” หมายความว่า บุคคลที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบสูงสุดในการบริหารงานของบริษัท “ผู้อํานวยการฝ่าย” หมายความว่า บุคคลซึ่งรับผิดชอบงานในระดับส่วนงานภายในบริษัท “สถาบันการเงิน” หมายความว่า (1) ธุรกิจธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ (2) ธุรกิจหลักทรัพย์ (3) ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (4) ธุรกิจประกันภัย (5) ธุรกิจสถาบันการเงินของรัฐที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น ข้อ 3 สํานักงาน ก.ล.ต. อาจกําหนดแนวทาง (guideline) การปฏิบัติในรายละเอียดของข้อกําหนดตามประกาศนี้ เพื่อเป็นการให้แนวทางปฏิบัติที่ถือว่าเหมาะสมและสอดคล้องตามประกาศนี้ และหากผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่า ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลได้ปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้แล้ว หมวด 1 การแต่งตั้งกรรมการหรือผู้บริหารของ ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 4 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องแต่งตั้งกรรมการหรือผู้บริหารที่ไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ และได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศนี้ (1)( เป็นบุคคลซึ่งมิได้มีคุณวุฒิทางการศึกษา ประสบการณ์ในการทํางานหรือคุณสมบัติอื่นตามตารางแนบท้ายประกาศนี้ เว้นแต่จะได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ก.ล.ต. (2) เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ใน หมวด 2 และหมวด 3 ข้อ 5 ผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลตามข้อ 4 ได้แก่ ผู้จัดการรองผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้อํานวยการฝ่าย หรือผู้ดํารงตําแหน่งเทียบเท่าตําแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่ทําหน้าที่ต่อไปนี้ (1) รับผิดชอบงานเกี่ยวกับการบริหาร กําหนด ควบคุมและกํากับดูแลนโยบายของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (2) รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับการติดต่อและให้บริการลูกค้า (3) รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับการจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับการคัดเลือกสินทรัพย์ดิจิทัลที่จะนํามาให้บริการ (5)( รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการเงินลงทุนเพื่อแสวงหาประโยชน์ในสินทรัพย์ดิจิทัลเพื่อลูกค้า (6)( รับผิดชอบงานที่เกี่ยวกับการให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล ทั้งนี้ ในกรณีของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลประเภทการเป็นผู้ให้บริการรับฝากสินทรัพย์ดิจิทัล หมวด 2 ลักษณะต้องห้ามของกรรมการหรือผู้บริหาร ของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 6 กรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (1) เป็นหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลาย (2) เคยได้รับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ที่กระทําโดยทุจริต (3) เคยเป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอํานาจในการจัดการของสถาบัน การเงินที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต เว้นแต่จะได้รับยกเว้นจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. (4) เป็นกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลผู้มีอํานาจในการจัดการของผู้ประกอบธุรกิจ สินทรัพย์ดิจิทัลอื่น เว้นแต่จะเป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่คณะกรรมการ ก.ล.ต.กําหนด (5) เคยถูกถอดถอนจากการเป็นประธานกรรมการ กรรมการ หรือผู้จัดการ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น (6) เป็นข้าราชการการเมือง (7) เป็นข้าราชการซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พนักงานของธนาคารแห่งประเทศไทยหรือสํานักงาน ก.ล.ต. เว้นแต่ (ก) เป็นกรณีที่ได้รับการแต่งตั้งโดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. เพื่อเข้าไปช่วยเหลือในการดําเนินงานของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ข) เป็นกรณีของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมาย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หมวด 3 การมีลักษณะต้องห้ามอื่นของกรรมการหรือผู้บริหาร ของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 7 กรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องไม่มีลักษณะ ต้องห้ามอื่นดังต่อไปนี้ด้วย (1) มีความบกพร่องในด้านความสามารถตามกฎหมาย หรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินการตามกฎหมายเกี่ยวกับการกํากับธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล หรือมีลักษณะขาดความน่าไว้วางใจตามที่กําหนดไว้ในข้อ 8 เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 1 (2) มีประวัติการถูกลงโทษหรือถูกดําเนินการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริตเกี่ยวกับทรัพย์สินตามที่กําหนดไว้ในข้อ 9 เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 2 (3) มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในการปฏิบัติต่อลูกค้าผู้ลงทุน บริษัทหรือผู้ถือหุ้นโดยรวม หรือตลาดเงิน ตลาดทุนหรือตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลโดยรวมในเรื่องที่มีนัยสําคัญตามที่กําหนดไว้ในข้อ 10 เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ข้อ 8 ให้กรณีดังต่อไปนี้เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 1 (1) เป็นบุคคลที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ (2) เป็นคนไร้ความสามารถ หรือเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ (3) เป็นบุคคลที่อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษโดยสํานักงาน ก.ล.ต. หรืออยู่ระหว่างถูกดําเนินคดีอันเนื่องจากกรณีที่สํานักงาน ก.ล.ต. กล่าวโทษ หรือศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกในความผิดตามมาตรา 66 ประกอบกับมาตรา 26 (เฉพาะที่มีลักษณะเข้าข่ายเป็นการฉ้อโกงประชาชน) หรือมาตรา 82 ถึงมาตรา 91 แห่งพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 (4) เป็นบุคคลที่สํานักงาน ก.ล.ต. ปฏิเสธหรือถอนการแสดงรายชื่อของบุคคลในระบบข้อมูลรายชื่อกรรมการและผู้บริหารของบริษัทที่ออกสินทรัพย์ดิจิทัลเนื่องจากเป็นผู้ที่มีลักษณะขาดความน่าไว้วางใจให้เป็นกรรมการและผู้บริหารตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารบริษัท (5) เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 103(1) ถึง (7) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (6) เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 1 ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน ข้อ 9 ให้กรณีดังต่อไปนี้เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 2 (1) เป็นบุคคลที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุกในความผิดอาญาแผ่นดินเกี่ยวกับการบริหารงานที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริตเกี่ยวกับทรัพย์สิน โดยศาลมีคําพิพากษาให้รอการลงโทษ และพ้นจากการรอการลงโทษมาแล้วไม่ถึง 3 ปี (2) เป็นบุคคลที่ศาลมีคําสั่งถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินตามกฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือกฎหมายอื่นในลักษณะเดียวกัน และยังไม่พ้น 3 ปีนับแต่วันที่ศาลมีคําสั่งให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน (3) เป็นบุคคลที่ไม่สามารถดํารงตําแหน่งเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของสถาบันการเงิน เนื่องจากมีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายเกี่ยวกับการกํากับดูแลสถาบันการเงินไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ และอยู่ระหว่างเวลาที่ยังไม่สามารถกลับมาดํารงตําแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวได้อีก ทั้งนี้ เฉพาะลักษณะต้องห้ามที่เกี่ยวข้องกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งดังต่อไปนี้ (ก) การทุจริตต่อหน้าที่ หรือทุจริต หลอกลวง หรือฉ้อโกงเกี่ยวกับทรัพย์สิน (ข) การบริหารงานที่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายหรือไม่เป็นไปตามคําสั่งของหน่วยงานกํากับดูแล หรือบริหารงานหรือจัดการงานที่ไม่เหมาะสม (ค) การกระทําที่เป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย หรือการกระทําที่ไม่เป็นธรรมหรือเป็นการเอาเปรียบ (4) เป็นบุคคลที่อยู่ระหว่างถูกดําเนินการอันเป็นผลให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลในลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) ถูกคณะกรรมการพิจารณามาตรการลงโทษทางแพ่งกําหนดมาตรการลงโทษทางแพ่ง หรือศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งกําหนดมาตรการลงโทษทางแพ่งห้ามเป็นกรรมการหรือผู้บริหารในผู้ออกโทเคนดิจิทัลหรือผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล หรือถูกสํานักงาน ก.ล.ต.สั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบ หรือมีลักษณะที่ทําให้การให้ความเห็นชอบสิ้นสุด หรือถูกดําเนินการอื่นในทํานองเดียวกัน อันเป็นผลให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการหรือผู้บริหารในผู้ออกโทเคนดิจิทัลหรือผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล (ข) การดําเนินการตาม (ก) สืบเนื่องมาจากการปฏิบัติงานในตําแหน่งที่มี ผลกระทบถึงความเหมาะสมในการปฏิบัติงานในตําแหน่งที่พิจารณา (ค) เหตุของการดําเนินการตาม (ก) เป็นเรื่องการกระทําความผิดตามพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 และประกาศที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว ในมูลเหตุเนื่องจากการบริหารงานที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง ทุจริตเกี่ยวกับทรัพย์สิน หรือขาดความระมัดระวัง ขาดความซื่อสัตย์สุจริต (5) เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 2 ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน ข้อ 10 ให้กรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีพฤติกรรมดังต่อไปนี้เป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 (1) มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีหรือเคยมีพฤติกรรมประพฤติผิดต่อหน้าที่หรือการให้บริการด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและเป็นธรรม ขาดความรับผิดชอบและความรอบคอบ เอาเปรียบผู้ลงทุน หรือขาดจรรยาบรรณหรือมาตรฐานในการปฏิบัติงานเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพซึ่งกําหนดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. สมาคม หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุนหรือตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลที่สํานักงาน ก.ล.ต. ยอมรับ หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการกระทําดังกล่าวของบุคคลอื่น (2) มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีหรือเคยมีพฤติกรรมที่เป็นการละเลยการตรวจสอบดูแลตามสมควรเพื่อป้องกันมิให้นิติบุคคลหรือกิจการที่ตนมีอํานาจในการจัดการ หรือผู้ปฏิบัติงานซึ่งอยู่ภายใต้การตรวจสอบดูแล (ถ้ามี) กระทําการใดหรืองดเว้นกระทําการใดอันเป็นการฝ่าฝืนหรือขัดต่อพระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 หรือประกาศที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว อันอาจก่อให้เกิดความไม่เชื่อมั่นในธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลโดยรวม หรือความเสียหายต่อชื่อเสียง ฐานะ การดําเนินธุรกิจ หรือลูกค้าของธุรกิจนั้น (3) มีเหตุอันควรเชื่อว่ามีหรือเคยมีพฤติกรรมอันส่อไปในทางไม่สุจริตที่ส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือในการเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างมีนัยสําคัญ หรือมีหรือเคยมีส่วนร่วม หรือสนับสนุนการกระทําดังกล่าวของบุคคลอื่น เช่น การแสวงหาหรือเบียดบังผลประโยชน์ใดโดยมิชอบเพื่อตนเอง ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล หรือบุคคลอื่นโดยอาศัยตําแหน่งหน้าที่ที่ตนดํารงอยู่ เป็นต้น (4) เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน หมวด 4 การขอรับความเห็นชอบและการให้ความเห็นชอบ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วนที่ 1 การขอรับความเห็นชอบ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 11 ในการยื่นคําขอรับความเห็นชอบเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลให้เป็นไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการให้ความเห็นชอบเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ส่วนที่ 2 การให้ความเห็นชอบสิ้นสุดลง \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 12 การให้ความเห็นชอบกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลสิ้นสุดลงเมื่อบุคคลนั้นมีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ ทั้งนี้ ตามที่กําหนดไว้ในหมวด 7 หมวด 5 หน้าที่ของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 13 ให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลรายงานการแต่งตั้งและการสิ้นสุด การแต่งตั้งกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ผ่านระบบ ที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ก.ล.ต. ภายใน 7 วันทําการนับแต่วันที่เกิดกรณีดังกล่าว หมวด 6 หน้าที่ของกรรมการหรือผู้บริหารของ ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 14 กรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ปฏิบัติหน้าที่หรือให้บริการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต (2) ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบและรอบคอบเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ และปฏิบัติต่อลูกค้าทุกรายอย่างเป็นธรรม ด้วยความเอาใจใส่ ระมัดระวัง รอบคอบ โดยคํานึงถึง ประโยชน์ของลูกค้าเป็นสําคัญ (3) ปฏิบัติหน้าที่หรือดูแลให้ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลปฏิบัติให้เป็นไปตาม พระราชกําหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 และประกาศที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว ในส่วนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของตน (4) ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามจรรยาบรรณและมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพที่กําหนดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. สมาคม หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจตลาดทุนที่สํานักงาน ก.ล.ต. ยอมรับ ข้อ 15 ในกรณีที่กรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อ 14 ให้สํานักงาน ก.ล.ต. พิจารณาและดําเนินการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับการมีลักษณะต้องห้ามในกลุ่มที่ 3 ตามหมวด 7 หมวด 7 ผลของการมีลักษณะต้องห้าม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วนที่ 1 ข้อกําหนดทั่วไปในการพิจารณาลักษณะต้องห้าม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 16 ในกรณีที่กรรมการหรือผู้บริหารที่ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์สินทรัพย์ดิจิทัลได้ยื่นคําขอรับความเห็นชอบเป็นผู้มีลักษณะต้องห้ามตามที่กําหนดในประกาศนี้ ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ใช้เหตุแห่งการมีลักษณะต้องห้ามดังกล่าวในการปฏิเสธการให้ความเห็นชอบบุคคลดังกล่าวได้ ข้อ 17 ในกรณีที่ผู้มีลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลซึ่งได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) กรณีเป็นลักษณะต้องห้ามตามข้อ 4(1) ให้การให้ความเห็นชอบสิ้นสุดลง (2) กรณีเป็นลักษณะต้องห้ามตามหมวด 2 หมวด 3 ลักษณะต้องห้ามตามกลุ่มที่ 1ตามข้อ 8 หรือลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 2 ตามข้อ 9(1) หรือ (2) ให้สํานักงาน ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบ (3) กรณีเป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 2 ตามข้อ 9(3) (4) หรือ (5) ให้สํานักงาน ก.ล.ต. สั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบตามแต่เหตุแห่งการมีลักษณะต้องห้ามนั้น (4) กรณีเป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามข้อ 10 สํานักงาน ก.ล.ต. อาจสั่งพักหรือ เพิกถอนการให้ความเห็นชอบตามสมควรแก่กรณี ข้อ 18 ในการใช้ดุลยพินิจปฏิเสธการให้ความเห็นชอบตามข้อ 16 พักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบตามข้อ 17(3) และ (4) แล้วแต่กรณี ให้สํานักงาน ก.ล.ต. มีอํานาจดําเนินการ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างดังต่อไปนี้แทนหรือประกอบการดําเนินการดังกล่าวได้ (1) กําหนดระยะเวลาหรือเงื่อนไขในการรับพิจารณาคําขอความเห็นชอบหรือห้ามการปฏิบัติหน้าที่ของบุคคลดังกล่าวในคราวต่อไป โดยระยะเวลาที่กําหนดต้องไม่เกิน 10 ปี สําหรับการพิจารณาการมีลักษณะต้องห้ามในแต่ละกรณี (2) กําหนดระยะเวลาการสั่งพักการให้ความเห็นชอบ ซึ่งเมื่อพ้นระยะเวลาดังกล่าวแล้วให้บุคคลดังกล่าวสามารถปฏิบัติหน้าที่เป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลในตําแหน่งเดิมต่อไปได้โดยไม่ต้องยื่นคําขอความเห็นชอบ (3) ในกรณีพฤติกรรมที่อาจเข้าข่ายเป็นลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามข้อ 10มีลักษณะไม่ร้ายแรง หรือเกิดขึ้นมาแล้วเกินกว่า 10 ปีนับถึงวันที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงาน ก.ล.ต. สํานักงาน ก.ล.ต. อาจไม่ยกกรณีดังกล่าวขึ้นพิจารณาเป็นเหตุในการปฏิเสธการให้ความเห็นชอบการพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบหรือห้ามการปฏิบัติหน้าที่ หรืออาจลดระดับการดําเนินการเป็นการเปิดเผยพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมดังกล่าวก็ได้ ส่วนที่ 2 การพิจารณาลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 19 ในการพิจารณาความร้ายแรงของพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อการมีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามข้อ 10 หรือการพิจารณาดําเนินการตามข้อ 16 ให้สํานักงาน ก.ล.ต.นําปัจจัยดังต่อไปนี้ มาใช้ประกอบการพิจารณา (1) บทบาทความเกี่ยวข้องและพฤติกรรมของบุคคลที่ถูกพิจารณา (2) การลงโทษที่บุคคลนั้นได้รับไปแล้ว (3) ผลกระทบหรือความเสียหายต่อลูกค้า ผู้ลงทุน บริษัท หรือผู้ถือหุ้นโดยรวมตลาดเงิน ตลาดทุน หรือตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลโดยรวม หรือผลประโยชน์ที่เกี่ยวเนื่องกับข้อเท็จจริงหรือพฤติกรรมที่พิจารณา (4) การแก้ไขหรือการดําเนินการอื่นที่เป็นประโยชน์ต่อลูกค้า ผู้ลงทุน บริษัทหรือผู้ถือหุ้นโดยรวม ตลาดเงิน ตลาดทุน หรือตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลโดยรวม หรือแก้ไข เยียวยาหรือป้องกันมิให้เกิดข้อเท็จจริงหรือพฤติกรรมทํานองเดียวกันนั้นซ้ําอีก (5) พฤติกรรมอื่นของผู้ถูกพิจารณาที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานหรือขัดขวางการปฏิบัติงานของสํานักงาน ก.ล.ต. (6) ประวัติหรือพฤติกรรมในอดีตอื่นใดที่แสดงถึงความไม่เหมาะสมที่จะเป็นกรรมการหรือผู้บริหารของผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล ข้อ 20 ให้สํานักงาน ก.ล.ต. ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการ ก.ล.ต. แต่งตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่งเพื่อทําหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน รวมทั้งเสนอความเห็น ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. เกี่ยวกับการพิจารณาเหตุของการพักหรือเพิกถอน การให้ความเห็นชอบกรรมการหรือผู้บริหารที่มีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามข้อ 10 หรือพิจารณาให้ความเห็นต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ในเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามความในหมวดนี้ หรือพิจารณาวางแนวทางและให้ความเห็นต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ในการดําเนินการ ให้คณะกรรมการตามวรรคหนึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากตลาดเงิน ตลาดทุนหรือตลาดสินทรัพย์ดิจิทัลจํานวนไม่เกิน 5 คนซึ่งไม่เป็นเลขาธิการหรือพนักงานของสํานักงาน ก.ล.ต. โดยจํานวนนี้อย่างน้อยต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นผู้แทนของผู้ลงทุนจํานวน 1 คน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หลักทรัพย์ หรือสัญญาซื้อขายล่วงหน้าจํานวน 2 คน ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานกรรมการและให้สํานักงาน ก.ล.ต. แต่งตั้งพนักงานของสํานักงาน ก.ล.ต. คนหนึ่งเป็นเลขานุการ กรรมการรายใดมีส่วนได้เสียในเรื่องที่พิจารณาในลักษณะที่อาจมีผลกระทบต่อการให้ความเห็นอย่างเป็นกลาง ให้ผู้นั้นแจ้งการมีส่วนได้เสียนั้นและห้ามมิให้เข้าร่วมพิจารณาในเรื่องดังกล่าว ข้อ 21 เพื่อให้การใช้ดุลยพินิจสั่งการของสํานักงาน ก.ล.ต. ตามหมวดนี้มีความชัดเจนและผ่านกระบวนการทบทวนตามสมควร ในการแจ้งเหตุในการสั่งพักหรือเพิกถอนการให้ความเห็นชอบเนื่องจากการมีลักษณะต้องห้ามกลุ่มที่ 3 ตามข้อ 10 สํานักงาน ก.ล.ต. จะกระทําได้ต่อเมื่อได้ดําเนินการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) เปิดโอกาสให้ผู้ถูกพิจารณามีโอกาสชี้แจงข้อเท็จจริง (2) เสนอข้อเท็จจริงรวมทั้งคําชี้แจงของผู้ถูกพิจารณา (ถ้ามี) ให้คณะกรรมการเพื่อพิจารณาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน และเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว และหากคณะกรรมการประสงค์จะให้ผู้ถูกพิจารณาชี้แจงเพิ่มเติม ให้สํานักงาน ก.ล.ต. จัดให้มีการชี้แจงเช่นนั้น ในการปฏิบัติอื่นใดนอกจากที่ระบุไว้ในวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ข้อ 22 สํานักงาน ก.ล.ต. อาจไม่ดําเนินการตามข้อ 21 วรรคหนึ่งได้ ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) กรณีดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการพิจารณาอื่นที่ทําให้ผู้ถูกพิจารณามีโอกาสชี้แจง และเคยผ่านการพิจารณาให้ความเห็นในรูปองค์คณะที่มีผู้มีความรู้ประสบการณ์ในการประกอบธุรกิจในตลาดทุนเป็นองค์คณะด้วยหรือโดยองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้องมาอย่างเพียงพอแล้ว หรือ (2) คณะกรรมการได้กําหนดแนวทางพิจารณาดําเนินการสําหรับกรณีที่มีข้อเท็จจริงทํานองเดียวกันกับกรณีที่พิจารณานี้ไว้ชัดเจนเพียงพอแล้ว ประกาศ ณ วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 (นายวรวิทย์ จําปีรัตน์) ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
659
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 1/2563 เรื่อง การยกเว้นการเสนอขายหุ้นของวิสาหกิจเพื่อสังคมที่เป็นบริษัทจำกัดที่กระทำเป็นการทั่วไปหรือต่อประชาชนในวงกว้าง
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 1/2563 เรื่อง การยกเว้นการเสนอขายหุ้นของวิสาหกิจเพื่อสังคมที่เป็นบริษัทจํากัด ที่กระทําเป็นการทั่วไปหรือต่อประชาชนในวงกว้าง \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 และมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้การเสนอขายหุ้นของวิสาหกิจเพื่อสังคมตามกฎหมายว่าด้วยส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมที่เป็นบริษัทจํากัด สามารถกระทําได้เป็นการทั่วไปหรือต่อบุคคลในวงกว้าง ไม่ว่าจะเป็นการเสนอขายโดยบริษัทที่ออกหุ้นนั้นหรือโดยผู้ถือหุ้นของบริษัทดังกล่าว ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
660
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 17/2563 เรื่อง การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ต่อบุคคลในวงจำกัด โดยวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 17/2563 เรื่อง การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ต่อบุคคลในวงจํากัด โดยวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 และมาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “หลักทรัพย์” หมายความว่า หุ้น หรือหุ้นกู้แปลงสภาพ “วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม” หมายความว่า วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งเป็นบริษัทจํากัดที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการระดมทุนผ่านตลาดทุน “วิสาหกิจขนาดกลาง” หมายความว่า บริษัทจํากัดที่เข้าลักษณะเป็นวิสาหกิจขนาดกลางตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ซึ่งเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการระดมทุนผ่านตลาดทุน “โครงการส่งเสริมการระดมทุนผ่านตลาดทุน” หมายความว่า โครงการส่งเสริมการระดมทุนผ่านตลาดทุนที่จัดตั้งขึ้นตามความร่วมมือระหว่างสํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมกับสํานักงาน “นิติบุคคลร่วมลงทุน” (venture capital) หมายความว่า นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจการร่วมลงทุนในวิสาหกิจเริ่มต้น (startup) และจํากัดลักษณะของผู้ลงทุนไว้เฉพาะผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย “กิจการเงินร่วมลงทุน” (private equity) หมายความว่า กิจการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ และมีลักษณะที่ครบถ้วนดังต่อไปนี้ (1) มีวัตถุประสงค์เพื่อการลงทุนร่วมกันของผู้ลงทุนตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป โดยจํากัดลักษณะของผู้ลงทุนไว้เฉพาะผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย (2) มีการมอบหมายให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้จัดการเงินทุนและทรัพย์สินที่เกิดจากเงินทุน (3) มีนโยบายการลงทุนในกิจการอื่นผ่านการเข้าทําสัญญาการลงทุนในหุ้นหรือการสนับสนุนทางการเงินที่ก่อให้เกิดสิทธิในการได้มาซึ่งหุ้นของกิจการนั้นในภายหลัง โดยมีส่วนในการกํากับดูแลแผนธุรกิจ การดําเนินงานหรือการปรับปรุงการดําเนินงาน หรือการดําเนินการอื่นใดในลักษณะที่สะท้อนถึงการมีบทบาทต่อการดําเนินธุรกิจของกิจการดังกล่าว “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการของบริษัทหรือบริษัทย่อย “พนักงาน” หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงทํางานให้แก่บริษัทหรือบริษัทย่อยเนื่องจากการจ้างแรงงาน โดยได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง หรือสิ่งของอื่นใดเป็นการตอบแทนการทํางาน “ผู้ลงทุนที่มีลักษณะเฉพาะ” หมายความว่า ผู้ลงทุนที่มีลักษณะเฉพาะตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนที่มีลักษณะเฉพาะ คําว่า “ผู้ลงทุนสถาบัน” และ “บริษัทย่อย” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ หมวด ๑ การจัดทํา ยื่น หรือส่ง ข้อมูล และเอกสารตามประกาศ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓ ภาษาที่ใช้ในการจัดทํา ยื่น ส่ง หรือเปิดเผยข้อมูลหรือเอกสารตามประกาศนี้ ให้ใช้ภาษาไทย ผู้มีหน้าที่ตามประกาศนี้อาจจัดทํา ยื่น ส่ง หรือเปิดเผยข้อมูลหรือเอกสารตามวรรคหนึ่งเป็นภาษาอังกฤษด้วยก็ได้ โดยมีสาระสําคัญของข้อมูลไม่ต่างจากข้อมูลหรือเอกสารฉบับภาษาไทย ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการยื่นหรือส่งต่อสํานักงาน ต้องยื่นหรือส่งคํารับรองความถูกต้องของข้อมูลมาพร้อมกันด้วย ข้อ ๔ การยื่นหรือส่งข้อมูลหรือเอกสารตามประกาศนี้ ให้เป็นไปตามรูปแบบและวิธีการที่สํานักงานกําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน หมวด ๒ อํานาจของสํานักงาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๕ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจสั่งระงับการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ตามประกาศนี้ไว้ก่อนหรือสั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ในกรณีดังกล่าวได้ (1) บริษัทมีข้อบกพร่องหรือมีความไม่เหมาะสมเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือจะไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขตามประกาศนี้ได้ (2) ผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่มีนัยสําคัญต่อการตัดสินใจลงทุน (3) การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่มีลักษณะที่อาจเข้าข่ายเป็นการหลีกเลี่ยงกฎเกณฑ์อื่นที่ออกภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หมวด ๓ การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ต่อบุคคลในวงจํากัด โดยวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เป็นบริษัทจํากัด \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๖ การเสนอขายหลักทรัพย์ต่อบุคคลในวงจํากัด หมายถึง การเสนอขายหลักทรัพย์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่โดยวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต่อบุคคลที่เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ (ก) ผู้ลงทุนสถาบัน นิติบุคคลร่วมลงทุน กิจการเงินร่วมลงทุน หรือผู้ลงทุนที่มีลักษณะเฉพาะ (ข) กรรมการหรือพนักงาน และให้รวมถึงการเสนอขายต่อบุคคลใด ๆ เพื่อให้กรรมการหรือพนักงานได้รับประโยชน์จากหลักทรัพย์ที่เสนอขายนั้นในที่สุด (2) การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่โดยวิสาหกิจขนาดกลางต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจง ซึ่งการเสนอขายทุกครั้งรวมกันมีจํานวนผู้ลงทุนไม่เกิน 10 ราย และมีมูลค่ารวมกันทั้งสิ้นไม่เกิน 20 ล้านบาท ทั้งนี้ การคํานวณมูลค่าการเสนอขายดังกล่าว ให้ถือเอาราคาเสนอขายหลักทรัพย์นั้นเป็นเกณฑ์ การนับจํานวนผู้ลงทุนและการคํานวณมูลค่ารวมการเสนอขายหลักทรัพย์ตามวรรคหนึ่ง (2) ไม่นับรวมส่วนที่เสนอขายต่อผู้ลงทุนตามวรรคหนึ่ง (1) ทั้งนี้ ไม่ว่าการเสนอขายดังกล่าวจะกระทําในเวลาเดียวกันหรือต่างเวลากัน ข้อ ๗ ให้วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ต่อบุคคลในวงจํากัดได้ ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพ ให้ถือว่าได้รับอนุญาตจากสํานักงานเมื่อได้จดข้อจํากัดการโอนสําหรับหุ้นกู้ที่เสนอขายกับสํานักงานตามวรรคสาม ทั้งนี้ ให้ถือว่าสํานักงานรับจดข้อจํากัดการโอนในวันที่สํานักงานได้รับการแสดงเจตนาจดข้อจํากัดการโอนดังกล่าวแล้ว ข้อจํากัดการโอนตามวรรคสองต้องแสดงได้ว่า ผู้ออกหุ้นกู้แปลงสภาพจะไม่รับจดทะเบียนการโอนหุ้นกู้แปลงสภาพไม่ว่าทอดใด ๆ หากการโอนหุ้นกู้แปลงสภาพดังกล่าวจะทําให้หุ้นกู้แปลงสภาพที่เสนอขายในครั้งนั้นไม่สามารถคงลักษณะการเสนอขายในวงจํากัดตามแต่ละลักษณะการเสนอขายตามข้อ 6 ได้ เว้นแต่เป็นการโอนทางมรดก หรือเป็นการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพต่อผู้ลงทุนตามข้อ 6 วรรคหนึ่ง (1) (ข) หรือ (2) ผู้ได้รับอนุญาตสามารถจดทะเบียนการโอนหุ้นกู้แปลงสภาพไม่ว่าในทอดใด ๆ ต่อผู้ลงทุนตามข้อ 6 วรรคหนึ่ง (1) (ก) ได้ ข้อ ๘ บริษัทที่เสนอขายหลักทรัพย์ต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีสรุปข้อมูลสําคัญของหลักทรัพย์ตามแบบ Factsheet SME ท้ายประกาศนี้ เพื่อให้ผู้ลงทุนสามารถใช้ประกอบการพิจารณาลงทุน (2) ไม่โฆษณาการเสนอขายหลักทรัพย์ที่จะออกใหม่ต่อบุคคลเป็นการทั่วไป และหากจะมีการให้ข้อมูลที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ที่จะเสนอขายหรือกําลังเสนอขาย ต้องให้ข้อมูลกับบุคคลเฉพาะเจาะจงหรือบุคคลเท่าที่จําเป็น เพื่อให้การเสนอขายหลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ภายในลักษณะที่กําหนดไว้ในข้อ 6 เท่านั้น (3) รายงานผลการขายหลักทรัพย์ต่อสํานักงานภายในกําหนดเวลาดังนี้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน (ก) กรณีเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ รายงานผลการขายหุ้นภายใน 15 วันนับแต่วันปิดการเสนอขาย (ข) กรณีเสนอหุ้นกู้แปลงสภาพที่ออกใหม่ 1. บริษัทมีหน้าที่รายงานผลการขายหุ้นกู้แปลงสภาพตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการยกเว้นการยื่นแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพที่ออกโดยวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่เป็นบริษัทจํากัด 2. รายงานผลการขายหุ้นที่ออกใหม่เพื่อรองรับการใช้สิทธิตามหุ้นกู้แปลงสภาพ ภายใน 15 วันนับแต่วันที่ใช้สิทธิแปลงสภาพ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
661
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 20/2563 เรื่อง การยกเลิกประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนว่าด้วยการทำประกันภัยความรับผิดของบริษัทจัดการที่บริหารกองอสังหาริมทรัพย์หรือกองโครงสร้างพื้นฐาน
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 20/2563 เรื่อง การยกเลิกประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วย การทําประกันภัยความรับผิดของบริษัทจัดการที่บริหาร กองอสังหาริมทรัพย์หรือกองโครงสร้างพื้นฐาน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และมาตรา 133 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 15/2561 เรื่อง การทําประกันภัยความรับผิดของบริษัทจัดการที่บริหารกองอสังหาริมทรัพย์หรือกองโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561 ข้อ ๒ ให้บริษัทจัดการที่มีหน้าที่จัดให้มีการประกันภัยความรับผิดตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 15/2561 เรื่อง การทําประกันภัยความรับผิดของบริษัทจัดการที่บริหารกองอสังหาริมทรัพย์หรือกองโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561 ดําเนินการตามหลักเกณฑ์ในประกาศดังกล่าวที่ใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ จนกว่าบริษัทจัดการดังกล่าวจะสามารถดํารงเงินกองทุนได้ตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กธ. 4/2563 เรื่อง การดํารงเงินกองทุนของผู้ประกอบธุรกิจการจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และการค้าหลักทรัพย์และการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ที่เป็นหน่วยลงทุน และการเป็นผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2563 ซึ่งต้องไม่เกิน 2 ปีนับแต่วันที่ประกาศดังกล่าวใช้บังคับ ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
662
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 24/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมเสริมสภาพคล่องเพื่อลดความเสี่ยงของการระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ภาคเอกชน
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 24/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม เสริมสภาพคล่องเพื่อลดความเสี่ยงของการระดมทุน ในตลาดตราสารหนี้ภาคเอกชน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 109 วรรคหนึ่ง มาตรา 117 มาตรา 119 และมาตรา 124 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ผู้ลงทุนสถาบัน” หมายความว่า ผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่ แต่ไม่รวมถึงกองทุนส่วนบุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์รับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่ “บริษัทจัดการ” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ หลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนรวม “ประกาศเกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการของกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนสถาบัน หรือผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ รวมถึงประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่งและหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนดังกล่าว ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการเสริมสภาพคล่องเพื่อลดความเสี่ยงของการระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ภาคเอกชน ที่จะเสนอขายเฉพาะต่อผู้ลงทุนสถาบัน โดยมีนโยบายการลงทุนในตราสารทางการเงินหรือธุรกรรมทางการเงินอื่นใดได้ทุกประเภทตามที่ระบุไว้ในโครงการ โดยมิได้มีข้อจํากัดเกี่ยวกับประเภท ลักษณะ หรืออัตราส่วนการลงทุน เว้นแต่จะเป็นไปตามข้อกําหนดเกี่ยวกับการลงทุนที่กําหนดไว้เป็นการเฉพาะตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการลงทุนของกองทุน ข้อ ๓ ในการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมตามประกาศนี้ ให้เป็นไปตามประกาศเกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโดยอนุโลม เว้นแต่จะได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่นในประกาศนี้หรือประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียนที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ ให้กองทุนรวมที่จัดตั้งตามประกาศนี้ได้รับยกเว้นการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนและการใช้สิทธิเกี่ยวกับหน่วยลงทุนตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมและหน้าที่ของบริษัทจัดการ ข้อ ๔ ให้บริษัทจัดการได้รับยกเว้นไม่ต้องอยู่ภายใต้ข้อกําหนดเกี่ยวกับจํานวนผู้ลงทุนขั้นต่ําในการเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรก ให้บริษัทจัดการดําเนินการเลิกกองทุนรวมที่จัดตั้งตามประกาศนี้ หากครบกําหนด 45 วันนับแต่วันที่ได้จดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวมแล้ว กองทุนรวมมีจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนไม่ถึง 2 ราย ข้อ ๕ เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้ลงทุนให้ได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมตามสิทธิที่พึงได้รับ และเพื่อให้มีมาตรฐานการดําเนินงานเป็นอย่างเดียวกัน ให้สํานักงานมีอํานาจประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในเรื่องดังต่อไปนี้ ให้บริษัทจัดการถือปฏิบัติได้ (1) การขายหรือรับซื้อคืนหน่วยลงทุน การเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วยลงทุน การชําระเงินค่าขายคืนหน่วยลงทุน ตลอดจนเมื่อเกิดการคํานวณจํานวนหน่วยลงทุนหรือมูลค่าผิด (2) ค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ลงทุน (3) การควบหรือรวมกองทุนรวม (4) การรับชําระหนี้ด้วยหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่นของกองทุนรวม (5) การดําเนินการให้กองทุนรวมเปิดดํารงสภาพคล่องและวิธีปฏิบัติในกรณีที่ไม่สามารถดํารงสภาพคล่องได้ตามที่กําหนด (6) ข้อกําหนดอื่นใดเกี่ยวกับการจัดการกองทุนรวมเพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองผู้ลงทุน หรือเพื่อให้มีมาตรฐานการดําเนินงานเป็นอย่างเดียวกัน ข้อ ๖ นอกจากที่ระบุไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ให้สํานักงานมีอํานาจประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ ในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่กําหนดในประกาศนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติ และเพื่อให้สํานักงานสามารถตรวจสอบการปฏิบัตินั้นได้ ข้อ ๗ ในกรณีที่มีปัญหาอันเนื่องมาจากการอนุโลมใช้ประกาศเกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมตามประกาศนี้ ให้สํานักงานมีอํานาจกําหนดแนวทาง (guideline) ในรายละเอียดเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวได้ และเมื่อมีการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว ให้ถือว่าบริษัทจัดการได้ปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้แล้ว ข้อ ๘ ในกรณีที่ปรากฏเหตุดังต่อไปนี้ ให้สํานักงานมีอํานาจเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมได้ (1) มีการแก้ไขเพิ่มเติมโครงการจัดการกองทุนรวมหรือข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการที่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนประกาศ กฎ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว (2) มีผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเป็นบุคคลอื่นใดที่มิใช่ผู้ลงทุนสถาบันตามที่ระบุไว้ในโครงการ ในกรณีที่สํานักงานสั่งเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง ให้บริษัทจัดการดําเนินการให้มีการเลิกกองทุนรวมทันที ข้อ ๙ เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนรวมเป็นไปตามนโยบายหรือหลักเกณฑ์ในการกํากับดูแลที่มีผลใช้บังคับในขณะนั้นหรือเพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองผู้ลงทุน ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ให้สํานักงานมีอํานาจสั่งการให้บริษัทจัดการกระทําการหรืองดเว้นกระทําการตามที่สํานักงานเห็นสมควรภายในระยะเวลาที่กําหนด (1) กองทุนรวมมีการจัดการที่มีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขตามที่ประกาศเกี่ยวข้องกําหนด แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการจัดการกองทุนรวมนั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติหรือหลักเกณฑ์ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (2) การจัดการกองทุนรวมอาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุน (3) การจัดการกองทุนรวมอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม (4) การจัดการกองทุนรวมอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุน หรืออาจทําให้ ผู้ลงทุนไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอการตัดสินใจลงทุน (5) การดําเนินการของกองทุนรวมไม่สอดคล้องกับโครงการที่ได้รับอนุมัติจากสํานักงาน อํานาจสั่งการตามวรรคหนึ่งให้รวมถึงการสั่งการในเรื่องดังนี้ (1) ชี้แจง หรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติม (2) แก้ไขลักษณะของกองทุนรวมให้ถูกต้อง (3) ระงับการเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติม ข้อ ๑๐ ประกาศนี้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
663
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 28/2563 เรื่อง การจัดทำและส่งงบการเงินไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ของบริษัทที่ไม่สามารถจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 28/2563 เรื่อง การจัดทําและส่งงบการเงินไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ของบริษัทที่ไม่สามารถ จัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี เนื่องจากสถานการณ์การระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ โดยที่สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ได้ส่งผลกระทบต่อการจัดประชุมที่มีการรวมตัวกันของบุคคลจํานวนมาก ซึ่งรวมถึงการประชุมสามัญประจําปีผู้ถือหุ้นของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ จึงมีเหตุจําเป็นและสมควรในการผ่อนผันเกี่ยวกับการจัดทําและส่งงบการเงินของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ต่อสํานักงาน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2559 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ที่ไม่อยู่ระหว่างค้างการนําส่งงบการเงินหรือรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําและจัดส่งต่อสํานักงานตามมาตรา 56 ข้อ ๒ ในกรณีที่บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ไม่สามารถจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีเพื่อแต่งตั้งผู้สอบบัญชีได้ เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ให้บริษัทส่งงบการเงินไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ซึ่งผ่านการสอบทานจากผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานและได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทดังกล่าวต่อสํานักงานได้ โดยบริษัทต้องเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นแต่งตั้งผู้สอบบัญชีรายดังกล่าวในการประชุมคราวต่อไป ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
664
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทลธ. 31/2563 เรื่อง การขยายระยะเวลาการให้ความเห็นชอบและการดำเนินการเกี่ยวกับการยื่นคำขอต่ออายุการให้ความเห็นชอบบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทลธ. 31/2563 เรื่อง การขยายระยะเวลาการให้ความเห็นชอบและการดําเนินการ เกี่ยวกับการยื่นคําขอต่ออายุการให้ความเห็นชอบบุคลากร ในธุรกิจตลาดทุน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ โดยที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ส่งผลกระทบต่อการดําเนินการใด ๆ ที่มีการรวมตัวกันของบุคคลจํานวนมาก ซึ่งรวมถึงการอบรมหลักสูตรทบทวนความรู้ (refresher course) หรือเข้าร่วมกิจกรรมสําหรับการยื่นคําขอต่ออายุการให้ความเห็นชอบบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 และมาตรา 113 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 100 มาตรา 114 มาตรา 115 มาตรา 116 และมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 133 วรรคสอง และมาตรา 134 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 และมาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “บุคลากรในธุรกิจตลาดทุน” หมายความว่า บุคลากรในธุรกิจตลาดทุนประเภทที่ได้รับความเห็นชอบดังต่อไปนี้ (1) ผู้จัดการกองทุน (2) ผู้จัดการลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (3) นักวิเคราะห์การลงทุน (4) ผู้แนะนําการลงทุน (5) ผู้วางแผนการลงทุน “ตารางคุณสมบัติของผู้ขอความเห็นชอบในการต่ออายุ” หมายความว่า ตารางที่แนบท้ายประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทลธ. 8/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน ลงวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทลธ. 70/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน (ฉบับที่ 10) ลงวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ดังต่อไปนี้ (1) ตารางคุณสมบัติของผู้ขอความเห็นชอบในการต่ออายุเป็นผู้จัดการกองทุนผู้จัดการลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ผู้จัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ และผู้จัดการของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน (2) ตารางคุณสมบัติของผู้ขอความเห็นชอบในการต่ออายุเป็นนักวิเคราะห์การลงทุน ผู้แนะนําการลงทุน ผู้วางแผนการลงทุน และเจ้าหน้าที่จัดการการซื้อขายด้านสินค้าเกษตร ข้อ ๒ ให้ขยายระยะเวลาการให้ความเห็นชอบบุคลากรในธุรกิจตลาดทุนที่มีอายุการให้ความเห็นชอบจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เป็นวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564 ให้บุคลากรในธุรกิจตลาดทุนตามวรรคหนึ่งที่ประสงค์จะขอต่ออายุการให้ความเห็นชอบ ยื่นคําขอต่อสํานักงานโดยต้องผ่านการอบรมหลักสูตรทบทวนความรู้ (refresher course) หรือเข้าร่วมกิจกรรม ตามที่กําหนดไว้ในตารางคุณสมบัติของผู้ขอความเห็นชอบในการต่ออายุ ภายในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2564 ทั้งนี้ การให้ความเห็นชอบดังกล่าวให้มีอายุจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2565 ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
665
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 35/2563 เรื่อง การจัดทำและส่งงบการเงินที่ครบกำหนดส่งภายในปี 2563 ของบริษัทที่ไม่สามารถจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำปี เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 35/2563 เรื่อง การจัดทําและส่งงบการเงินที่ครบกําหนดส่งภายในปี 2563 ของบริษัท ที่ไม่สามารถจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี เนื่องจากสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ตามที่ได้มีประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 28/2563 เรื่อง การจัดทําและส่งงบการเงินไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ของบริษัทที่ไม่สามารถจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปี เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ลงวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2563 เพื่อให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 สามารถนําส่งงบการเงินงวดไตรมาส 1 ปี 2563 ซึ่งสอบทานโดยผู้สอบบัญชีที่บริษัทแต่งตั้งได้ และโดยที่ปัจจุบันการจัดประชุมที่มีการรวมตัวกันของบุคคลจํานวนมากยังมีข้อติดขัดจากการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคและการจัดระเบียบ เช่น การเว้นระยะห่างระหว่างที่นั่ง เป็นต้น ประกอบกับการจัดประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ยังมีข้อจํากัดบางประการ เป็นเหตุให้บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ไม่สามารถจัดประชุมสามัญประจําปีผู้ถือหุ้นเพื่อแต่งตั้งผู้สอบบัญชีได้ จึงมีเหตุจําเป็นและสมควรในการผ่อนผันเกี่ยวกับการจัดทําและส่งงบการเงินของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ต่อสํานักงานต่อไป อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 56 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2559 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการจัดทําและส่งงบการเงินดังต่อไปนี้ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ที่ครบกําหนดส่งภายในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 โดยบริษัทดังกล่าวต้องไม่อยู่ระหว่างค้างการนําส่งงบการเงินหรือรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําและจัดส่งต่อสํานักงานตามมาตรา 56 (1) งบการเงินรายไตรมาสที่ผู้สอบบัญชีได้สอบทานแล้ว (2) งบการเงินประจํางวด 6 เดือนที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว เพื่อประโยชน์ตามความในวรรคหนึ่ง “ผู้สอบบัญชี” หมายความว่า ผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ข้อ ๒ ในกรณีที่บริษัทที่ออกหลักทรัพย์ไม่สามารถจัดประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจําปีเพื่อแต่งตั้งผู้สอบบัญชีได้ เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ให้บริษัทส่งงบการเงินตามข้อ 1 ซึ่งผ่านการสอบทานหรือตรวจสอบ แล้วแต่กรณี จากผู้สอบบัญชีที่ได้รับการแต่งตั้งจากบริษัทดังกล่าวต่อสํานักงานได้ โดยบริษัทต้องเสนอให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นแต่งตั้งผู้สอบบัญชีรายดังกล่าวในการประชุมคราวต่อไป ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
666
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน/จ. 36/2563 เรื่อง การผ่อนผันการดำเนินการของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน และทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน/จ. 36/2563 เรื่อง การผ่อนผันการดําเนินการของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน และทรัสต์เพื่อการลงทุนใน อสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ โดยที่สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ได้ส่งผลกระทบต่อการดําเนินการของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน และทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2559 มาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และมาตรา 129/3 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “กองทุนรวม” หมายความว่า กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน “กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์” หมายความว่า กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 แต่มิให้หมายความรวมถึงกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์พิเศษ “กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์พิเศษ” หมายความว่า กองทุนรวมดังต่อไปนี้ (1) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน (2) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง “กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน” หมายความว่า กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 “กองทรัสต์” หมายความว่า ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 “สถานการณ์โควิด 19” หมายความว่า สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) “บริษัทจัดการ” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนรวม “ผู้จัดการกองทรัสต์” หมายความว่า บุคคลที่ทําหน้าที่เป็นผู้จัดการกองทรัสต์ตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์ “ผู้ดูแลผลประโยชน์” หมายความว่า ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม “ผู้ยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหน่วยทรัสต์” หมายความว่า ผู้ยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหน่วยทรัสต์ตามประกาศออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ “ตลาดหลักทรัพย์” หมายความว่า ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย “ประกาศจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ “ประกาศจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน “ประกาศออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ข้อ ๒ ในกรณีที่บริษัทจัดการไม่สามารถดําเนินการตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์ในปี พ.ศ. 2563 ได้ตามปกติเนื่องจากได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ให้บริษัทจัดการได้รับผ่อนผันการตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ลงทุนในส่วนที่ต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2563 เมื่อแจ้งเหตุผลและความจําเป็นผ่านระบบการรับส่งข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์กําหนด ทั้งนี้ ก่อนวันครบระยะเวลาตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์ตามที่กําหนดไว้ในประกาศจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ในกรณีของการตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์ตามที่กําหนดในสัญญาแต่งตั้งผู้ดูแลผลประโยชน์ในส่วนที่ต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2563 บริษัทจัดการอาจผ่อนผันการดําเนินการดังกล่าวให้แก่ผู้ดูแลผลประโยชน์ได้ เมื่อได้แจ้งเหตุผลและความจําเป็นผ่านระบบการรับส่งข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ตามวรรคหนึ่งแล้ว ในระหว่างระยะเวลาตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง หากปรากฏเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อมูลค่าอสังหาริมทรัพย์อย่างมีนัยสําคัญ ให้บริษัทจัดการและผู้ดูแลผลประโยชน์ดําเนินการตรวจตราสภาพอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวโดยไม่ชักช้า ข้อ ๓ การจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์หรือกองทรัสต์ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ซึ่งส่งผลให้รายได้ประจําของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ลดลงจนไม่สามารถดํารงสัดส่วนรายได้สําหรับรอบปีบัญชี พ.ศ. 2563 หรือส่งผลให้กองทรัสต์ไม่สามารถดํารงสัดส่วนค่าเช่าที่อ้างอิงกับผลประกอบการหรือค่าเช่าที่กําหนดไว้แน่นอนล่วงหน้าได้ในปี พ.ศ. 2563 ตามประกาศจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ หรือประกาศออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ แล้วแต่กรณี ให้กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์หรือกองทรัสต์ได้รับการผ่อนผันโดยไม่ต้องจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ให้เป็นไปตามสัดส่วนรายได้ตามประกาศดังกล่าว ข้อ ๔ การขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนด้วยวิธีการส่งหนังสือขอมติในปี พ.ศ. 2563 บริษัทจัดการอาจส่งหนังสือขอมติจากผู้ถือหน่วยลงทุนล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 14 วันก่อนวันปิดรับหนังสือตอบกลับจากผู้ถือหน่วยลงทุน แทนการส่งหนังสือขอมติตามระยะเวลาที่กําหนดในประกาศจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ หรือประกาศจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน แล้วแต่กรณีได้ ข้อ ๕ การกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ที่ได้รับผลกระทบเนื่องจากสถานการณ์โควิด 19 ให้สามารถกู้ยืมเงินได้เพิ่มเติมจากการกู้ยืมเงินตามที่กําหนดในประกาศออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เป็นการกู้ยืมเงินระยะสั้นที่มีการทําสัญญากู้ยืมเงินและเบิกเงินกู้ครั้งแรกภายในปี พ.ศ. 2563 โดยมีกําหนดเวลาชําระหนี้เงินกู้ไม่เกิน 1 ปีนับแต่วันที่ทําสัญญากู้ยืมเงิน (2) เป็นการกู้ยืมเงินเพื่อวัตถุประสงค์ในการเสริมสภาพคล่องของกองทรัสต์ และต้องมิใช่เพื่อการจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์หรือการลดเงินทุนชําระแล้วของกองทรัสต์ (3) จํานวนเงินที่กู้ยืมดังกล่าวต้องไม่เกินค่าใช้จ่ายหรือภาระผูกพันอื่นของกองทรัสต์ตามงบการเงินปีล่าสุด หรือภาระผูกพันที่กองทรัสต์ต้องปฏิบัติตามสัญญาหรือตามข้อมูลที่ได้มีการเปิดเผยแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ไว้แล้วก่อนวันทําสัญญากู้ยืมเงิน เช่น ข้อมูลที่เปิดเผยไว้ในหนังสือชี้ชวนหรือแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี เป็นต้น (4) ต้องได้รับความเห็นชอบจากทรัสตีของกองทรัสต์ ข้อ ๖ การประเมินมูลค่าหรือการสอบทานการประเมินมูลค่าอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทุนรวมลงทุนในส่วนที่ต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2563 หากผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินของกองทุนรวมไม่สามารถดําเนินการได้เนื่องจากได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ให้บริษัทจัดการขอผ่อนผันการประเมินมูลค่าหรือการสอบทานการประเมินมูลค่าอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานต่อสํานักงานตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จัดส่งหนังสือขอผ่อนผันดังกล่าวที่มีข้อมูลตามวรรคสองต่อสํานักงาน ทั้งนี้ ก่อนวันครบระยะเวลาที่กําหนดไว้ในประกาศจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ หรือประกาศจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน แล้วแต่กรณี (2) เปิดเผยข้อมูลตามวรรคสองผ่านระบบการรับส่งข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์ตามแนวทางที่ตลาดหลักทรัพย์กําหนด หนังสือขอผ่อนผันตามวรรคหนึ่ง (1) ต้องแสดงข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) เหตุผลและความจําเป็นในการขอผ่อนผันซึ่งแสดงถึงข้อมูลอย่างน้อยดังนี้ (ก) ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับรายได้ของกองทุนรวมอันเนื่องมาจากสถานการณ์โควิด 19 (ข) อุปสรรคหรือข้อจํากัดในการดําเนินงานหรือการเข้าถึงข้อมูลซึ่งมีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อการประเมินมูลค่าอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน จนเป็นผลให้ผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินของกองทุนรวมไม่สามารถประเมินมูลค่าหรือสอบทานการประเมินมูลค่าอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานได้ (2) ข้อมูลอื่นที่จําเป็นและเป็นประโยชน์หรืออาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้ถือหน่วยลงทุนและผู้ลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ เช่น หนังสือแจ้งเหตุผลการไม่สามารถประเมินมูลค่าหรือสอบทานการประเมินมูลค่าอสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานจากผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินของกองทุนรวม เป็นต้น ข้อ ๗ การจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ซึ่งมีรอบปีบัญชีสิ้นสุดไม่เกินวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ให้บริษัทจัดการจ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วของรอบปีบัญชีนั้น ทั้งนี้ กําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วดังกล่าวให้ปรับปรุงเพิ่มเติมจากรายการตามประกาศจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ หรือประกาศจัดการกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานได้ ด้วยรายการผลต่างระหว่างรายได้ค่าเช่าค้างรับในรอบปีบัญชีก่อนหน้ากับรอบปีบัญชีปัจจุบัน ทั้งนี้ รายได้ค่าเช่าค้างรับตามวรรคหนึ่งให้รวมถึงรายได้ที่เกี่ยวเนื่องจากการให้เช่าค้างรับด้วย ข้อ ๘ ในกรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตไม่สามารถเสนอขายหน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนดในประกาศออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ เนื่องจากได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ให้ผู้ได้รับอนุญาตยื่นขอขยายระยะเวลาการเสนอขายหน่วยทรัสต์ต่อสํานักงานไม่น้อยกว่า 30 วันก่อนครบระยะเวลาที่กําหนดในประกาศออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ ทั้งนี้ ให้สํานักงานมีอํานาจขยายระยะเวลาตามที่เห็นสมควรแต่ไม่เกิน 12 เดือนนับแต่วันที่สํานักงานแจ้งผลการอนุญาตครั้งแรก ในกรณีที่รายงานประเมินมูลค่าทรัพย์สินมีอายุเกิน 1 ปีในวันที่กองทรัสต์เสนอขายหน่วยทรัสต์ หรือในกรณีที่มีปัจจัยอันอาจทําให้มูลค่าการประเมินทรัพย์สินเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสําคัญ ให้ผู้ได้รับอนุญาตจัดให้มีการปรับปรุงรายงานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินให้เป็นปัจจุบันก่อนดําเนินการเสนอขายหน่วยทรัสต์ ข้อ ๙ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
667
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 29/2558 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 7)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 29 /2558 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 7 ) ------------------------------------ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2335 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์เละตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกข้อ 5 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในข้อ 9 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นรู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน "ข้อ 9 เมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้สํานักงานดําเนินการสอบทานข้อเท็จจริงตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนและแจ้งประเด็นข้อสังเกตที่ได้จากการสอบทานข้อเท็จจริงเพื่อให้นิติบุคคลเฉพาะกิจชี้แจงข้อสังเกตนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือแจ้งข้อสังเกตโดยต้องดําเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน ให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขอภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สํานักงาน ได้รับคําชี้แจงต่อข้อสังเกตจากการสอบทานข้อเท็จจริงจากนิติบุคคลเฉพาะกิจ ในกรณีที่นิติบุคคลเฉพาะกิจประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงานก่อนที่สํานักงานจะเริ่มการพิจารณาตามวรรคสอง ทั้งนี้ ตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน โดยสํานักงานจะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาอนุญาตตามวรรคสอง" ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
668
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 59/2558 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 8)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 59/2558 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 8) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (5) ของข้อ 8 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์ เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(5) ภายในระยะเวลาห้าปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาต ผู้ขออนุญาตต้องไม่เคยฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ หรือเงื่อนไขภายหลังการได้รับอนุญาตอย่างมีนัยสําคัญ” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (7) ของข้อ 8 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 34/2557 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557 “(7) แสดงได้ว่าผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องไม่มีลักษณะตามข้อ 8/1 เว้นแต่ในกรณีที่ผู้มีสิทธิเสนอโครงการเป็นบริษัทที่มีหุ้นเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้มีสิทธิเสนอโครงการดังกล่าวต้องไม่มีลักษณะเฉพาะตามที่กําหนดในข้อ 8/1(1) (ก)” ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 8/1 และข้อ 8/2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 “ข้อ 8/1 ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องไม่มีลักษณะดังต่อไปนี้ เว้นแต่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดในข้อ 8/2 (1) ภายในระยะเวลาห้าปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องไม่มีลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) เคยมีประวัติฝ่าฝืนหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ในเรื่องที่มีนัยสําคัญ (ข) เคยถูกสํานักงานปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่เนื่องจากมีเหตุที่มีนัยสําคัญอันควรสงสัยเกี่ยวกับกลไกการบริหารจัดการในลักษณะดังต่อไปนี้ 1. อาจไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นได้อย่างเป็นธรรมโดยอาจมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งซึ่งจะทําให้ได้เปรียบผู้ถือหุ้นรายอื่นหรือได้ประโยชน์มากกว่าผู้ถือหุ้นรายอื่น โดยไม่สมควร 2. อาจไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นได้โดยทําให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ได้รับประโยชน์ทางการเงินนอกเหนือจากที่พึงได้ตามปกติ หรือโดยทําให้บริษัทเสียประโยชน์ที่พึงได้รับ (ค) เคยถูกสํานักงานปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่เนื่องจากมีเหตุที่ทําให้สงสัยเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนที่ไม่ครบถ้วน ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน หรือทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ซึ่งมีลักษณะเป็นการปกปิดหรืออําพราง หรือสร้างข้อมูลที่อาจไม่มีอยู่จริงในรายการหรือการดําเนินการที่มีนัยสําคัญ (ง) เคยถอนคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่โดยไม่มีการชี้แจงเหตุสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) ต่อสํานักงาน หรือโดยมีการชี้แจงแต่ไม่ได้แสดงข้อเท็จจริงหรือเหตุผลอย่างสมเหตุสมผลที่จะหักล้างข้อสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) นั้น (2) ภายในระยะเวลาสิบปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (3) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษหรือถูกดําเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริตอันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (4) เป็นบุคคลที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นการจัดรูปแบบเพื่อให้บุคคลที่มีลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3) หลีกเลี่ยงมิให้สํานักงานใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาตาม (1) (2) หรือ (3) กับบุคคลที่มีลักษณะดังกล่าวนั้น ข้อ 8/2 มิให้นําความในข้อ 8/1(1) และ (2) แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับกับผู้มีสิทธิเสนอโครงการซึ่งได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเหตุ ระบบงาน ระบบการบริหารจัดการ และการควบคุมการดําเนินงานที่ทําให้ผู้มีสิทธิเสนอโครงการมีลักษณะตามข้อ 8/1(1) หรือ (2) แล้ว” ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
669
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 14/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 9)
- ร่าง - ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 14/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 9) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (10) ของข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(10) “หุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการ” หมายความว่า หุ้นกู้ที่ออกใหม่ไม่ว่าชนิดใด ๆ แต่ไม่รวมถึงหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงซึ่งมีลักษณะเป็นหุ้นกู้แปลงสภาพ” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (3/1) ของข้อ 13 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 “(3/1) ในกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง หุ้นกู้ดังกล่าวต้องเป็นหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่ผู้ออกมีสิทธิในการบังคับไถ่ถอนคืนก่อนกําหนด (callable) หรือผู้ถือมีสิทธิเรียกให้ผู้ออกชําระหนี้คืนก่อนกําหนด (puttable) โดยมีการกําหนดผลตอบแทนไว้อย่างแน่นอนหรือเป็นอัตราที่ผันแปรตามอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยอื่น และไม่มีการกําหนดเงื่อนไขการจ่ายผลตอบแทนที่อ้างอิงกับปัจจัยอ้างอิงอื่นเพิ่มเติมเท่านั้น” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความใน (ข) ของ (3) ในข้อ 30 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 47/2557 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ข) มีลักษณะเป็นไปตามข้อ 12 และข้อ 13(1) (2) (3) และ (3/1)” ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
670
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 43/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 10)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 43/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 10) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (ข) ของ (2) ในข้อ 30 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ข) มีลักษณะเป็นไปตามข้อ 12 และข้อ 13(1) (2) (3) และ (3/1)” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
671
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 42/2563 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 42/2563 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 มาตรา 40(11) มาตรา 41(3) และ (4) มาตรา 42(10) มาตรา 43(3) และมาตรา 46 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ให้ยกเลิก (1) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 (2) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 4/2554 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2554 (3) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 38/2555 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2555 (4) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 14/2556 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556 (5) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 34/2557 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557 (6) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 47/2557 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 (7) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 29/2558 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 7) ลงวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (8) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 59/2558 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 8) ลงวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 (9) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 14/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 9) ลงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 (10) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 43/2559 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 10) ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ข้อ ๓ ในประกาศนี้ “บริษัท” หมายความว่า บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด “โครงการ” หมายความว่า โครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ “สินทรัพย์” หมายความว่า สินทรัพย์ตามพระราชกําหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 “ผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้” (servicer) หมายความว่า ผู้ที่ให้บริการเรียกเก็บและรับชําระหนี้ที่เกิดจากการรับโอนสินทรัพย์ที่เป็นสิทธิเรียกร้อง และดําเนินการอื่นใดเพื่อประโยชน์ตามโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ “ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้” หมายความว่า ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ซึ่งมีรายชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยคุณสมบัติของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ และการกระทําตามอํานาจหน้าที่ของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ “หุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการ” หมายความว่า หุ้นกู้ที่ออกใหม่ไม่ว่าชนิดใด ๆแต่ไม่รวมถึงหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงซึ่งมีลักษณะเป็นหุ้นกู้แปลงสภาพ “หุ้นกู้ด้อยสิทธิ” หมายความว่า หุ้นกู้ไม่มีประกันที่มีการกําหนดสิทธิของผู้ถือหุ้นกู้ไว้ด้อยกว่าสิทธิของเจ้าหนี้สามัญทั่วไป “หุ้นกู้แปลงสภาพ” หมายความว่า หุ้นกู้ที่อาจแปลงสภาพแห่งสิทธิเป็นหุ้นได้ “ข้อกําหนดสิทธิ” หมายความว่า ข้อกําหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้และผู้ถือหุ้นกู้ “สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย” หมายความว่า สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยที่ได้รับใบอนุญาตและจดทะเบียนกับสํานักงาน “ตราสารหนี้ขึ้นทะเบียน” หมายความว่า ตราสารหนี้ที่ขึ้นทะเบียนกับสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย “สถาบันการเงิน” หมายความว่า (1) ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจสถาบันการเงิน (2) สถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นซึ่งเป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมของสถาบันการเงิน “ตลาดหลักทรัพย์” หมายความว่า ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คําว่า “หุ้นกู้ระยะสั้น” “หุ้นกู้อนุพันธ์” “ผู้ลงทุนสถาบัน” “ผู้ลงทุนรายใหญ่” “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” “บริษัทย่อย” “ผู้บริหาร” “ผู้มีอํานาจควบคุม” “นิติบุคคลเฉพาะกิจ” และ “กิจการตามกฎหมายต่างประเทศ” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายตราสารหนี้ทุกประเภท อื่นๆ - ภาค 1 บททั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด ๑ ขอบเขตของประกาศและหลักเกณฑ์ทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔ ประกาศนี้เป็นหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ซึ่งรองรับกรณีดังต่อไปนี้ (1) การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการต่อประชาชนเป็นการทั่วไป ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่กําหนดไว้ในภาค 1 และภาค 2 (2) การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการในวงจํากัด ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่กําหนดไว้ในภาค 1 และภาค 3 (3) การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการ สําหรับ โครงการที่จะเสนอขายหุ้นกู้นั้นต่อผู้ลงทุนในต่างประเทศ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่กําหนดไว้ในภาค 1 และภาค 4 ผู้ขออนุญาตอาจกําหนดให้หุ้นกู้ที่ออกใหม่ซึ่งขออนุญาตตามวรรคหนึ่ง (1) หรือ (2)มีการชําระค่าหุ้นกู้เป็นสกุลเงินบาทหรือสกุลเงินตราต่างประเทศก็ได้ ทั้งนี้ ในกรณีที่กําหนดให้ชําระค่าหุ้นกู้เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ให้ผู้ขออนุญาตปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในภาค 5 ด้วย ข้อ ๕ ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการต่อสํานักงานก่อนการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในแต่ละครั้ง ข้อ ๖ นิติบุคคลเฉพาะกิจที่จะได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการ จะต้องเป็นบริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยที่มีวัตถุประสงค์จํากัดเฉพาะการประกอบธุรกิจเฉพาะเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ไม่เคยได้รับอนุญาตจากสํานักงานให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการอื่น เว้นแต่สิทธิเรียกร้องตามหุ้นกู้ดังกล่าวจะระงับไปทั้งหมดแล้ว (2) โครงการสําหรับหุ้นกู้ที่ขออนุญาตเป็นไปตามข้อกําหนดของประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการอนุมัติโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ และได้รับอนุมัติจากสํานักงานแล้ว ในกรณีสินทรัพย์ที่จะโอนไปยังนิติบุคคลเฉพาะกิจตามโครงการตามวรรคหนึ่งเป็นสิทธิเรียกร้องที่เกิดจากการอนุญาตให้ใช้สิทธิจากทรัพย์สินทางปัญญาของผู้มีสิทธิเสนอโครงการ ทรัพย์สินทางปัญญาดังกล่าวต้องจดทะเบียนหรือจดแจ้งกับกรมทรัพย์สินทางปัญญา หรือกับหน่วยงานอื่นในประเทศหรือต่างประเทศที่กํากับดูแลการจดทะเบียน จดแจ้ง หรือการอื่นใดในทํานองเดียวกันเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญานั้นแล้ว (3) มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนในการนําเงินที่ได้จากการจําหน่ายหุ้นกู้ไปชําระให้แก่ผู้มีสิทธิเสนอโครงการเพื่อเป็นค่าตอบแทนในการโอนสินทรัพย์ตามโครงการ (4) ในกรณีที่ผู้มีสิทธิเสนอโครงการของนิติบุคคลเฉพาะกิจเป็นกิจการตามกฎหมายต่างประเทศ และนิติบุคคลเฉพาะกิจจะเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่โดยให้ชําระค่าหุ้นกู้เป็นสกุลเงินบาท นิติบุคคลเฉพาะกิจจะต้องได้รับการอนุญาตให้ออกหุ้นกู้สกุลเงินบาทในประเทศไทยจากกระทรวงการคลัง ข้อ ๗ เอกสารหรือหลักฐานที่นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องยื่นต่อสํานักงานตามที่กําหนดในประกาศนี้ ไม่ว่าก่อนหรือภายหลังได้รับอนุญาตต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่สํานักงานประกาศกําหนด ข้อ ๘ ในกรณีผู้มีสิทธิเสนอโครงการเป็นกิจการตามกฎหมายต่างประเทศ หรือเป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่โดยมีการชําระค่าหุ้นกู้เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศพร้อมกันหรือในระยะเวลาใกล้เคียงกันในประเทศอื่นด้วย ผู้เสนอขายหุ้นกู้อาจยื่นข้อมูลหรือเอกสารต่อสํานักงานที่จัดทําเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ทั้งนี้ หากข้อมูลหรือเอกสารดังกล่าวแปลมาจากข้อมูลหรือเอกสารที่เป็นภาษาอื่น ผู้เสนอขายหุ้นกู้ดังกล่าวต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ด้วย (1) ดําเนินการให้ผู้แปลรับรองความถูกต้องว่า สาระของการแปลถูกต้องตรงตามสาระของข้อมูลหรือเอกสารที่เป็นต้นฉบับ (2) ผู้เสนอขายหุ้นกู้ต้องรับรองว่า สาระของข้อมูลหรือเอกสารที่แปลนั้นเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นหรือมีอยู่จริง และไม่ได้มีการปกปิดข้อเท็จจริงที่พึงเปิดเผย ข้อ ๙ ข้อมูลหรือเอกสารที่ยื่นต่อสํานักงานตามประกาศนี้ หากได้จัดทําเป็นภาษาใดในครั้งแรก ให้จัดทําโดยใช้ภาษานั้นต่อไปทุกครั้ง เว้นแต่กรณีที่มีเหตุจําเป็นสมควรและได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ข้อ ๑๐ ในการจําหน่ายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการต่อประชาชนเป็นการทั่วไปตามภาค 2 นิติบุคคลเฉพาะกิจที่ได้รับอนุญาตมีหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจําหน่ายตราสารหนี้และใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ที่ออกใหม่ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ด้วย หมวด ๒ อํานาจของสํานักงาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๑ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจไม่อนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการตามคําขออนุญาตได้ (1) นิติบุคคลเฉพาะกิจหรือการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการมีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการนั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือประกาศนี้ (2) การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการอาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐ (3) การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม (4) การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุนโดยรวม หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนโดยรวมไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน ข้อ ๑๒ ในกรณีที่เข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจผ่อนผันไม่นําหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้มาใช้พิจารณาคําขออนุญาต หรือไม่นําเงื่อนไขตามประกาศนี้มาใช้บังคับกับการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการที่ได้รับอนุญาตได้ (1) มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจนซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผันให้ไม่มีนัยสําคัญสําหรับการพิจารณาอนุญาตในกรณีนั้น และประโยชน์ที่จะได้ไม่คุ้มค่ากับต้นทุนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขดังกล่าว (2) นิติบุคคลเฉพาะกิจมีข้อจํากัดตามกฎหมายอื่นที่ทําให้ไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน (3) นิติบุคคลเฉพาะกิจมีมาตรการอื่นที่เพียงพอ และสามารถทดแทนการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน การผ่อนผันตามวรรคหนึ่งให้คํานึงถึงความเหมาะสมและความเพียงพอของข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนและมาตรการคุ้มครองผู้ลงทุนเป็นสําคัญ ทั้งนี้ สํานักงานอาจกําหนดเงื่อนไขให้นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องปฏิบัติด้วยก็ได้ ข้อ ๑๓ ในกรณีที่ปรากฏต่อสํานักงานภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการว่าข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ที่สํานักงานนํามาพิจารณาเพื่ออนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นปรากฏต่อสํานักงานก่อนการอนุญาต สํานักงานอาจไม่อนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการนั้น ให้สํานักงานมีอํานาจดังต่อไปนี้ (1) สั่งให้นิติบุคคลเฉพาะกิจ กรรมการ หรือผู้บริหารของนิติบุคคลเฉพาะกิจ ชี้แจงหรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมภายในระยะเวลาที่กําหนด และระงับการอนุญาตให้ออกหุ้นกู้ตามโครงการหรือให้นิติบุคคลเฉพาะกิจระงับการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการไว้ก่อนจนกว่าจะได้ชี้แจงหรือแก้ไขให้ถูกต้อง และหากนิติบุคคลเฉพาะกิจ กรรมการ หรือผู้บริหารของนิติบุคคลเฉพาะกิจ ไม่สามารถชี้แจงหรือดําเนินการแก้ไขให้ถูกต้องได้ภายในระยะเวลาที่กําหนด สํานักงานอาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตตาม (2) ได้ (2) สั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในส่วนที่ยังไม่ได้เสนอขายหรือยังไม่มีผู้จองซื้อ ในการสั่งการตามวรรคหนึ่งให้สํานักงานคํานึงถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ประกอบการพิจารณา (1) ความร้ายแรงของข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป (2) ผลกระทบต่อผู้ลงทุนที่จองซื้อหุ้นกู้ตามโครงการนั้น ข้อ ๑๔ ในกรณีที่ปรากฏว่านิติบุคคลเฉพาะกิจเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการต่อประชาชนเป็นการทั่วไปหรือเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ มีลักษณะไม่เป็นไปตามข้อ 16(4) ในการแจ้งผลการพิจารณาคําขออนุญาต ให้สํานักงานมีอํานาจกําหนดระยะเวลาหรือเงื่อนไขในการพิจารณาคําขออนุญาตในคราวต่อไป โดยคํานึงถึงความมีนัยสําคัญของพฤติกรรมอันเป็นลักษณะต้องห้าม ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นการกําหนดระยะเวลา ระยะเวลาดังกล่าวต้องไม่เกิน 15 ปีนับแต่วันที่สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาดังกล่าวต่อนิติบุคคลเฉพาะกิจ เมื่อพ้นระยะเวลาที่สํานักงานกําหนดตามวรรคหนึ่ง หรือเมื่อนิติบุคคลเฉพาะกิจได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่สํานักงานกําหนดแล้ว ไม่ให้สํานักงานนําข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุแห่งการสั่งการตามวรรคหนึ่งมาประกอบการพิจารณาคําขอในครั้งใหม่อีก ในกรณีที่สํานักงานเห็นว่าเหตุที่ทําให้นิติบุคคลเฉพาะกิจมีลักษณะไม่เป็นไปตาม ข้อ 16(4) เป็นเรื่องไม่ร้ายแรง หรือได้มีการแก้ไขหรือกําหนดมาตรการป้องกันแล้ว สํานักงานอาจไม่นําข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการขาดลักษณะดังกล่าวมาใช้ประกอบการพิจารณาก็ได้ ข้อ ๑๕ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจสั่งไม่ให้การอนุญาตสําหรับการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดที่ได้รับอนุญาตมีผล สั่งระงับการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการ หรือสั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการได้ แล้วแต่กรณี (1) ผู้ที่จะเสนอขายหุ้นกู้มีข้อบกพร่องหรือมีความไม่เหมาะสมเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ หรือจะไม่สามารถปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ (2) การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการมีลักษณะที่อาจเข้าข่ายเป็นการหลีกเลี่ยงกฎเกณฑ์ที่ออกภายใต้กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน (3) การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุนหรืออาจทําให้ผู้ลงทุนไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่มีนัยสําคัญต่อการตัดสินใจลงทุน อื่นๆ - ภาค 2 การเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการ ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด ๑ หลักเกณฑ์การอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๖ นิติบุคคลเฉพาะกิจจะได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการในภาคนี้ได้ ต้องมีลักษณะเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) งบการเงินของนิติบุคคลเฉพาะกิจและงบการเงินรวมประจํางวดการบัญชีปีล่าสุดและงบการเงินไตรมาสสุดท้ายก่อนยื่นคําขออนุญาต ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) จัดทําขึ้นตามมาตรฐานรายงานทางการเงินและเป็นไปตามหลักเกณฑ์อื่นที่เกี่ยวข้องกับการจัดทํางบการเงินตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการรายงานการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (ข) รายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี ต้องไม่มีความหมายในลักษณะดังนี้ 1. ไม่แสดงความเห็นต่องบการเงินของนิติบุคคลเฉพาะกิจและงบการเงินรวมหรือแสดงความเห็นว่างบการเงินไม่ถูกต้อง 2. แสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขในรายการบัญชีที่เป็นสาระสําคัญว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 3. แสดงความเห็นว่าถูกจํากัดขอบเขตการตรวจสอบโดยการกระทําหรือไม่กระทําของนิติบุคคลเฉพาะกิจ หรือกรรมการหรือผู้บริหารของนิติบุคคลเฉพาะกิจ (2) ไม่อยู่ระหว่างการดําเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งดังนี้ เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน (ก) ค้างการนําส่งงบการเงินหรือรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําตามมาตรา 56 (ข) ค้างส่งรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําและจัดส่งต่อสํานักงานตามมาตรา 57 หรือค้างส่งรายงานในลักษณะเดียวกันต่อตลาดหลักทรัพย์ (ค) ปรับปรุงแก้ไขงบการเงิน หรือรายงานที่มีหน้าที่ต้องจัดทําตามมาตรา 56 หรือมาตรา 57 ตามที่สํานักงานแจ้งให้ดําเนินการปรับปรุงแก้ไข หรือปรับปรุงแก้ไขในลักษณะเดียวกันตามที่ตลาดหลักทรัพย์แจ้งให้ดําเนินการ (ง) ปฏิบัติตามคําสั่งของสํานักงานหรือตลาดหลักทรัพย์ตามมาตรา 58 หรือตามมาตรา 199 ประกอบมาตรา 58 แล้วแต่กรณี (3) มีกรรมการและผู้บริหารที่มีรายชื่ออยู่ในระบบข้อมูลรายชื่อกรรมการและผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์การแสดงชื่อบุคคลในระบบข้อมูลรายชื่อกรรมการและผู้บริหารของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ (4) ในกรณีที่ผู้มีอํานาจควบคุมไม่ได้เป็นกิจการตามกฎหมายต่างประเทศ ต้องไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าผู้มีอํานาจควบคุมมีลักษณะขาดความน่าไว้วางใจตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดลักษณะขาดความน่าไว้วางใจของกรรมการและผู้บริหารของบริษัท โดยอนุโลม (5) ภายในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาต นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องไม่เคยฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ หรือเงื่อนไขภายหลังการได้รับอนุญาตอย่างมีนัยสําคัญ (6) แสดงได้ว่าผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องไม่มีลักษณะตามข้อ 17 เว้นแต่ในกรณีที่ผู้มีสิทธิเสนอโครงการเป็นบริษัทที่มีหุ้นเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการดังกล่าวต้องไม่มีลักษณะเฉพาะตามที่กําหนดในข้อ 17(1) (ก) (7) ไม่เคยเสนอขายหุ้นกู้ไม่ว่าประเภทใด ๆ ตั๋วเงิน หรือศุกูก โดยฝ่าฝืนข้อกําหนดเกี่ยวกับลักษณะการเสนอขายที่จํากัดเฉพาะผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ ภายในระยะเวลา 2 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาต เว้นแต่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน โดยนิติบุคคลเฉพาะกิจแสดงได้ว่ามีเหตุจําเป็นและสมควร รวมทั้งมีมาตรการจัดการเกี่ยวกับการเสนอขายอย่างเหมาะสมแล้ว (8) ไม่มีเหตุที่ทําให้สงสัยว่ามีพฤติกรรมการเปิดเผยข้อมูลที่มีนัยสําคัญต่อประชาชนไม่ครบถ้วน ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุน หรือในลักษณะที่อาจทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด (9) ไม่อยู่ระหว่างผิดนัดชําระหนี้เงินต้นหรือดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือผิดนัดชําระหนี้เงินกู้ยืมจากธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ หรือสถาบันการเงินที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น (10) ไม่อยู่ระหว่างผิดเงื่อนไขในการปฏิบัติตามข้อกําหนดสิทธิ ข้อ ๑๗ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องไม่มีลักษณะดังต่อไปนี้ เว้นแต่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดในข้อ 18 (1) ภายในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการต้องไม่มีลักษณะดังต่อไปนี้ (ก) เคยมีประวัติฝ่าฝืนหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ในเรื่องที่มีนัยสําคัญ (ข) เคยถูกสํานักงานปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ เนื่องจากมีเหตุที่มีนัยสําคัญอันควรสงสัยเกี่ยวกับกลไกการบริหารจัดการในลักษณะดังนี้ 1. อาจไม่สามารถปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นได้อย่างเป็นธรรมโดยอาจมีการเอื้อประโยชน์ให้แก่ผู้ถือหุ้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งซึ่งจะทําให้ได้เปรียบผู้ถือหุ้นรายอื่นหรือได้ประโยชน์มากกว่าผู้ถือหุ้นรายอื่นโดยไม่สมควร 2. อาจไม่สามารถรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นได้โดยทําให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งได้รับประโยชน์ทางการเงินนอกเหนือจากที่พึงได้ตามปกติ หรือโดยทําให้บริษัทเสียประโยชน์ที่พึงได้รับ (ค) เคยถูกสํานักงานปฏิเสธคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่เนื่องจากมีเหตุที่ทําให้สงสัยเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลต่อประชาชนที่ไม่ครบถ้วน ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจลงทุนหรือทําให้ผู้ลงทุนสําคัญผิด ซึ่งมีลักษณะเป็นการปกปิดหรืออําพราง หรือสร้างข้อมูลที่อาจไม่มีอยู่จริงในรายการหรือการดําเนินการที่มีนัยสําคัญ (ง) เคยถอนคําขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่โดยไม่มีการชี้แจงเหตุสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) ต่อสํานักงาน หรือโดยมีการชี้แจงแต่ไม่ได้แสดงข้อเท็จจริงหรือเหตุผลอย่างสมเหตุสมผลที่จะหักล้างข้อสงสัยตาม (ข) หรือ (ค) นั้น (2) ภายในระยะเวลา 10 ปีก่อนวันยื่นคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการเคยต้องคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริต อันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (3) อยู่ระหว่างถูกกล่าวโทษหรือถูกดําเนินคดีในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เฉพาะในมูลเหตุเนื่องจากการดําเนินการที่มีลักษณะหลอกลวง ฉ้อโกง หรือทุจริตอันเป็นเหตุที่ทําให้เกิดความเสียหายในวงกว้าง ทั้งนี้ ไม่ว่าตามกฎหมายไทยหรือกฎหมายต่างประเทศ (4) เป็นบุคคลที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นการจัดรูปแบบเพื่อให้บุคคลที่มีลักษณะตาม (1) (2) หรือ (3) หลีกเลี่ยงมิให้สํานักงานใช้หลักเกณฑ์การพิจารณาตาม (1) (2) หรือ (3) กับบุคคลที่มีลักษณะดังกล่าวนั้น ข้อ ๑๘ มิให้นําความในข้อ 17(1) และ (2) แล้วแต่กรณี มาใช้บังคับกับผู้มีสิทธิเสนอโครงการซึ่งได้แก้ไขเปลี่ยนแปลงเหตุ ระบบงาน ระบบการบริหารจัดการ และการควบคุมการดําเนินงานที่ทําให้ผู้มีสิทธิเสนอโครงการมีลักษณะตามข้อ 17(1) หรือ (2) แล้ว ข้อ ๑๙ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องจัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ หมวด ๒ วิธีการยื่นและการพิจารณาคําขออนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๐ ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจที่ประสงค์จะเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการในแต่ละครั้งยื่นคําขออนุญาตมาพร้อมกับแบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหุ้นกู้ต่อสํานักงานตามวิธีการที่กําหนดโดยข้อ 7 ข้อ ๒๑ ในการขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ตามข้อ 20 ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจยื่นคําขอความเห็นชอบบุคคลที่จะเป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้มาพร้อมกับคําขออนุญาตด้วย ทั้งนี้ ให้ถือว่านิติบุคคลเฉพาะกิจได้รับความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้จากสํานักงานในวันที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการ ข้อ ๒๒ ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจชําระค่าธรรมเนียมคําขออนุญาตต่อสํานักงานเมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาต พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาตที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ทั้งนี้ อัตราค่าธรรมเนียมให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการขออนุญาตเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ และการขออนุมัติโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ข้อ ๒๓ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องจัดให้มีที่ปรึกษาทางการเงินเป็นผู้ร่วมจัดทําคําขออนุญาต ข้อ ๒๔ เมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการ พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้สํานักงานดําเนินการสอบทานข้อเท็จจริงตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนและแจ้งประเด็นข้อสังเกตที่ได้จากการสอบทานข้อเท็จจริงเพื่อให้นิติบุคคลเฉพาะกิจชี้แจงข้อสังเกตนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือแจ้งข้อสังเกต โดยต้องดําเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 90 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน และให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาภายใน 30 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับคําชี้แจงต่อข้อสังเกตจากการสอบทานข้อเท็จจริงจากนิติบุคคลเฉพาะกิจ ในกรณีที่นิติบุคคลเฉพาะกิจประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงานก่อนที่สํานักงานจะเริ่มการพิจารณาคําขออนุญาต ทั้งนี้ ตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชน โดยสํานักงานจะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาอนุญาต หมวด ๓ เงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๕ เมื่อได้รับอนุญาตจากสํานักงาน นิติบุคคลเฉพาะกิจอาจเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) เสนอขายหุ้นกู้รุ่นหนึ่งหรือหลายรุ่นในคราวเดียว (2) เสนอขายหุ้นกู้รุ่นใหม่เพื่อไถ่ถอนหุ้นกู้รุ่นเดิมภายใต้วงเงินที่ระบุไว้ตามโครงการ โดยหุ้นกู้ที่เสนอขายเพื่อไถ่ถอนหุ้นกู้เดิมนั้นจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) มีกําหนดระยะเวลาการไถ่ถอนไว้ไม่เกินอายุโครงการ (ข) เป็นหุ้นกู้ที่เสนอขายภายใต้ข้อกําหนดสิทธิหลักฉบับเดียวกันหรือที่ให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้ถือหุ้นกู้ที่ออกใหม่ไม่ด้อยไปกว่าผู้ถือหุ้นกู้รุ่นเดิมที่จะไถ่ถอน ทั้งนี้ หุ้นกู้แต่ละรุ่นอาจมีข้อกําหนดในเชิงพาณิชย์ (commercial terms) ที่แตกต่างกันได้ เช่น อัตราดอกเบี้ย อายุ วันที่ออกวันที่ครบกําหนดไถ่ถอน เป็นต้น สํานักงานอาจผ่อนผันการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่งได้ หากนิติบุคคลเฉพาะกิจแสดงได้ว่าการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่ขออนุญาตจะไม่มีผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นกู้ที่นิติบุคคลเฉพาะกิจเคยออกและเสนอขายไปแล้ว ข้อ ๒๖ ในการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการที่ได้รับอนุญาตตามภาคนี้ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องดําเนินการจัดให้หุ้นกู้ที่ออกและเสนอขายตามโครงการมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) มีคําเรียกชื่อเป็นการเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงถึงหุ้นกู้ที่เสนอขายในแต่ละครั้ง ทั้งนี้ คําเรียกชื่อหุ้นกู้ตามโครงการดังกล่าวต้องแสดงถึงปีที่ครบกําหนดไถ่ถอนและลักษณะพิเศษของหุ้นกู้ตามโครงการ (ถ้ามี) ไว้โดยชัดเจน (2) มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยไว้อย่างแน่นอน หรือเป็นอัตราที่ผันแปรตามอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยอื่น (3) มีมูลค่าไถ่ถอนรวมเท่ากับมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นกู้ตามโครงการ ทั้งนี้ ไม่ว่าหุ้นกู้ตามโครงการนั้นจะมีการไถ่ถอนครั้งเดียวหรือหลายครั้ง (4) ในกรณีที่เป็นการออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง หุ้นกู้ดังกล่าวต้องเป็นหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงที่ผู้ออกมีสิทธิในการบังคับไถ่ถอนคืนก่อนกําหนด (callable) หรือผู้ถือมีสิทธิเรียกให้ผู้ออกชําระหนี้คืนก่อนกําหนด (puttable) โดยมีการกําหนดผลตอบแทนไว้อย่างแน่นอนหรือเป็นอัตราที่ผันแปรตามอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยอื่น และไม่มีการกําหนดเงื่อนไขการจ่ายผลตอบแทนที่อ้างอิงกับปัจจัยอ้างอิงอื่นเพิ่มเติมเท่านั้น (5) จัดให้สัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 32 ข้อ ๒๗ ในกรณีหุ้นกู้ที่เสนอขายตามโครงการเป็นหุ้นกู้ด้อยสิทธิ สิทธิของผู้ถือหุ้นกู้ตามโครงการดังกล่าวต้องด้อยกว่าสิทธิของเจ้าหนี้สามัญเฉพาะในเรื่องการรับชําระหนี้ตามหุ้นกู้ตามโครงการนั้นเมื่อเกิดกรณีดังต่อไปนี้ (1) นิติบุคคลเฉพาะกิจถูกพิทักษ์ทรัพย์ หรือถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลาย (2) มีการชําระบัญชีเพื่อการเลิกนิติบุคคลเฉพาะกิจ (3) กรณีอื่นใดที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ข้อ ๒๘ ในกรณีหุ้นกู้ที่เสนอขายตามโครงการเป็นหุ้นกู้มีประกันไม่ว่าหลักประกันของหุ้นกู้ตามโครงการนั้น จะได้จัดให้มีพร้อมกับการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการหรือจัดเพิ่มเติมขึ้นในภายหลัง หลักประกันของหุ้นกู้ตามโครงการดังกล่าวต้องมีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) เป็นทรัพย์สินหรือการค้ําประกันที่มีการดําเนินการให้มีผลบังคับได้ตามกฎหมายโดยคํานึงถึงสภาพของหลักประกันแต่ละประเภท สามารถดํารงได้ตลอดอายุหุ้นกู้ตามโครงการ และดูแลได้โดยผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ทั้งนี้ ทรัพย์สินที่เป็นหรือเกี่ยวข้องกับหลักประกันซึ่งเป็นทรัพย์สินอื่นใดที่ไม่ใช่ตราสารทางการเงิน ทรัพย์สินดังกล่าวต้องอยู่ในประเทศไทยและบังคับได้ตามกฎหมายไทย (2) ในกรณีที่หลักประกันเป็นอสังหาริมทรัพย์หรือสัญญาเช่าระยะยาว นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องจัดให้มีการประเมินค่าของหลักประกันดังกล่าวโดยผู้ประเมินราคาทรัพย์สินที่อยู่ในบัญชีที่สํานักงานให้ความเห็นชอบ ทั้งนี้ การประเมินราคาหรือการคํานวณมูลค่าของหลักประกันต้องคํานึงถึงสิทธิและภาระผูกพันใด ๆ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นโดยบทกฎหมายหรือโดยสัญญาที่มีอยู่เหนือทรัพย์สินอันเป็นหลักประกันนั้นด้วย และต้องจัดทําขึ้นไม่เกินกว่า 1 ปีก่อนวันที่ออกหุ้นกู้ตามโครงการนั้น เว้นแต่จะเป็นกรณีที่ราคาหรือมูลค่าของหลักประกันได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสําคัญในช่วงเวลาดังกล่าวให้นิติบุคคลเฉพาะกิจจัดให้มีการประเมินค่าหลักประกันดังกล่าวใหม่ ข้อ ๒๙ ในกรณีการออกหุ้นกู้ตามโครงการมีประกันโดยหลักประกันเป็นอสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ประเภทที่ต้องจดทะเบียนตามกฎหมาย นิติบุคคลเฉพาะกิจจะต้องดําเนินการจดทะเบียนให้ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้เป็นผู้รับทรัพย์สินนั้นเป็นประกันตามกฎหมายด้วย ข้อ ๓๐ ก่อนการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องมีหนังสือถึงสํานักงานเพื่อรับรองว่าได้จัดให้มีข้อกําหนดสิทธิของหุ้นกู้ที่เสนอขายตามโครงการที่มีความชัดเจนและไม่มีข้อกําหนดที่เป็นการเอาเปรียบคู่สัญญาอย่างไม่เป็นธรรม และมีการลงลายมือชื่อผู้มีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลเฉพาะกิจและประทับตราสําคัญของนิติบุคคลเฉพาะกิจ (ถ้ามี) ทั้งนี้ รายการและสาระสําคัญของข้อกําหนดสิทธิให้เป็นไปตามมาตรา 42 นอกจากรายการตามวรรคหนึ่งแล้ว ข้อกําหนดสิทธิของหุ้นกู้ที่เสนอขายตามโครงการอย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้ด้วย (1) รายการทั่วไปของโครงการ ซึ่งอย่างน้อยต้องระบุถึงชื่อและที่อยู่ของผู้มีสิทธิเสนอโครงการ รวมทั้งประเภท ลักษณะและมูลค่าของสินทรัพย์ที่นิติบุคคลเฉพาะกิจรับโอนมาจากผู้มีสิทธิเสนอโครงการ (2) ข้อกําหนดให้นิติบุคคลเฉพาะกิจหรือผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ต้องจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นกู้เพื่อพิจารณาดําเนินการอันจําเป็นตามควรโดยไม่ชักช้า ในกรณีที่ผู้มีสิทธิเสนอโครงการนิติบุคคลเฉพาะกิจ หรือบุคคลอื่นใดที่เป็นคู่สัญญาที่มีภาระผูกพันตามสัญญาที่ก่อขึ้นเพื่อประโยชน์ในการดําเนินการตามโครงการ ไม่ปฏิบัติตามสัญญาในสาระสําคัญ (3) ชื่อและที่อยู่ของผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้ และผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้สํารอง (ถ้ามี) รวมทั้งข้อกําหนดให้การแต่งตั้งผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้รายใหม่ ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ก่อนการแต่งตั้ง (4) ข้อกําหนดให้นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องรายงานให้ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ (ถ้ามี) ทราบถึงการซื้อสินทรัพย์ รับโอน หรือโอนคืนสินทรัพย์ให้กับผู้มีสิทธิเสนอโครงการภายในกําหนดระยะเวลา 15 วันนับแต่วันสิ้นเดือนที่มีการทํารายการดังกล่าว ข้อ ๓๑ การแก้ไขเพิ่มเติมสิทธิ หน้าที่ ความรับผิด หรือหลักประกันตามหุ้นกู้ตามโครงการภายหลังการออกหุ้นกู้ตามโครงการนั้น จะกระทําได้ต่อเมื่อการแก้ไขเพิ่มเติมนั้นไม่ได้ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดของประกาศนี้ และการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าวได้ดําเนินการโดยชอบตามข้อกําหนดสิทธิ โดยนิติบุคคลเฉพาะกิจต้องแจ้งการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว พร้อมทั้งส่งสําเนาเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อสํานักงานและสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยภายใน 15 วันนับแต่วันที่การแก้ไขเพิ่มเติมนั้นมีผลใช้บังคับ ในกรณีที่การดําเนินการตามวรรคหนึ่ง เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมข้อกําหนดสิทธิซึ่งได้กําหนดให้กระทําได้โดยการมีมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นกู้ตามโครงการ หนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นกู้ตามโครงการต้องระบุอย่างชัดเจนถึงสาเหตุแห่งการแก้ไขเพิ่มเติมข้อกําหนดสิทธิ และผลกระทบที่เกิดขึ้นหรืออาจเกิดขึ้นกับผู้ถือหุ้นกู้ตามโครงการ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้ถือหุ้นกู้ตามโครงการ ข้อ ๓๒ ในกรณีหุ้นกู้ที่เสนอขายตามโครงการเป็นหุ้นกู้ที่จัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องจัดให้สัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้มีความสอดคล้องกับข้อกําหนดสิทธิโดยอย่างน้อยต้องมีรายการและสาระสําคัญดังต่อไปนี้ (1) ชื่อและที่อยู่ของคู่สัญญา (2) วันที่สัญญามีผลใช้บังคับ (3) อํานาจ หน้าที่ และความรับผิดของคู่สัญญา โดยมีข้อตกลงที่ระบุให้นิติบุคคลเฉพาะกิจ และผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้มีอํานาจ หน้าที่ และความรับผิดตามข้อกําหนดสิทธิทุกประการ (4) อัตราและวิธีการจ่ายค่าตอบแทน หรือบําเหน็จในการปฏิบัติหน้าที่ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ซึ่งต้องกําหนดไว้เป็นจํานวนที่แน่นอน รวมทั้งอัตราและวิธีการจ่ายคืนเงินทดรองซึ่งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ได้จ่ายไปเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ (5) ข้อกําหนดให้ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ต้องติดตามให้ผู้มีสิทธิเสนอโครงการ นิติบุคคลเฉพาะกิจ ผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้และผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้สํารอง (ถ้ามี) หรือบุคคลอื่นใดที่เป็นคู่สัญญาที่มีภาระผูกพันตามสัญญาที่ก่อขึ้นเพื่อประโยชน์ในการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการดําเนินการตามสัญญาที่เกี่ยวข้องกับโครงการ (6) การสิ้นสุดของสัญญา ข้อ ๓๓ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องจัดให้มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือโดยสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานก่อนการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการ และจัดทําอย่างต่อเนื่องตลอดอายุของหุ้นกู้ ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) อันดับความน่าเชื่อถือของหุ้นกู้ที่เสนอขายในแต่ละครั้งตามโครงการ (2) อันดับความน่าเชื่อถือของผู้ค้ําประกันหุ้นกู้ตามโครงการ เฉพาะในกรณีที่เป็นการค้ําประกันเต็มจํานวนที่มีผลบังคับให้ผู้ค้ําประกันต้องรับผิดร่วมกันกับลูกหนี้ โดยไม่สามารถเพิกถอนได้ก่อนครบอายุของหุ้นกู้ตามโครงการ ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับกรณีดังนี้ (1) สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานได้มีหนังสือแจ้งต่อสํานักงานว่าไม่สามารถทําการจัดอันดับความน่าเชื่อถือหุ้นกู้ตามโครงการนั้นได้โดยมีเหตุอันสมควร และเหตุดังกล่าวไม่ได้เกิดจากนิติบุคคลเฉพาะกิจ สํานักงานอาจผ่อนผันให้การจัดอันดับความน่าเชื่อถือนั้นกระทําโดยสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถืออื่นที่สํานักงานกําหนดได้ (2) กรณีที่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน โดยมีเหตุจําเป็นและสมควร หรือเป็นกรณีที่พิจารณาได้ว่าไม่จําเป็นต้องมีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ข้อ ๓๔ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องยื่นคําขอให้สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยพิจารณารับหุ้นกู้ที่ออกและเสนอขายตามโครงการเป็นตราสารหนี้ขึ้นทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันออกหุ้นกู้ตามโครงการดังกล่าว เว้นแต่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ระยะสั้น ข้อ ๓๕ ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจส่งรายงานดังต่อไปนี้ ต่อสํานักงานตามวิธีการที่กําหนดโดยข้อ 7 (1) รายงานการเปลี่ยนแปลงผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ภายหลังการออกหุ้นกู้ตามโครงการทั้งนี้ เมื่อนิติบุคคลเฉพาะกิจได้ส่งเอกสารต่อสํานักงานครบถ้วนแล้ว ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจเปลี่ยนแปลงผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ได้ โดยถือว่าได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานแล้ว และให้นิติบุคคลเฉพาะกิจส่งสําเนาสัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ต่อสํานักงานภายใน 15 วันนับแต่วันแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ตามโครงการนั้น (2) รายงานการไถ่ถอนหุ้นกู้ก่อนวันครบกําหนดไถ่ถอน ทั้งนี้ ภายใน 15 วันนับแต่วันที่มีการไถ่ถอน ข้อ ๓๖ นิติบุคคลเฉพาะกิจที่ได้รับอนุญาตต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ดําเนินการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ให้เป็นไปตามโครงการ โดยต้องรับโอนสินทรัพย์ตามจํานวนขั้นต่ําที่ระบุไว้ในโครงการให้แล้วเสร็จภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่สํานักงานอนุมัติโครงการ ทั้งนี้ เว้นแต่จะได้รับการผ่อนผันจากคณะกรรมการ ก.ล.ต. (2) ต้องเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการที่ได้รับอนุญาตให้แล้วเสร็จภายใน 3 ปีนับแต่วันที่ได้รับอนุญาต เว้นแต่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้รุ่นใหม่เพื่อไถ่ถอนหุ้นกู้รุ่นเดิมตามข้อ 25(2) (3) จัดให้มีผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้ โดยอาจจัดให้มีผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้สํารองด้วยก็ได้ ในกรณีที่ผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้หรือผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้สํารอง (ถ้ามี) ไม่ใช่ ผู้มีสิทธิเสนอโครงการ ผู้ให้บริการดังกล่าวต้องเป็นบุคคลดังนี้ (ก) สถาบันการเงิน (ข) บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ (ค) หน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นเพื่อบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพของสถาบันการเงินตามกฎหมายหรือนโยบายของทางการ (ง) นิติบุคคลที่มีลักษณะตามที่สํานักงานประกาศกําหนด ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงความสามารถในการให้บริการหรือการจัดให้มีระบบเพื่อรองรับการเรียกเก็บหนี้ (4) ปฏิบัติให้เป็นไปตามโครงการที่ได้รับอนุมัติจากสํานักงาน (5) รายงานการผิดนัดชําระหนี้เงินต้นหรือดอกเบี้ยต่อผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ภายใน 1 วันทําการนับแต่วันที่ปรากฏเหตุผิดนัด ข้อ ๓๗ ในกรณีที่เป็นหุ้นกู้ที่ออกภายใต้โครงการที่ได้รับอนุญาตตามพระราชกําหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ด้วย (1) ต้องระบุไว้ให้ชัดเจนในคําเรียกชื่อหุ้นกู้ด้วยว่าเป็นหุ้นกู้ที่ออกภายใต้โครงการที่ได้รับอนุมัติตามกฎหมายดังกล่าว และเป็นนิติบุคคลเฉพาะกิจที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลหรือไม่ (2) เมื่อสถานะนิติบุคคลเฉพาะกิจสิ้นสุดลง ให้โอนสินทรัพย์และผลประโยชน์คงเหลือทั้งหมดกลับคืนให้ผู้มีสิทธิเสนอโครงการภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นสุดสถานะดังกล่าว เว้นแต่จะได้รับการผ่อนผันจากสํานักงานในกรณีมีเหตุจําเป็นและสมควร และให้รายงานการโอนสินทรัพย์และผลประโยชน์ดังกล่าวต่อสํานักงานตามข้อ 7 ภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นสุดสถานะของนิติบุคคลเฉพาะกิจ ข้อ ๓๘ สัญญาแต่งตั้งผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้อย่างน้อยต้องมีสาระสําคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้ดังต่อไปนี้ (1) การจัดให้มีระบบบัญชีสําหรับการปฏิบัติหน้าที่และจัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้องแยกต่างหากจากส่วนงานอื่นของผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้ (2) หน้าที่ของผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้รายเดิมในการดําเนินการใด ๆ เพื่อให้ผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้รายใหม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างต่อเนื่องในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้ โดยต้องกําหนดเหตุแห่งการเปลี่ยนแปลงผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้ไว้ให้ชัดเจน (3) การโอนเงินที่เรียกเก็บได้จากสินทรัพย์เข้าบัญชีของนิติบุคคลเฉพาะกิจซึ่งต้องกระทําโดยเร็วที่สุด แต่ต้องไม่เกิน 15 วันทําการนับแต่วันที่เรียกเก็บเงินได้ดังกล่าว โดยต้องกําหนดข้อห้ามนําเงินซึ่งได้รับมาเพื่อนิติบุคคลเฉพาะกิจไปใช้เพื่อการอื่นใด ในกรณีที่นิติบุคคลเฉพาะกิจมีข้อตกลงที่จะหักกลบลบหนี้ค่าซื้อสินทรัพย์หรือค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์กับผู้มีสิทธิเสนอโครงการซึ่งทําหน้าที่เป็นผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้ด้วย ผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้มีสิทธิหักค่าซื้อสินทรัพย์จากเงินที่เรียกเก็บได้แต่ต้องโอนเงินส่วนที่เหลือเข้าบัญชีของนิติบุคคลเฉพาะกิจภายในระยะเวลาเดียวกัน (4) การจัดทําและนําส่งรายงานเป็นรายไตรมาส ซึ่งอย่างน้อยต้องแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับผลการเรียกเก็บเงินจากสินทรัพย์ และยอดสินทรัพย์คงเหลือของโครงการต่อนิติบุคคลเฉพาะกิจและผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ (ถ้ามี) ภายใน 15 วันนับแต่วันสิ้นไตรมาส ในกรณีที่มีการแต่งตั้งผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้สํารอง สัญญาแต่งตั้งผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้สํารองต้องมีสาระสําคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ให้บริการเรียกเก็บหนี้สํารองตามวรรคหนึ่งด้วย โดยอนุโลม อื่นๆ - ภาค 3 การเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการในวงจํากัด \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓๙ การอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการในวงจํากัด ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) การเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ ให้กระทําได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากสํานักงานตามหลักเกณฑ์การอนุญาตและการยื่นคําขออนุญาตในส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 ของหมวด 2 ทั้งนี้นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในส่วนที่ 3 ของหมวด 2 ด้วย (2) การเสนอขายลักษณะอื่นที่ไม่ใช่การเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตาม (1) ให้ถือว่าได้รับอนุญาตเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในส่วนที่ 1 ของหมวด 3 ทั้งนี้ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขในส่วนที่ 2 ของหมวด 3 ด้วย หมวด ๑ ลักษณะการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัด \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๐ การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังต่อไปนี้ ให้ถือเป็นการเสนอขายในวงจํากัด (1) เสนอขายต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งมีจํานวนไม่เกิน 10 ราย ในรอบระยะเวลา 4 เดือนใด ๆ (2) เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน (3) เสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ (4) เสนอขายต่อบุคคลที่เป็นเจ้าหนี้ของบริษัทอยู่แล้วก่อนการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการ เพื่อประโยชน์ในการปรับโครงสร้างหนี้ (5) เสนอขายโดยได้รับผ่อนผันจากสํานักงาน โดยนิติบุคคลเฉพาะกิจต้องแสดงได้ว่า (ก) มีเหตุจําเป็นและสมควร (ข) การเสนอขายดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบต่อผู้ลงทุนในวงกว้าง (ค) มีมาตรการให้ความคุ้มครองแก่ผู้ลงทุนอย่างเพียงพอแล้ว ข้อ ๔๑ การพิจารณาลักษณะการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดตามข้อ 40ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) การเสนอขายต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงตามข้อ 40(1) หากเป็นกรณีที่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ผู้รับฝากทรัพย์สิน นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ผู้ค้าหลักทรัพย์ หรือบุคคลอื่นใด ถือครองหุ้นกู้ตามโครงการแทนบุคคลอื่น ให้นับจํานวนผู้ลงทุนจากบุคคลที่เป็นเจ้าของที่แท้จริงของหุ้นกู้ตามโครงการนั้น (2) การเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันตามข้อ 40(2) หรือการเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 40(3) ไม่รวมถึงการเสนอขายต่อผู้ลงทุนดังกล่าวที่ได้จดข้อจํากัดการโอนไว้ไม่เกิน 10 รายในรอบระยะเวลา 4 เดือนใด ๆ โดยให้ถือว่ากรณีดังกล่าวเป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงตามข้อ 40(1) (3) การเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 40(3) ให้หมายความรวมถึง การเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ที่มีการเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันด้วย หมวด ๒ การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัด ต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๒ ความในหมวดนี้ให้ใช้บังคับกับการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 40(3) ส่วน ๑ หลักเกณฑ์การอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๓ นิติบุคคลเฉพาะกิจจะได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนรายใหญ่เมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) นิติบุคคลเฉพาะกิจเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 16(1) (2) (3) (4) (6) (7) และ (9) ข้อ 17 และข้อ 18 (2) แบบแสดงรายการข้อมูลมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน (3) ได้รับมติโดยชัดแจ้งจากคณะกรรมการให้ออกหุ้นกู้ตามโครงการได้ เว้นแต่นิติบุคคลเฉพาะกิจเป็นบริษัทมหาชนจํากัด ต้องได้รับมติให้ออกหุ้นกู้ตามโครงการที่เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจํากัด ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้กับกรณีที่บริษัทต้องออกหุ้นกู้ตามแผนฟื้นฟูกิจการตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลายซึ่งศาลเห็นชอบด้วยแผนนั้นแล้ว หรือกรณีอื่นใดที่ได้รับการผ่อนผันจากสํานักงาน ข้อ ๔๔ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องจัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ส่วน ๒ การยื่นคําขออนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๕ นิติบุคคลเฉพาะกิจที่ประสงค์จะเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ต้องยื่นคําขออนุญาตและจดข้อจํากัดการโอน (ถ้ามี) กับสํานักงาน และให้นําความในข้อ 20 ข้อ 21 และข้อ 22 มาใช้บังคับกับการยื่นคําขออนุญาตในส่วนนี้ โดยอนุโลม ข้อ ๔๖ เมื่อสํานักงานได้รับคําขออนุญาตพร้อมเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชนแล้ว ให้สํานักงานดําเนินการสอบทานข้อเท็จจริงตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนและแจ้งประเด็นข้อสังเกตที่ได้จากการสอบทานข้อเท็จจริงเพื่อให้นิติบุคคลเฉพาะกิจชี้แจงข้อสังเกตนั้นภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหนังสือแจ้งข้อสังเกต โดยต้องดําเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 45 วันนับแต่วันที่สํานักงานได้รับเอกสารหลักฐานที่ถูกต้องครบถ้วนตามคู่มือสําหรับประชาชน และให้สํานักงานแจ้งผลการพิจารณาคําขอภายใน 30 วันนับแต่ วันที่สํานักงานได้รับคําชี้แจงต่อข้อสังเกตจากการสอบทานข้อเท็จจริงจากนิติบุคคลเฉพาะกิจ ในกรณีที่นิติบุคคลเฉพาะกิจประสงค์จะขอผ่อนผันหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจยื่นคําขอผ่อนผัน พร้อมทั้งเอกสารหลักฐานประกอบคําขอผ่อนผันต่อสํานักงานมาพร้อมกับการยื่นคําขออนุญาต ทั้งนี้ ตามขั้นตอนและวิธีการที่ระบุในคู่มือสําหรับประชาชนโดยสํานักงานจะพิจารณาคําขอผ่อนผันให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาเดียวกันกับการพิจารณาอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ส่วน ๓ เงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๗ ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดในส่วนนี้ ข้อ ๔๘ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องดําเนินการให้หุ้นกู้ตามโครงการที่เสนอขายในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนรายใหญ่มีลักษณะดังต่อไปนี้ (1) มีลักษณะเป็นไปตามข้อ 25 และข้อ 26(1) (2) (3) และ (4) (2) เป็นหุ้นกู้ชนิดระบุชื่อผู้ถือ และมีข้อความในใบหุ้นกู้ที่เสนอขายตามโครงการแต่ละครั้งแสดงว่านิติบุคคลเฉพาะกิจจะไม่รับจดทะเบียนการโอนหุ้นกู้ตามโครงการไม่ว่าในทอดใด ๆ หากการโอนนั้นจะขัดกับข้อจํากัดการโอนหุ้นกู้ตามโครงการตามที่ระบุไว้ ซึ่งต้องเป็นข้อจํากัดการโอนเดียวกับที่ได้จดทะเบียนไว้กับสํานักงาน เว้นแต่กรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ตามข้อ 40(3) นิติบุคคลเฉพาะกิจสามารถจดทะเบียนการโอนหุ้นกู้ไม่ว่าในทอดใด ๆ ต่อผู้ลงทุนรายใหญ่และผู้ลงทุนสถาบันก็ได้ (3) กรณีเป็นการเสนอขายหุ้นกู้ด้อยสิทธิ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 27 (4) กรณีที่นิติบุคคลเฉพาะกิจจัดให้มีเอกสารประกอบการเสนอขายหุ้นกู้ เอกสารดังกล่าวจะต้องมีข้อความที่ระบุถึงข้อจํากัดการโอน และในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ด้อยสิทธิให้ระบุการด้อยสิทธินั้นไว้ให้ชัดเจน ข้อ ๔๙ ในกรณีที่นิติบุคคลเฉพาะกิจประสงค์จะจัดให้มีที่ปรึกษาทางการเงินเป็นผู้วิเคราะห์ข้อมูลของนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อให้คําแนะนําในการกําหนดลักษณะ ข้อตกลง เงื่อนไข และอายุที่เหมาะสมในการออกและเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องมอบหมายให้ที่ปรึกษาทางการเงินนั้นวิเคราะห์ข้อมูลดังต่อไปนี้ (1) ลักษณะการประกอบธุรกิจ และแผนธุรกิจในอนาคต (2) ข้อมูลทางการเงินที่สําคัญตามที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน หรือข้อมูลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ (3) วัตถุประสงค์การใช้เงิน (4) แหล่งเงินทุนสํารองในการชําระหนี้ (5) ทรัพย์สินที่อาจใช้เป็นหลักประกันในการชําระหนี้ นิติบุคคลเฉพาะกิจตามวรรคหนึ่งมีหน้าที่ต้องดําเนินการดังนี้ด้วย (1) จัดส่งข้อมูลที่จําเป็นซึ่งมีความถูกต้องและครบถ้วนให้ที่ปรึกษาทางการเงินเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ข้อมูลตามวรรคหนึ่ง (2) จัดให้มีข้อตกลงให้ที่ปรึกษาทางการเงินจัดเก็บเอกสารหลักฐานที่จัดทําขึ้นตามวรรคหนึ่งไว้อย่างน้อย 3 ปี ข้อ ๕๐ นิติบุคคลเฉพาะกิจที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จัดให้การชักชวนหรือให้คําแนะนําเกี่ยวกับการซื้อขายหรือลงทุนในหุ้นกู้ตามโครงการต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ดําเนินการผ่านบริษัทหลักทรัพย์ประเภทที่สามารถเป็นผู้ให้บริการดังกล่าวเกี่ยวกับหุ้นกู้ได้ (2) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (factsheet) ให้แก่ผู้ลงทุนก่อนการเสนอขาย (3) ดําเนินการเกี่ยวกับข้อกําหนดสิทธิตามหลักเกณฑ์ในข้อ 30 ข้อ 31 และข้อ 32 (4) จัดให้มีการจัดอันดับความน่าเชื่อถือตามข้อ 33 (5) ดําเนินการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในข้อ 36(1) (2) (3) วรรคหนึ่ง และ (4) (6) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกภายใต้โครงการที่ได้รับอนุญาตตามพระราชกําหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 ต้องดําเนินการให้เป็นไปตามข้อ 37 (7) ยื่นคําขอให้สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยพิจารณารับหุ้นกู้ที่เสนอขายตามโครงการเป็นตราสารหนี้ขึ้นทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันออกหุ้นกู้ดังกล่าว เว้นแต่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ระยะสั้น (8) ในกรณีที่มีบุคคลใดแสดงความประสงค์ต่อนิติบุคคลเฉพาะกิจที่จะลงทะเบียนการโอนหุ้นกู้ตามโครงการ ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจตรวจสอบความถูกต้องของการโอนหุ้นกู้ หากพบว่าเป็นการโอนที่ขัดต่อข้อจํากัดการโอนที่ได้จดทะเบียนไว้กับสํานักงาน นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องไม่ลงทะเบียนการโอนหุ้นกู้ตามโครงการ เว้นแต่เป็นการโอนทางมรดก ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง หากนิติบุคคลเฉพาะกิจจัดให้มีนายทะเบียนหุ้นกู้ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องดําเนินการให้นายทะเบียนหุ้นกู้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในวรรคหนึ่งด้วย (9) ส่งรายงานตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในข้อ 35 และข้อ 36(5) หมวด ๓ การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดลักษณะอื่น ที่ไม่ใช่การเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๕๑ ความในหมวดนี้ให้ใช้บังคับกับการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดตามข้อ 40(1) (2) (4) และ (5) ส่วน ๑ หลักเกณฑ์การอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๕๒ การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนตามข้อ 40(1) (2) (4)และ (5) ให้ถือว่าได้รับอนุญาตจากสํานักงานเมื่อนิติบุคคลเฉพาะกิจปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) นิติบุคคลเฉพาะกิจมีลักษณะตามข้อ 16(7) (2) จดข้อจํากัดการโอนสําหรับหุ้นกู้ตามโครงการที่จะเสนอขายกับสํานักงานโดยในการจดข้อจํากัดการโอนดังกล่าวต้องมีข้อความซึ่งแสดงได้ว่านิติบุคคลเฉพาะกิจจะไม่รับจดทะเบียนการโอนหุ้นกู้ไม่ว่าทอดใด ๆ หากการโอนหุ้นกู้ดังกล่าวจะทําให้หุ้นกู้ที่เสนอขายตามโครงการในครั้งนั้นไม่สามารถคงลักษณะการเสนอขายในวงจํากัดตามแต่ละลักษณะการเสนอขายที่กําหนดในข้อ 40 ได้ เว้นแต่เป็นการโอนทางมรดก (3) นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องได้รับมติให้ออกหุ้นกู้ตามโครงการได้ตามหลักเกณฑ์ในข้อ 43(3) (4) ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้มีประกันหรือหุ้นกู้ที่จัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ นิติบุคคลเฉพาะกิจได้เสนอร่างข้อกําหนดสิทธิและร่างสัญญาแต่งตั้งผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้มาพร้อมกับการจดข้อจํากัดการโอนตาม (2) (5) ในกรณีที่จัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในบทนิยามของคําดังกล่าว (6) รายงานลักษณะหุ้นกู้ตามโครงการที่จะเสนอขายต่อสํานักงานตามวิธีการที่กําหนดโดยข้อ 7 ข้อ ๕๓ ให้ถือว่าสํานักงานรับจดข้อจํากัดการโอนหุ้นกู้ตามข้อ 52(2) ในวันที่สํานักงานได้รับการแสดงเจตนาจดข้อจํากัดการโอนที่มีข้อความตามข้อ 52(2) ครบถ้วนแล้ว ส่วน ๒ เงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาต \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๕๔ ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจที่ได้รับอนุญาตเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดลักษณะอื่นที่ไม่ใช่การเสนอขายต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ โดยอนุโลม (1) หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจัดส่งรายงานตามข้อ 35 และข้อ 36(5) (2) หลักเกณฑ์เกี่ยวกับลักษณะของหุ้นกู้ตามข้อ 48 (3) หลักเกณฑ์เกี่ยวกับที่ปรึกษาทางการเงิน (ถ้ามี) ตามข้อ 49 (4) หลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในข้อ 50(5) และ (6) (5) หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการลงทะเบียนการโอนหุ้นกู้ตามข้อ 50(8) ข้อ ๕๕ การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงตามข้อ 40(1) นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) เสนอขายต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือหลายบุคคลรวมกันดังนี้ (ก) ผู้ลงทุนสถาบัน (ข) ผู้ลงทุนที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับนิติบุคคลเฉพาะกิจซึ่งจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการนิติบุคคลเฉพาะกิจ โดยในการพิจารณานั้นจะต้องคํานึงถึงความเหมาะสมในการลงทุนและการมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนของผู้ลงทุน ผู้ลงทุนที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับนิติบุคคลเฉพาะกิจตามวรรคหนึ่งได้แก่ กรรมการ ผู้บริหารของนิติบุคคลเฉพาะกิจ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และบริษัทในเครือของนิติบุคคลเฉพาะกิจ (บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทย่อยในลําดับเดียวกัน หรือบริษัทร่วม) เพื่อประโยชน์ตามความในวรรคสอง คําว่า “บริษัทย่อยในลําดับเดียวกัน” หมายความว่า บริษัทย่อยตั้งแต่ 2 บริษัทขึ้นไปที่มีบริษัทใหญ่เป็นบริษัทเดียวกันไม่ว่าบริษัทย่อยนั้นจะอยู่ในชั้นลําดับใด ๆ (2) ไม่โฆษณาการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการดังกล่าว และหากจะมีการแจกจ่ายเอกสารประกอบการเสนอขาย นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องแจกจ่ายให้เฉพาะบุคคลที่มีลักษณะหรือมีจํานวนอยู่ในวงจํากัดตามที่กําหนดไว้ในข้อ 40(1) เท่านั้น ข้อ ๕๖ การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดต่อผู้ลงทุนสถาบันตามข้อ 40(2)นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้ (1) กรณีเป็นการเสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบันที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยให้ดําเนินการดังนี้ (ก) จัดให้มีข้อกําหนดสิทธิที่มีรายการอย่างน้อยตามที่กําหนดไว้ในมาตรา 42 และดําเนินการให้เป็นไปตามข้อ 31 วรรคหนึ่ง (ข) จัดให้มีการแจกสรุปข้อมูลสําคัญของตราสาร (factsheet) ให้แก่ผู้ลงทุนก่อนการเสนอขาย (2) ยื่นคําขอให้สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยรับพิจารณารับหุ้นกู้ที่เสนอขายเป็นตราสารหนี้ขึ้นทะเบียนภายใน 30 วันนับแต่วันออกหุ้นกู้ดังกล่าว เว้นแต่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ระยะสั้น ข้อ ๕๗ การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการในวงจํากัดตามข้อ 40(4) และ (5) นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องไม่โฆษณาการเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการดังกล่าว และหากมีการแจกจ่ายเอกสารประกอบการเสนอขาย นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องแจกจ่ายให้เฉพาะบุคคลที่มีลักษณะหรือมีจํานวนอยู่ในวงจํากัดตามที่กําหนดไว้ในข้อ 40(4) และ (5) เท่านั้น อื่นๆ ๔ ภาค 4 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเฉพาะสําหรับโครงการ ที่จะเสนอขายต่อผู้ลงทุนในต่างประเทศ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๕๘ ความในส่วนนี้ให้ใช้บังคับเฉพาะกับการเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการต่อผู้ลงทุนในต่างประเทศ โดยหุ้นกู้ที่เสนอขายมีข้อตกลงที่จะชําระดอกเบี้ย และไถ่ถอนหุ้นกู้เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ข้อ ๕๙ นิติบุคคลเฉพาะกิจจะได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามภาคนี้ ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) สามารถแสดงได้ว่าการเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ที่ยื่นขออนุญาตจะกระทําต่อผู้ลงทุนในต่างประเทศ (2) สามารถแสดงได้ว่าการซื้อขาย หรือการโอนหุ้นกู้ที่ยื่นขออนุญาตไม่ว่าทอดใด ๆ จะกระทําในต่างประเทศ ข้อ ๖๐ ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจที่ได้รับอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามภาคนี้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) เสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในข้อ 25 (2) ต้องมีคําเรียกชื่อหุ้นกู้ตามโครงการ อัตราดอกเบี้ย และมูลค่าไถ่ถอนที่เป็นไปตามข้อ 26(1) (2) และ (3) (3) เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในข้อ 36(1) (2) (3) วรรคหนึ่ง (4) และ (5) (4) ดําเนินการให้เป็นไปตามข้อ 37 ในกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกภายใต้โครงการที่ได้รับอนุญาตตามพระราชกําหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 ข้อ ๖๑ ในกรณีที่มีการจัดให้มีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องจัดให้มีการขอความเห็นชอบบุคคลที่จะแต่งตั้งเป็นผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ทั้งนี้ บุคคลดังกล่าวจะได้รับความเห็นชอบต่อเมื่อสามารถแสดงได้ว่าบุคคลนั้นมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) เป็นทรัสตีได้ตามกฎหมายแห่งประเทศใดประเทศหนึ่งที่จะเสนอขายหุ้นกู้นั้นหรือประเทศที่จะนําหุ้นกู้ดังกล่าวไปจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ (2) เป็นสถาบันการเงินตามกฎหมายของประเทศใดประเทศหนึ่งที่จะเสนอขายหุ้นกู้นั้นหรือประเทศที่จะนําหุ้นกู้ดังกล่าวไปจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ เมื่อแสดงได้ว่ากฎหมายของประเทศดังกล่าวมีข้อห้ามการจัดตั้งทรัสต์ การให้ความเห็นชอบผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ตามวรรคหนึ่ง ไม่อยู่ภายใต้บังคับของประกาศอื่นที่เกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้และการกระทําตามอํานาจหน้าที่ของผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ที่ออกตามมาตรา 41(3) และมาตรา 46 ข้อ ๖๒ ให้นิติบุคคลเฉพาะกิจหรือบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากนิติบุคคลเฉพาะกิจแจ้งให้ธนาคารแห่งประเทศไทยทราบถึงการขายหุ้นกู้ต่อผู้ลงทุนในต่างประเทศภายใน 3 วันทําการนับแต่วันปิดการเสนอขาย โดยให้แนบเอกสารประกอบการเสนอขายไปพร้อมกับการแจ้งดังกล่าวด้วย อื่นๆ - ภาค 5 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเฉพาะสําหรับโครงการที่จะเสนอขาย หุ้นกู้ที่ออกใหม่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๖๓ ความในส่วนนี้ให้ใช้บังคับเฉพาะกับการเสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ตามโครงการที่มีข้อตกลงให้ชําระค่าหุ้นกู้เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ข้อ ๖๔ เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางในการควบคุมการใช้เงินตราต่างประเทศสําหรับผู้ลงทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยยังไม่ได้อนุมัติให้ลงทุนในเงินตราต่างประเทศได้โดยตรง หรือผู้ลงทุนในหุ้นกู้ตามโครงการไม่ได้เป็นผู้ลงทุนตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยเกี่ยวกับการกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการลงทุนในตราสารในต่างประเทศและอนุพันธ์ นิติบุคคลเฉพาะกิจต้องจัดให้การเสนอขายหุ้นกู้ตามโครงการกระทําโดยบริษัทหลักทรัพย์ประเภทการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์หรือการค้าหลักทรัพย์ อื่นๆ - ภาค 6 บทเฉพาะกาล \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๖๕ ให้บรรดาประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดแห่งประกาศนี้จนกว่าจะได้มีประกาศ คําสั่ง และหนังสือเวียนที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ ๖๖ ในกรณีที่มีประกาศฉบับอื่นใดอ้างอิงประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 13/2552 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2552 ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงประกาศฉบับนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
672
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 23/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 23/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่ เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (6) ของข้อ 52 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 42/2563 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายหุ้นกู้ที่ออกใหม่เพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ลงวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(6) รายงานลักษณะหุ้นกู้ตามโครงการที่จะเสนอขายต่อสํานักงานตามวิธีการที่กําหนดโดยข้อ 7 เว้นแต่เป็นการเสนอขายหุ้นกู้ต่อผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงซึ่งมีจํานวนไม่เกิน 10 รายตามข้อ 40(1)” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
673
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 140 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 และข้อ 31 โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ข้อ 6 วรรคสาม และข้อ 32 วรรคหนึ่ง แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่29 มกราคม พ.ศ. 2564 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “บริษัทจัดการ” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนส่วนบุคคล “กองทุน” หมายความว่า กองทุนสํารองเลี้ยงชีพตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ “กองทุนที่มีหลายนโยบายการลงทุน” หมายความว่า กองทุนที่มีนโยบายการลงทุนมากกว่า 1 นโยบาย โดยอาจจัดตั้งเป็นกองทุนนายจ้างเดียวหรือกองทุนหลายนายจ้างก็ได้ “กองทุนนายจ้างเดียว” หมายความว่า กองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อลูกจ้างของนายจ้างเพียงรายเดียว “กองทุนหลายนายจ้าง” หมายความว่า กองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อลูกจ้างของนายจ้างหลายราย “มูลค่าต่อหน่วย” หมายความว่า มูลค่าต่อหน่วยซึ่งคํานวณโดยนํามูลค่าทรัพย์สินสุทธิหารด้วยจํานวนหน่วยทั้งหมด ณ วันที่คํานวณมูลค่าต่อหน่วยนั้น “หน่วย” หมายความว่า หน่วยของกองทุน “สมาชิก” หมายความว่า สมาชิกของกองทุน “การชดเชยมูลค่า” หมายความว่า การเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วยให้แก่สมาชิกที่ยังคงมีสมาชิกภาพอยู่ในกรณีที่มูลค่าต่อหน่วยไม่ถูกต้อง หรือการจ่ายเงินให้แก่สมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพ ซึ่งมีมูลค่าเท่ากับส่วนต่างของมูลค่าต่อหน่วยที่ไม่ถูกต้องกับมูลค่าต่อหน่วยที่ถูกต้องแทนการเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วย “วันคํานวณจํานวนหน่วย” หมายความว่า วันคํานวณจํานวนหน่วยเพื่อเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วยให้แก่สมาชิก ซึ่งเป็นวันที่บริษัทจัดการและคณะกรรมการกองทุนกําหนดไว้ในสัญญารับจัดการกองทุน “ผู้รับรองมูลค่า” หมายความว่า บุคคลที่ทําการรับรองความถูกต้องของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน “นโยบายการลงทุนที่มีความเสี่ยงสูง” หมายความว่า นโยบายการลงทุนที่กําหนดให้มีการลงทุนไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลายประเภทดังต่อไปนี้รวมกันเกินกว่าร้อยละ 50 ของแต่ละนโยบายการลงทุนนั้น (1) ตราสารทุน (2) ตราสารหนี้ดังนี้ (ก) ตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน (ข) ตราสารหนี้ที่มีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ 1. มีกําหนดการชําระคืนเงินต้นหรือดอกเบี้ยที่ไม่แน่นอน หรือมีข้อกําหนดชําระคืนเงินต้นเพียงบางส่วนหรือไม่คืนเงินต้น 2. มีเงื่อนไขที่จะกระทบสิทธิของผู้ถือตราสารในการได้รับชําระคืนเงินต้นหรือดอกเบี้ย เช่น การด้อยสิทธิ การแปลงสภาพ การบังคับไถ่ถอนคืนก่อนกําหนด การขยายระยะเวลาการชําระหนี้หรือการปลดหนี้ เป็นต้น เว้นแต่เป็นเงื่อนไขการผิดนัดตามที่กําหนดไว้ในข้อกําหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าที่ของผู้ออกหุ้นกู้และผู้ถือหุ้นกู้ (3) ทรัพย์สินตามที่กําหนดไว้ในข้อ 5 และข้อ 6.2 ของส่วนที่ 3 : อัตราส่วนการลงทุนที่คํานวณตามประเภททรัพย์สิน (product limit) ในภาคผนวก 4-PVD ท้ายประกาศการลงทุน “ประกาศที่ ทน. 11/2564” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 ................................. ............................. “ประกาศที่ สน. 9/2564” หมายความว่า ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 9/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย และกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 หมวด ๑ หลักเกณฑ์ทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓ เมื่อมีการลงนามในสัญญารับจัดการกองทุนแล้ว ให้บริษัทจัดการเปิดเผยข้อมูลดังต่อไปนี้ ให้ลูกค้ารับทราบเป็นลายลักษณ์อักษรหรือผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (1) การวัดผลการดําเนินงานของกองทุนในเรื่องดังนี้ (ก) วิธีการวัดผลการดําเนินงานซึ่งได้จัดทําขึ้นตามหลักเกณฑ์ที่สมาคมกําหนด (ข) ช่วงเวลาสําหรับการวัดผลการดําเนินงานซึ่งต้องกําหนดให้มีการวัดผล ทุกเดือน กรณีที่มีการวัดผลการดําเนินงานของกองทุนโดยเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด (benchmark) ตัวชี้วัดดังกล่าวต้องคํานวณโดยใช้ดัชนีที่ใช้วัดผลตอบแทนทุกประเภทจากการลงทุนในหลักทรัพย์ (total return index) เท่านั้น และไม่ใช้ดัชนีที่สะท้อนความเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์ที่เป็นองค์ประกอบของดัชนี (price index) มิให้นําความใน (1) วรรคสองมาใช้บังคับกับกองทุนที่มีนโยบายการลงทุนในลักษณะเดียวกับกองทุนรวมฟีดเดอร์ (2) ชื่อผู้รับฝากทรัพย์สิน รวมทั้งหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้รับฝากทรัพย์สิน (3) การลงทุนและผลการดําเนินงานของกองทุน (4) ข้อมูลเกี่ยวกับกองทุนที่ได้มีการเปลี่ยนแปลงในส่วนที่เป็นสาระสําคัญ (5) ข้อมูลเกี่ยวกับการลงทุนในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือการก่อภาระผูกพันใด ๆ แก่ทรัพย์สินของลูกค้า การทําธุรกรรมการซื้อโดยมีสัญญาขายคืน และการทําธุรกรรมการให้ยืมหลักทรัพย์ (6) ข้อมูลอื่นใดเกี่ยวกับกองทุนเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของลูกค้าตามที่สํานักงานกําหนด การเปิดเผยข้อมูลตามวรรคหนึ่ง (3) (4) และ (6) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สมาคมกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ข้อ ๔ ให้บริษัทจัดการจัดทําบัญชีแสดงฐานะทางการเงินของกองทุนตามแบบและวิธีการที่จัดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ข้อ ๕ ในกรณีที่บริษัทจัดการมีการลงทุนในตราสารตามข้อ 2.6.1 และข้อ 2.6.2 ของส่วนที่ 1 ในภาคผนวก 3 แนบท้ายประกาศที่ สน. 9/2564 ให้บริษัทจัดการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อลูกค้า โดยให้เปิดเผยไว้ในรายงานรายเดือนตามข้อ 26 ข้อ ๖ ในกรณีที่บริษัทจัดการมีการทําธุรกรรมการให้ยืมหลักทรัพย์ตามข้อ 2.5 ของส่วนที่ 1 ในภาคผนวก 3 แนบท้ายประกาศที่ สน. 9/2564 ให้บริษัทจัดการจัดทํารายงานและจัดเก็บรายงานดังกล่าวไว้ให้สํานักงานตรวจสอบได้ ข้อ ๗ เมื่อสัญญารับจัดการกองทุนสิ้นสุดลง ให้บริษัทจัดการส่งมอบหลักทรัพย์และทรัพย์สินของกองทุนให้แก่ลูกค้าหรือผู้รับฝากทรัพย์สิน แล้วแต่กรณี โดยเร็วที่สุด ข้อ ๘ ให้บริษัทจัดการเปิดเผยข้อมูลการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม เงินตอบแทน หรือค่าใช้จ่ายอื่นใดต่อลูกค้าอย่างชัดเจน ทั้งนี้ ให้นําความในข้อ 12 วรรคหนึ่ง (2) ของประกาศที่ ทน. 11/2564 มาใช้บังคับกับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการจัดการด้วยโดยอนุโลม ข้อ ๙ ในกรณีที่กองทุนกําหนดให้สมาชิกมีสิทธิเลือกนโยบายการลงทุนได้ บริษัทจัดการต้องดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) เสนอนโยบายการลงทุนที่หลากหลายและเหมาะสมกับสมาชิกโดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงและผลตอบแทนของนโยบายการลงทุนแต่ละนโยบาย พร้อมทั้งคําแนะนําที่เหมาะสมแก่คณะกรรมการกองทุน เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกนโยบายการลงทุน (2) จัดให้สมาชิกทําการประเมินความเหมาะสมในการเลือกนโยบายการลงทุนรายสมาชิก ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ในหมวด 2 (3) จัดทําสรุปข้อมูลสําคัญของนโยบายการลงทุนสําหรับนโยบายการลงทุนที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการกองทุนตาม (1) โดยมีรายการและรูปแบบของข้อมูลอย่างน้อยตามที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ทั้งนี้ สรุปข้อมูลสําคัญของนโยบายการลงทุนต้องมีการเผยแพร่ให้สมาชิกทราบโดยผ่านช่องทางหรือวิธีการอื่นใดที่ทําให้มั่นใจได้ว่าสมาชิกสามารถเข้าถึงได้โดยง่ายและอย่างทั่วถึงก่อนการตัดสินใจเลือกหรือเปลี่ยนนโยบายการลงทุน (4) จัดให้มีการทบทวนสรุปข้อมูลสําคัญของนโยบายการลงทุนตาม (3) ทุกงวด 6 เดือนของปีปฏิทิน และเผยแพร่ภายใน 45 วันนับแต่วันสิ้นงวด 6 เดือนของปีปฏิทินแก่สมาชิกโดยผ่านช่องทางหรือวิธีการตาม (3) (5) จัดให้สมาชิกมีสิทธิเลือกนโยบายการลงทุนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เว้นแต่สมาชิกมีมติกําหนดเวลาในการใช้สิทธิไว้เป็นอย่างอื่น (6) จัดให้มีช่องทางหรือวิธีการอื่นใดที่ทําให้มั่นใจได้ว่าสมาชิกสามารถเข้าถึงคําแนะนําที่เหมาะสมได้โดยง่ายและอย่างทั่วถึงสําหรับการลงทุนในกองทุน ข้อ ๑๐ ในกรณีที่กองทุนไม่ได้กําหนดให้สมาชิกมีสิทธิเลือกนโยบายการลงทุน ให้บริษัทจัดการปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อ 9(1) (3) (4) และ (6) โดยอนุโลม ในกรณีที่กองทุนตามวรรคหนึ่งมีนโยบายการลงทุนที่มีความเสี่ยงสูง บริษัทจัดการต้องมีกระบวนการที่ทําให้มั่นใจได้ว่าคณะกรรมการกองทุนและสมาชิกรับทราบและเข้าใจความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการลงทุนเป็นอย่างดีแล้ว ก่อนเข้าเป็นสมาชิกหรือก่อนที่กองทุนจะมีการเปลี่ยนนโยบายการลงทุนเป็นนโยบายการลงทุนที่มีความเสี่ยงสูงดังกล่าว ข้อ ๑๑ ให้บริษัทจัดการส่งรายงานจํานวนหน่วย มูลค่าต่อหน่วย และมูลค่าของเงินสะสม เงินสมทบ พร้อมทั้งผลประโยชน์ของเงินสะสม และเงินสมทบให้สมาชิกแต่ละรายทราบอย่างน้อยทุกงวด 6 เดือนของปีปฏิทินโดยให้ส่งรายงานดังกล่าวภายใน 30 วันนับแต่วันสิ้นงวด6 เดือน และหากสมาชิกขอทราบรายงานดังกล่าวเป็นรายเดือน ให้บริษัทจัดการส่งรายงานดังกล่าวให้สมาชิกทราบในเวลาอันควรด้วย ข้อ ๑๒ ให้บริษัทจัดการจัดทํางบการเงินของกองทุนโดยเสนองบการเงินพร้อมรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชีต่อที่ประชุมใหญ่สมาชิกของกองทุนเพื่อทําการรับรองงบการเงินดังกล่าว ให้บริษัทจัดการเก็บรักษางบการเงินของกองทุน รายงานการสอบบัญชี และเอกสารแสดงจํานวนสมาชิกและมูลค่าเงินกองทุน ณ วันสิ้นเดือนก่อนวันแต่งตั้งผู้สอบบัญชีไว้ที่บริษัทจัดการด้วย ข้อ ๑๓ ในการจัดทํางบการเงินของกองทุน ให้บริษัทจัดการแสดงรายการค่าใช้จ่ายที่จ่ายเพื่อคณะกรรมการกองทุน หรือค่าใช้จ่ายอื่นใดที่ไม่ใช่การดําเนินงานตามปกติของกองทุน ซึ่งเป็นจํานวนเงินตั้งแต่ร้อยละ 3 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดหรือตั้งแต่ 10,000 บาทขึ้นไป แล้วแต่จํานวนใดจะต่ํากว่า ไว้โดยละเอียดในงบการเงินของกองทุนด้วย หมวด ๒ การประเมินความเหมาะสมในการเลือก นโยบายการลงทุนรายสมาชิก \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๔ ความในหมวดนี้ให้ใช้บังคับเฉพาะกับกองทุนที่กําหนดให้สมาชิกมีสิทธิเลือกนโยบายการลงทุนได้ ข้อ ๑๕ เพื่อให้สมาชิกสามารถเลือกนโยบายการลงทุนได้อย่างเหมาะสมโดยสอดคล้องกับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการลงทุน ประสบการณ์ในการลงทุน สถานะทางการเงิน ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ และเป้าหมายการออมเมื่อเกษียณอายุ ให้บริษัทจัดการจัดให้มีการประเมินความเหมาะสมในการเลือกนโยบายการลงทุนของสมาชิกตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) จัดให้สมาชิกทําการประเมินความเหมาะสมในการเลือกนโยบายการลงทุนครั้งแรกให้แล้วเสร็จในวันที่เข้าเป็นสมาชิก และต้องแสดงให้สมาชิกทราบถึงประโยชน์และความจําเป็นในการประเมินความเหมาะสมในการเลือกนโยบายการลงทุนด้วย (2) จัดให้มีการทบทวนความเหมาะสมในการเลือกนโยบายการลงทุนทุกรอบ 2 ปีปฏิทินนับแต่ปีที่ได้ทําการประเมินครั้งล่าสุด โดยให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในปีที่ครบกําหนดเวลาทบทวนดังกล่าว (3) ในกรณีที่ผลประเมินไม่สอดคล้องกับนโยบายการลงทุนที่สมาชิกแสดงความจํานงเลือก ไม่ว่าเป็นการเลือกไว้เดิมหรือที่จะเลือกใหม่ ให้เตือนให้สมาชิกทราบถึงความเสี่ยงของการเลือกนโยบายการลงทุนที่ไม่เหมาะสมกับสมาชิก ก่อนให้สมาชิกลงนามยอมรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเลือกนโยบายการลงทุนนั้น (4) ในกรณีที่สมาชิกปฏิเสธที่จะให้ข้อมูล หรือให้ข้อมูลไม่เพียงพอ ซึ่งเป็นผลให้ไม่สามารถดําเนินการตาม (1) หรือ (2) ได้ ให้เตือนให้สมาชิกทราบถึงความเสี่ยงในการเลือกนโยบายการลงทุนโดยไม่มีการประเมินความเหมาะสมในการเลือกนโยบายการลงทุน (5) ติดตามให้มีการประเมินความเหมาะสมในการเลือกนโยบายการลงทุนอีกครั้งสําหรับสมาชิกที่ปฏิเสธการประเมินความเหมาะสมในการเลือกนโยบายการลงทุน ข้อ ๑๖ ให้บริษัทจัดการใช้แบบและวิธีการประเมินความเหมาะสมในการเลือกนโยบายการลงทุนตามแนวทางที่สมาคมกําหนด ข้อ ๑๗ การดําเนินการใด ๆ เกี่ยวกับการประเมินความเหมาะสมในการเลือกนโยบายการลงทุนตามหมวดนี้ บริษัทจัดการต้องจัดให้อยู่ในรูปเอกสารหรือรูปแบบอื่นใด ที่สมาชิกหรือบริษัทจัดการจะสามารถจัดเก็บข้อมูลและตรวจดูข้อมูลได้ในอนาคต หมวด ๓ การคํานวณมูลค่าต่อหน่วยและจํานวนหน่วย และการรับรองความถูกต้อง ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๘ ให้บริษัทจัดการคํานวณมูลค่าต่อหน่วยโดยสะท้อนให้เห็นถึงผลการดําเนินงานที่แท้จริงของกองทุนโดยเงินที่มิได้เกิดจากผลการดําเนินงานให้นํามาคํานวณเป็นจํานวนหน่วย ข้อ ๑๙ ในการคํานวณจํานวนหน่วยหรือมูลค่าต่อหน่วย การปรับปรุงรายการ การแก้ไขมูลค่าต่อหน่วยและการชดเชยมูลค่า ให้บริษัทจัดการดําเนินการโดยคํานึงถึงผลประโยชน์ที่ดีที่สุดของบรรดาสมาชิกกองทุนเป็นสําคัญ และบริษัทจัดการต้องดําเนินการดังกล่าวต่อสมาชิกกองทุนแต่ละรายอย่างเท่าเทียมกัน เว้นแต่โดยผลของกฎหมายทําให้บริษัทจัดการไม่สามารถปฏิบัติต่อสมาชิกแต่ละรายได้อย่างเท่าเทียมกัน หรือโดยเงื่อนไขและปัจจัยของสมาชิกแต่ละรายแตกต่างกัน อันเป็นเหตุให้บริษัทจัดการไม่สามารถปฏิบัติเช่นนั้นได้ หรือบริษัทจัดการได้ดําเนินการตามแนวทางที่สํานักงานกําหนดไว้ ข้อ ๒๐ ให้บริษัทจัดการจัดให้มีวันคํานวณจํานวนหน่วยของแต่ละกองทุนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 วัน และในการคํานวณเพื่อเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วยให้แก่สมาชิก ให้ใช้มูลค่าต่อหน่วย ณ สิ้นวันคํานวณจํานวนหน่วยที่จะถึงเร็วที่สุดที่ผ่านการรับรองจากผู้รับรองมูลค่าแล้ว โดยเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วยให้แก่สมาชิกภายใน 3 วันทําการนับแต่วันคํานวณจํานวนหน่วย เว้นแต่ในกรณีที่เป็นการลงทุนในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินในต่างประเทศ บริษัทจัดการอาจขอผ่อนผันระยะเวลาการเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วยจากสํานักงานได้ ข้อ ๒๑ บริษัทจัดการอาจเลื่อนวันคํานวณจํานวนหน่วยได้ ในกรณีที่ปรากฏเหตุดังต่อไปนี้ (1) ตลาดหลักทรัพย์หรือศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ไม่สามารถเปิดทําการซื้อขายได้ตามปกติ (2) มีประกาศสํานักงานให้บริษัทจัดการเลื่อนวันคํานวณจํานวนหน่วยออกไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองประโยชน์ของสมาชิก หรือเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการเงินของประเทศ หรือเพื่อรักษาเสถียรภาพในระบบตลาดการเงิน (3) เมื่อมีเหตุจําเป็นทําให้บริษัทจัดการไม่สามารถจําหน่าย จ่าย โอนหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินของกองทุน หรือไม่สามารถคํานวณมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนได้อย่างเป็นธรรมและเหมาะสม โดยบริษัทจัดการต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกองทุน เว้นแต่จะได้ตกลงกันเป็นอย่างอื่นไว้ในสัญญารับจัดการกองทุน (4) ในกรณีที่กองทุนมีการลงทุนในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินในต่างประเทศตามประกาศการลงทุน เมื่อมีเหตุการณ์ดังนี้เกิดขึ้น และก่อให้เกิดผลกระทบต่อกองทุนดังกล่าวอย่างมีนัยสําคัญ (ก) ตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ดังกล่าวไม่สามารถเปิดทําการซื้อขายได้ตามปกติ ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่กองทุนได้ลงทุนในหลักทรัพย์ที่ซื้อขายในตลาดซื้อขายหลักทรัพย์แต่ละแห่งเกินกว่าร้อยละ 10 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน หรือ (ข) มีเหตุการณ์ที่ทําให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศได้อย่างเสรีและทําให้ไม่สามารถโอนเงินออกจากประเทศหรือรับโอนเงินจากต่างประเทศได้ตามปกติ ข้อ ๒๒ ในกรณีที่มูลค่าต่อหน่วยไม่ถูกต้อง ให้บริษัทจัดการแก้ไขให้ถูกต้องโดยเร็ว และหากมูลค่าต่อหน่วยที่ไม่ถูกต้องนั้นต่างจากมูลค่าต่อหน่วยที่ถูกต้องตั้งแต่ร้อยละ 0.5 ของมูลค่าต่อหน่วยที่ถูกต้องและตั้งแต่ 1 สตางค์ขึ้นไป ให้บริษัทจัดการจัดส่งรายงานให้แก่คณะกรรมการกองทุนภายในเดือนถัดจากเดือนที่แก้ไขมูลค่าต่อหน่วยหรือการชดเชยมูลค่าเสร็จสิ้น โดยรายงานดังกล่าวต้องมีรายการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) มูลค่าต่อหน่วยที่ไม่ถูกต้อง (2) มูลค่าต่อหน่วยที่ถูกต้อง (3) สาเหตุที่ทําให้มูลค่าต่อหน่วยไม่ถูกต้อง (4) การดําเนินการของบริษัทจัดการเมื่อพบว่ามูลค่าต่อหน่วยไม่ถูกต้อง ในระหว่างที่แก้ไขมูลค่าต่อหน่วย บริษัทจัดการต้องจัดทํามาตรการป้องกันและอาจหยุดการคํานวณเพื่อเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วยได้ไม่เกิน 7 วันทําการติดต่อกัน เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากคณะกรรมการกองทุน ข้อ ๒๓ ในการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนหน่วย มูลค่าต่อหน่วย และมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน ให้บริษัทจัดการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวในลักษณะดังต่อไปนี้ โดยใช้วิธีการปัดเศษทศนิยมตามหลักสากล (1) เปิดเผยจํานวนหน่วยและมูลค่าต่อหน่วยเป็นตัวเลขโดยมีทศนิยม 4 ตําแหน่ง (2) เปิดเผยมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนเป็นตัวเลขโดยมีทศนิยม 2 ตําแหน่ง ข้อ ๒๔ บริษัทจัดการต้องจัดให้มีการรับรองความถูกต้องของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนโดยผู้รับรองมูลค่าที่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เป็นบุคคลที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากสํานักงานให้เป็นผู้รับรองมูลค่า (2) ไม่มีส่วนได้เสียอันมีนัยสําคัญกับบริษัทจัดการจนทําให้ขาดความเป็นอิสระในการทําหน้าที่รับรองความถูกต้องของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน เว้นแต่บริษัทจัดการได้เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวให้คณะกรรมการกองทุนทราบและได้รับความยินยอมจากคณะกรรมการกองทุนแล้ว หมวด ๔ การจัดทําและส่งรายงานต่อสํานักงาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๕ ในการจัดการกองทุน ให้บริษัทจัดการจัดทําและส่งรายงานการจัดการกองทุนดังต่อไปนี้ (1) รายงานรายละเอียดของหลักทรัพย์และทรัพย์สินที่ทุกกองทุนลงทุนเป็นรายเดือน โดยให้จัดส่งภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป (2) รายงานสถานะและการลงทุนของแต่ละกองทุนเป็นรายเดือน โดยให้จัดส่งภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป (3) รายงานรายได้ ค่าใช้จ่าย และการเปลี่ยนแปลงส่วนของสมาชิกและนายจ้างของทุกกองทุนเป็นรายเดือน โดยให้จัดส่งภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป (4) รายงานรายละเอียดของแต่ละกองทุนเป็นรายไตรมาส โดยให้จัดส่งภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดจากเดือนสุดท้ายของแต่ละไตรมาส การจัดส่งรายงานตามวรรคหนึ่ง ให้บริษัทจัดการกระทําผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่สํานักงานจัดไว้ โดยดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบวิธีปฏิบัติของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการรับส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ข้อ ๒๖ ให้บริษัทจัดการจัดทําและส่งรายงานรายเดือนให้แก่ลูกค้าตามประกาศสมาคมบริษัทจัดการกองทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทํารายงานเกี่ยวกับการจัดการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพให้กับลูกค้า ในการจัดทํารายงานรายเดือนตามวรรคหนึ่ง ให้บริษัทจัดการเปิดเผยอัตราการลงทุนสูงสุดต่อมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนตามที่ระบุไว้ในแผนการลงทุน สําหรับการลงทุนในตราสารหนี้ ตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน เงินฝากหรือตราสารเทียบเท่าเงินฝาก ที่มีอันดับความน่าเชื่อถืออยู่ในอันดับต่ํากว่าอันดับที่สามารถลงทุนได้หรือที่ไม่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ข้อ ๒๗ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานกํากับดูแลธุรกิจกองทุน ให้บริษัทจัดการจัดทําและส่งข้อมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานจัดการกองทุนตามที่สํานักงานร้องขอ โดยข้อมูลที่จัดส่งให้เป็นไปตามรูปแบบ วิธีการ และภายในระยะเวลาที่สํานักงานแจ้งให้บริษัทจัดการทราบล่วงหน้า ข้อ ๒๘ ให้บริษัทจัดการส่งสําเนางบการเงินและรายงานการสอบบัญชีที่จัดทําขึ้นตามข้อ 12 ให้สํานักงานภายใน 150 วันนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีประจําปีของกองทุน และแสดงไว้ที่ทําการของกองทุนเพื่อให้สมาชิกกองทุนตรวจดูได้ด้วย หมวด ๕ การดําเนินการในกรณีที่ผู้ออกตราสารหนี้ หรือลูกหนี้ตามสิทธิเรียกร้อง ผิดนัดชําระหนี้ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๒๙ ในการจัดการกองทุน หากมีการผิดนัดชําระหนี้หรือมีพฤติการณ์ว่าผู้ออกตราสารหนี้หรือลูกหนี้ตามสิทธิเรียกร้องจะไม่สามารถชําระหนี้ได้ ให้บริษัทจัดการดําเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กําหนดไว้ในหมวดนี้ เว้นแต่สํานักงานจะผ่อนผันเป็นอย่างอื่น ข้อ ๓๐ บริษัทจัดการจะรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่นที่มิใช่หลักประกันเพื่อกองทุนได้ต่อเมื่อได้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับการรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่นไว้ในสัญญารับจัดการกองทุน ข้อบังคับกองทุน หรือได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกองทุน และก่อนการรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่นที่มิใช่หลักประกันในแต่ละครั้ง บริษัทจัดการต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกองทุน โดยคณะกรรมการกองทุนได้ตรวจสอบและแสดงความเห็นพร้อมเหตุผลว่า ในขณะนั้น การรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินดังกล่าวเป็นประโยชน์ต่อสมาชิกมากกว่าการถือหรือมีไว้ซึ่งตราสารหนี้หรือสิทธิเรียกร้อง ในการขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการกองทุนตามวรรคหนึ่ง บริษัทจัดการต้องระบุรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์สินที่กองทุนจะได้จากการรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่น มูลค่าของทรัพย์สิน ประมาณการค่าใช้จ่าย เช่น ค่าใช้จ่ายในการได้มาซึ่งทรัพย์สิน ค่าใช้จ่ายในการบริหารทรัพย์สิน และค่าใช้จ่ายในการจําหน่ายทรัพย์สิน เป็นต้น พร้อมเหตุผลและความจําเป็นในการรับชําระหนี้ รวมทั้งต้องจัดให้มีหรือจัดทําเอกสารหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) เอกสารหลักฐานซึ่งแสดงให้เห็นได้ว่ามีการผิดนัดชําระหนี้เกิดขึ้น (2) บทวิเคราะห์และเหตุผลประกอบบทวิเคราะห์ที่บริษัทจัดการจัดทําขึ้นซึ่งแสดงถึงพฤติการณ์ว่าผู้ออกตราสารหนี้จะไม่สามารถชําระหนี้ได้ ข้อ ๓๑ เมื่อบริษัทจัดการได้รับทรัพย์สินมาจากการรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่น เพื่อกองทุน ให้บริษัทจัดการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับประเภท จํานวน และชื่อผู้ออกตราสารหนี้หรือลูกหนี้ตามสิทธิเรียกร้อง วันที่บริษัทจัดการได้รับทรัพย์สินมาจากการรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่น พร้อมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ได้รับโดยมีสาระสําคัญอย่างน้อยเกี่ยวกับทรัพย์สินดังกล่าว มูลค่าทรัพย์สิน ค่าใช้จ่ายในการรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่น ไปยังคณะกรรมการกองทุนภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดจากเดือนที่ได้รับทรัพย์สินนั้นมา ข้อ ๓๒ ให้บริษัทจัดการกําหนดราคาทรัพย์สินที่กองทุนได้รับมาจากการรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่นเพื่อใช้ในการคํานวณมูลค่าทรัพย์สินของกองทุนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สมาคมกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน ข้อ ๓๓ ให้บริษัทจัดการดําเนินการกับทรัพย์สินที่ได้จากการรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่นตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีเป็นทรัพย์สินประเภทที่กองทุนนั้นสามารถลงทุนได้ บริษัทจัดการอาจมีไว้ซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวต่อไปเพื่อเป็นทรัพย์สินของกองทุนได้ (2) กรณีเป็นทรัพย์สินประเภทที่กองทุนนั้นไม่สามารถลงทุนได้ บริษัทจัดการต้องจําหน่ายทรัพย์สินดังกล่าวภายใน 2 ปีนับแต่วันที่กองทุนได้รับทรัพย์สินนั้นมา เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากคณะกรรมการกองทุน ทั้งนี้ ในระหว่างระยะเวลาดังกล่าว บริษัทจัดการอาจจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินดังกล่าวได้ ในกรณีที่มีค่าใช้จ่ายในการบริหารทรัพย์สิน ให้บริษัทจัดการจ่ายจากทรัพย์สิน ของกองทุน หมวด ๖ การใช้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหลักทรัพย์ของลูกค้า \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓๔ ในกรณีที่บริษัทจัดการได้ลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษัทใดเพื่อเป็นทรัพย์สินของกองทุน หากลูกค้าได้มอบหมายให้บริษัทจัดการใช้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหลักทรัพย์ของบริษัทดังกล่าว ให้บริษัทจัดการปฏิบัติตามข้อ 11 ของประกาศที่ สน. 9/2564 โดยอนุโลม และแจ้งให้ลูกค้าทราบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งผ่านช่องทางหรือโดยวิธีการอื่นใดที่ทําให้มั่นใจได้ว่าลูกค้าสามารถตรวจดูแนวทางในการใช้สิทธิออกเสียงและการดําเนินการใช้สิทธิออกเสียงโดยวิธีที่บริษัทจัดการได้เปิดเผยข้อมูลไว้ ข้อ ๓๕ ในกรณีที่บริษัทจัดการได้ลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษัทใดเพื่อเป็นทรัพย์สินของกองทุน และลูกค้าไม่ได้มอบหมายให้บริษัทจัดการใช้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหลักทรัพย์ของบริษัทดังกล่าว บริษัทจัดการต้องเสนอความเห็นเกี่ยวกับการใช้สิทธิออกเสียงให้คณะกรรมการกองทุนทราบ หรือขอรับมอบหมายจากคณะกรรมการกองทุนเพื่อไปใช้สิทธิออกเสียงแทน หมวด ๗ การจัดการทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้กองทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมวด ๓๖ ในการจัดการทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ ให้บริษัทจัดการกําหนดราคาทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้เพื่อใช้ในการคํานวณมูลค่าทรัพย์สินของกองทุนตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สมาคมกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน หมวด ๓๗ ให้บริษัทจัดการดําเนินการกับทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้กองทุนตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) กรณีเป็นทรัพย์สินประเภทที่กองทุนสามารถลงทุนได้ บริษัทจัดการจะมีไว้ซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวต่อไปเพื่อเป็นทรัพย์สินของกองทุนก็ได้ (2) กรณีเป็นทรัพย์สินประเภทที่กองทุนไม่สามารถลงทุนได้ บริษัทจัดการต้องจําหน่ายทรัพย์สินดังกล่าวภายใน 2 ปีนับแต่วันที่ได้รับทรัพย์สินนั้นมา หรือภายใน 2 ปีนับแต่วันที่ พ้นกําหนดระยะเวลาที่ผู้อุทิศให้ระบุห้ามมิให้กองทุนจําหน่ายทรัพย์สินดังกล่าว แล้วแต่กรณี เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากคณะกรรมการกองทุน ทั้งนี้ ในระหว่างระยะเวลาดังกล่าวบริษัทจัดการอาจจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินดังกล่าวก็ได้ ในกรณีที่มีค่าใช้จ่ายในการบริหารทรัพย์สิน ให้บริษัทจัดการจ่ายจากทรัพย์สินของกองทุน หมวด ๘ หลักเกณฑ์เฉพาะสําหรับการจัดการกองทุน ที่มีหลายนโยบายการลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓๘ ในการจัดการกองทุนที่มีหลายนโยบายการลงทุน ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้ แยกตามแต่ละนโยบายการลงทุนแทนการดําเนินการในส่วนของกองทุนทั้งกองทุน (1) การคํานวณมูลค่าต่อหน่วยตามข้อ 18 และมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน (2) การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนหน่วย มูลค่าต่อหน่วย และมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนตามข้อ 23 (3) การรับรองความถูกต้องของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนตามข้อ 24 ข้อ ๓๙ ในการจัดการกองทุนที่มีหลายนโยบายการลงทุน ให้บริษัทจัดการดําเนินการดังต่อไปนี้แยกตามแต่ละนโยบายการลงทุนที่บริษัทจัดการรับจัดการด้วย (1) การเปิดเผยข้อมูลเมื่อมีการลงนามในสัญญารับจัดการกองทุนแล้วตามข้อ 3 (2) การจัดทําและส่งรายงานต่อสํานักงานตามข้อ 25 วรรคหนึ่ง (2) และ (4) (3) การจัดทําและส่งรายงานอื่นใดให้แก่ลูกค้า (4) การจัดทําและการเก็บรักษางบการเงินตามข้อ 28 (5) การดําเนินการกับทรัพย์สินที่ได้จากการรับชําระหนี้ด้วยทรัพย์สินอื่นตามข้อ 30 (6) การดําเนินการกับทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้กองทุนตามข้อ 37 บทเฉพาะกาล - \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๔๐ ให้บรรดาคําสั่งและหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 87/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อยกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558 หรือที่ใช้บังคับอยู่ตามบทเฉพาะกาลของประกาศดังกล่าว ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกองทุน ตามประกาศนี้ ซึ่งใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดแห่งประกาศนี้ จนกว่าจะได้มีคําสั่งและหนังสือเวียนที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ ๔๑ ในกรณีที่มีประกาศฉบับอื่นใดอ้างอิงประกาศสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 87/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกองทุนตามประกาศนี้ ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงประกาศฉบับนี้ ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
674
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สน. 52/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 2)
ร่างประกาศตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์ฯ ที่ ผ่านการพิจารณาของฝ่ายกฎหมาย 2 แล้ว เมื่อวันที่ 16/08/64 CSDS เลขที่ 43/2564 ครั้งที่ 4 ผ่านทาง CSDS ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 52/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในข้อ 31 โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ กํากับตลาดทุน และข้อ 32 วรรคหนึ่ง แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (3) และ (4) ของข้อ 9 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(3) จัดทําสรุปข้อมูลสําคัญของนโยบายการลงทุนสําหรับนโยบายการลงทุนที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการกองทุนตาม (1) โดยมีรายการและรูปแบบของข้อมูลอย่างน้อยตามที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน ทั้งนี้ สรุปข้อมูลสําคัญของนโยบายการลงทุนต้องมีการเผยแพร่ โดยผ่านช่องทางหรือวิธีการอื่นใดที่ทําให้มั่นใจได้ว่าบุคคลดังต่อไปนี้ สามารถเข้าถึงได้โดยง่ายและอย่างทั่วถึงก่อนการตัดสินใจเลือกหรือเปลี่ยนนโยบายการลงทุน (ก) สมาชิก (ข) สมาชิกและบุคคลทั่วไป ในกรณีของกองทุนหลายนายจ้าง (4) จัดให้มีการทบทวนสรุปข้อมูลสําคัญของนโยบายการลงทุนและเผยแพร่ผ่านช่องทางหรือวิธีการตาม (3) ทุกงวด 6 เดือนของปีปฏิทิน และเผยแพร่แก่สมาชิกหรือบุคคลทั่วไป แล้วแต่กรณี ทราบภายใน 45 วันนับแต่วันสิ้นงวด 6 เดือนของปีปฏิทิน แต่ในกรณีที่สรุปข้อมูลสําคัญของนโยบายการลงทุนที่กองทุนหลายนายจ้างเปิดเผยไว้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสําคัญ ให้บริษัทจัดการปรับปรุงสรุปข้อมูลดังกล่าวให้เป็นปัจจุบันและเผยแพร่แก่บุคคลทั่วไปโดยไม่ชักช้าด้วย กองทุนหลายนายจ้างตามวรรคหนึ่ง (3) และ (4) ไม่รวมถึงกองทุนหลายนายจ้างที่มีนายจ้างเป็นบริษัทในเครือเดียวกันร่วมกันจัดตั้งกองทุน” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในข้อ 27 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 27 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานกํากับดูแลธุรกิจกองทุน ให้บริษัทจัดการจัดทําและส่งข้อมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานจัดการกองทุนตามที่สํานักงานร้องขอ โดยจัดส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่สํานักงานจัดไว้ และดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบวิธีปฏิบัติของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการรับส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์” ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 27/1 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 “ข้อ 27/1 ในกรณีของกองทุนหลายนายจ้าง ให้บริษัทจัดการส่งสรุปข้อมูลสําคัญ ของนโยบายการลงทุนตามข้อ 9(3) และที่ได้ทบทวนตาม (4) ต่อสํานักงานภายใน 45 วันนับแต่วันสิ้นงวด 6 เดือนของทุกปีปฏิทิน และในกรณีที่ข้อมูลดังกล่าวมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสําคัญ ให้บริษัทจัดการปรับปรุงสรุปข้อมูลสําคัญของนโยบายการลงทุนให้เป็นปัจจุบันและจัดส่งให้สํานักงานโดยไม่ชักช้าด้วย การจัดส่งสรุปข้อมูลสําคัญของนโยบายการลงทุนตามวรรคหนึ่ง ให้กระทําผ่าน ระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่สํานักงานจัดไว้ โดยดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบวิธีปฏิบัติของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการรับส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ กองทุนหลายนายจ้างตามวรรคหนึ่งไม่รวมถึงกองทุนหลายนายจ้างที่มีนายจ้าง เป็นบริษัทในเครือเดียวกันร่วมกันจัดตั้งกองทุน” ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
675
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สน. 65/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 3)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 65/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในข้อ 31 โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และข้อ 32 วรรคหนึ่ง แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดการกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนทั่วไป กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนที่มิใช่รายย่อย กองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนประเภทสถาบัน และกองทุนส่วนบุคคล ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 12 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 12 ให้บริษัทจัดการเปิดเผยงบการเงินของกองทุนตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีประจําปี พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป และข้อมูลดังต่อไปนี้ ให้สมาชิกทราบผ่านช่องทางหรือวิธีการอื่นใดที่ทําให้มั่นใจได้ว่าสมาชิกเข้าถึงได้โดยง่ายและรับทราบอย่างทั่วถึง (1) งบการเงินของกองทุนพร้อมรายงานการสอบบัญชีของผู้สอบบัญชี โดยให้เปิดเผยให้สมาชิกทราบภายใน 5 เดือนนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีประจําปีของกองทุน (2) สรุปผลการดําเนินงานของกองทุน และมุมมองเศรษฐกิจและการลงทุน ทุกรอบ 6 เดือนในปีปฏิทินเป็นอย่างน้อย ทั้งนี้ ให้นําเสนอให้สมาชิกทราบภายใน 2 เดือนนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาดังกล่าว ให้บริษัทจัดการจัดเก็บข้อมูลตามวรรคหนึ่ง และเอกสารแสดงจํานวนสมาชิกและมูลค่าเงินกองทุน ณ วันสิ้นเดือนก่อนวันแต่งตั้งผู้สอบบัญชีไว้ที่บริษัทจัดการด้วย” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความในข้อ 28 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 11/2564 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ลงวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 28 ให้บริษัทจัดการส่งสําเนางบการเงินตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีประจําปี พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป และรายงานการสอบบัญชีตามข้อ 12 ให้สํานักงานภายใน 5 เดือนนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีประจําปีของกองทุน และแสดงไว้ที่ทําการของกองทุนเพื่อให้สมาชิกกองทุนตรวจดูได้ด้วย” ข้อ 3 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
676
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 123 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 สํานักงานออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 41/2545 เรื่อง แบบหนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” หมายความว่า กลุ่มบุคคลเดียวกันตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ “กองทุนรวม” หมายความว่า กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ที่บริษัทจัดการกองทุนรวมจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อนําเงินที่ได้จากการจําหน่ายหน่วยลงทุนไปลงทุนในอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ และจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ที่ได้มาจากการลงทุนดังกล่าว “กองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจง” หมายความว่า กองทุนรวมซึ่งกําหนดอสังหาริมทรัพย์ที่จะได้มาจากการลงทุนไว้เป็นการแน่นอนแล้วในโครงการ “กองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจง” หมายความว่า กองทุนรวมซึ่งกําหนดเพียงประเภทและทําเลที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์ที่จะได้มาจากการลงทุนไว้ในโครงการ “โครงการ” หมายความว่า โครงการจัดการกองทุนรวม “บุคคลที่เกี่ยวข้อง” หมายความว่า บุคคลที่เกี่ยวข้องตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกระทําที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการจัดการกองทุนและหลักเกณฑ์ในการป้องกัน “บริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุน” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์และบริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ที่เป็นหน่วยลงทุน “บริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน” หมายความว่า บริษัทประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่อยู่ในบัญชีรายชื่อที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการให้ความเห็นชอบบริษัทประเมินมูลค่าทรัพย์สิน “ผู้จองซื้อพิเศษ” หมายความว่า ผู้จองซื้อพิเศษตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ “ผู้ดูแลผลประโยชน์” หมายความว่า ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม “ผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์” หมายความว่า นิติบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากบริษัทจัดการกองทุนรวมให้ทําหน้าที่ในการบริหารหรือจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมได้มาจากการลงทุน “รายงานการประเมินค่า” หมายความว่า รายงานของบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินซึ่งระบุรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการประเมินค่าหรือการสอบทานการประเมินค่า โดยมีผู้ประเมินหลักตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการให้ความเห็นชอบบริษัทประเมินมูลค่าทรัพย์สิน เป็นผู้ลงลายมือชื่อในรายงานดังกล่าว “สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อ ๓ หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมซึ่งบริษัทจัดการกองทุนรวมจัดทําขึ้นให้มี 2 ส่วน คือ (1) ส่วนข้อมูลโครงการ (2) ส่วนสรุปข้อมูลสําคัญ ข้อ ๔ ในการจัดทําหนังสือชี้ชวนส่วนข้อมูลโครงการ ให้บริษัทจัดการกองทุนรวมใช้รายละเอียดโครงการที่ได้รับอนุมัติจากสํานักงานเป็นหนังสือชี้ชวนส่วนข้อมูลโครงการ ข้อ ๕ ในการจัดทําหนังสือชี้ชวนส่วนสรุปข้อมูลสําคัญ ให้บริษัทจัดการกองทุนรวมจัดทําโดยคํานึงถึงผู้ลงทุนเป็นสําคัญ เพื่อให้ผู้ลงทุนสามารถเลือกกองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนเหมาะสมกับวัตถุประสงค์การลงทุนของตนเอง โดยใช้ข้อความที่สามารถเข้าใจได้ง่าย มีข้อมูลที่ครบถ้วนถูกต้องและชัดเจน และไม่มีลักษณะที่อาจทําให้เกิดความเข้าใจผิดหรือเป็นการบิดเบือนข้อเท็จจริง โดยอาจใช้แผนภาพหรือวิธีการอื่นใดแทนก็ได้ ทั้งนี้ ให้มีรายการดังต่อไปนี้ (1) ลักษณะที่สําคัญของกองทุนรวม (2) ความเสี่ยงในการลงทุนของกองทุนรวม (3) ตารางแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ซื้อหรือผู้ถือหน่วยลงทุนหรือกองทุนรวม ซึ่งต้องมีรายละเอียดตามที่สํานักงานกําหนด (4) คําเตือนและคําแนะนําเกี่ยวกับการลงทุนในหน่วยลงทุน ซึ่งต้องพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ขนาดไม่เล็กกว่าและอ่านได้ชัดเจนกว่าข้อความทั่วไปในหนังสือชี้ชวน (5) วัน เดือน ปี ที่รวบรวมข้อมูลไว้ในหนังสือชี้ชวน ข้อ ๖ รายการลักษณะที่สําคัญของกองทุนรวม ให้แสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้ (1) ชื่อ ประเภท และอายุของโครงการ 2. วันที่ที่ได้รับอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวม (3) คําถามและคําตอบเกี่ยวกับลักษณะที่สําคัญของกองทุนรวม อย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1. กองทุนรวมนี้เหมาะสมที่จะเป็นทางเลือกสําหรับเงินลงทุนลักษณะใด 2. กองทุนรวมนี้จะนําเงินลงทุนไปลงทุนในอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ใด และมีรายละเอียดของอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวเป็นอย่างไร 1. ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่ระบุเฉพาะเจาะจง ให้ระบุชื่อ ที่ตั้ง ลักษณะ ประเภทการใช้งาน สิทธิของกองทุนรวมในอสังหาริมทรัพย์ที่จะลงทุน อายุการเช่าอสังหาริมทรัพย์ (ถ้ามี) ราคาที่จะซื้อหรือเช่า ราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าโดยบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินสองราย เหตุผลที่จะซื้อหรือเช่าหากราคาที่จะซื้อหรือเช่าสูงกว่าราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าต่ําสุด เกินร้อยละยี่สิบของราคาที่ได้จากรายงานการประเมินค่าดังกล่าว อัตราการให้เช่าพื้นที่ในระยะเวลาสามปีย้อนหลัง (ถ้ามี) และรายชื่อเจ้าของ ผู้ให้เช่า ผู้โอนสิทธิการเช่า หรือผู้ให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมลงทุน ในกรณีที่ผู้ให้เช่า ผู้โอนสิทธิการเช่า หรือผู้ให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์มิใช่บุคคลเดียวกับบุคคลที่เป็นเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับสิทธิของบุคคลดังกล่าวที่มีสิทธิเหนืออสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมจะลงทุน 2. ในกรณีที่เป็นกองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจง ให้ระบุประเภทและทําเลที่ตั้งของอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าที่กองทุนรวมจะลงทุน (ค) วิธีการจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมจะลงทุนเป็นอย่างไร และนโยบายการบริหารอสังหาริมทรัพย์เป็นอย่างไร (ง) ภาพรวมของธุรกิจการจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมจะลงทุนเป็นอย่างไร (จ) กองทุนรวมนี้มีการประกันภัยอย่างไร (ฉ) ผลกระทบต่อผลประกอบการของกองทุนรวมจะเป็นอย่างไร ในกรณีที่เป็นการเช่าช่วงอสังหาริมทรัพย์ หรือการเช่าในอาคาร โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างที่ผู้ให้เช่ามิได้เป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ตามโฉนดที่ดินหรือผู้มีสิทธิครอบครองตามหนังสือรับรองการทําประโยชน์ และหากต่อมาผู้มีกรรมสิทธิ์ตามโฉนดที่ดินหรือผู้มีสิทธิครอบครองตามหนังสือรับรองการทําประโยชน์บอกเลิกสัญญาโดยมิได้จัดให้มีผู้รับประกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการบอกเลิกสัญญาของ บุคคลดังกล่าว (ช) รายชื่อหรือลักษณะผู้จองซื้อพิเศษ หรือเจ้าของ ผู้ให้เช่า ผู้โอนสิทธิการเช่าหรือผู้ให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์ ที่กองทุนรวมจะลงทุน หรือกลุ่มบุคคลเดียวกัน ที่จะได้รับการจัดสรรหน่วยลงทุนเป็นจํานวนและสัดส่วนเท่าใด (ซ) ผู้ลงทุนจะได้อะไรจากเงินลงทุน (ฌ) ปัจจัยใดที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อเงินลงทุนของผู้ลงทุน (ญ) การลงทุนในกองทุนรวมนี้กับกองทุนรวมอื่นที่มิใช่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์มีความเสี่ยงแตกต่างกันอย่างไร (ฎ) บริษัทจัดการกองทุนรวม ผู้บริหารของบริษัทจัดการกองทุนรวม ผู้จัดการกองทุนรวม ผู้ดูแลผลประโยชน์ บริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน ที่ปรึกษา ผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องของบุคคลดังกล่าว มีความสัมพันธ์กับเจ้าของ หรือผู้ให้เช่า ผู้โอนสิทธิการเช่า หรือผู้ให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์ ที่กองทุนรวมจะลงทุนหรือไม่ อย่างไร (4) คําถามและคําตอบเกี่ยวกับข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับวิธีการลงทุนในหน่วยลงทุน สิทธิของผู้ลงทุน และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวม เช่น วิธีการซื้อขายหน่วยลงทุน วิธีการจัดสรรหน่วยลงทุน ข้อจํากัดในการจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่บุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใด ข้อจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุนเกินกว่าหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด ช่องทางที่ผู้ลงทุนสามารถทราบข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่าหน่วยลงทุน ช่องทางและวิธีการร้องเรียน การจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้ดูแลผลประโยชน์ บริษัทประเมินค่าทรัพย์สิน ผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ (ถ้ามี) ที่ปรึกษา (ถ้ามี) นายทะเบียนหน่วยลงทุน บริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุน (ถ้ามี) และผู้สอบบัญชี เป็นต้น ข้อ ๗ รายการความเสี่ยงในการลงทุนของกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการกองทุนรวมระบุความเสี่ยง เช่น ความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ความเสี่ยงจากการแข่งขัน ความเสี่ยงจากภัยพิบัติต่าง ๆ ความเสี่ยงจากการดําเนินงานของผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ (ถ้ามี) ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องในการซื้อขายหน่วยลงทุน ความเสี่ยงของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เมื่อเปรียบเทียบกับกองทุนรวมประเภทอื่น เป็นต้น รวมทั้งแนวทางการบริหารจัดการลงทุนเพื่อลดความเสี่ยงแต่ละประเภท (ถ้ามี) ข้อ ๘ รายการคําเตือนและคําแนะนําเกี่ยวกับการลงทุนในหน่วยลงทุน ให้มีข้อความที่เตือนและแนะนําให้ผู้ลงทุนเข้าใจในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) คําเตือนที่แสดงว่า การลงทุนในหน่วยลงทุนมิใช่การฝากเงิน และมีความเสี่ยงของการลงทุน ผู้ลงทุนอาจได้รับเงินลงทุนคืนมากกว่าหรือน้อยกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกก็ได้ นอกจากนี้ รายได้หลักของกองทุนรวมนี้จะขึ้นอยู่กับรายได้ค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์ ดังนั้น ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาถึงข้อมูลของอสังหาริมทรัพย์ ความสามารถของผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ และสภาพธุรกิจการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รวมทั้งศึกษาปัจจัยความเสี่ยงที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน (2) คําเตือนในกรณีของกองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจง ที่แสดงว่ากองทุนรวมมิได้ระบุว่าจะลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ใด การตัดสินใจลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้จัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (3) คําเตือนที่แสดงว่า กองทุนรวมเป็นนิติบุคคลแยกต่างหากจากบริษัทจัดการกองทุนรวม (4) คําเตือนในกรณีของกองทุนรวมซึ่งจะลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ที่แสดงว่าเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาตามสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ มูลค่าหน่วยลงทุนอาจลดลงจนถึงศูนย์บาทได้ และกองทุนรวมนี้ไม่ได้สํารองเงินทุนไว้สําหรับการจ่ายคืนเงินลงทุนให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนเมื่อมีการเลิกกองทุนรวม แต่อาจจะจ่ายคืนเงินลงทุนบางส่วนหรือทั้งหมดให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนโดยการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมก่อนการเลิกกองทุนรวมก็ได้ (5) คําเตือนในกรณีที่มีการลงทุนเพื่อบริษัทจัดการกองทุนรวมซึ่งอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์แก่กองทุนรวม เช่น คําเตือนว่าบริษัทจัดการกองทุนรวมอาจลงทุนในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่นเพื่อบริษัทจัดการกองทุนรวมเช่นเดียวกันกับที่บริษัทจัดการกองทุนรวมลงทุนในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่นเพื่อกองทุนรวม โดยบริษัทจะจัดให้มีระบบงานที่ป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมต่อผู้ถือหน่วยลงทุน เป็นต้น (6) คําแนะนําที่แสดงว่า ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลในหนังสือชี้ชวนให้เข้าใจและควรเก็บหนังสือชี้ชวนไว้เป็นข้อมูลเพื่อใช้อ้างอิงในอนาคต และเมื่อมีข้อสงสัยให้สอบถามผู้ติดต่อกับผู้ลงทุนให้เข้าใจก่อนซื้อหน่วยลงทุน (7) คําแนะนําที่แสดงว่า ในกรณีที่ผู้ลงทุนต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติม ผู้ลงทุนสามารถขอหนังสือชี้ชวนส่วนข้อมูลโครงการได้ที่บริษัทจัดการกองทุนรวมหรือบริษัทจัดจําหน่ายหน่วยลงทุน การพิมพ์คําเตือนและคําแนะนําตาม (1) (2) (4) และ (6) ให้พิมพ์ไว้ในกรอบสี่เหลี่ยมที่หน้าแรก หรือปกหน้าด้านนอกในกรณีที่หนังสือชี้ชวนนั้นมีปก โดยอยู่ส่วนบนสุดหรือส่วนล่างสุดและการพิมพ์คําเตือนและคําแนะนําตาม (3) (5) และ (7) ให้พิมพ์ไว้ก่อนวัน เดือน ปี ที่รวบรวมข้อมูลไว้ในหนังสือชี้ชวน ข้อ ๙ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หมายเหตุ - เหตุผลในการออกประกาศฉบับนี้ คือ เพื่อให้หนังสือชี้ชวนมีการนําเสนอข้อมูลที่เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งผู้ลงทุนสามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนได้อย่างสะดวกและถูกต้อง และเพื่อให้ผู้ทําหน้าที่เสนอขายหน่วยลงทุนสามารถใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการเสนอขายหน่วยลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์นั้น ๆ
677
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สน. 55/2552 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 2)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 55/2552 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 2) --------------------- อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 123 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 มาตรา 43 มาตรา 44 และมาตรา 64 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย สํานักงานออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (ค) ของ (3) ในข้อ 6 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ค) วิธีการจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมจะลงทุนเป็นอย่างไร นโยบายการบริหารอสังหาริมทรัพย์เป็นอย่างไร และกองทุนรวมมีนโยบายการกู้ยืมเงินหรือไม่ อย่างไร” ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความใน (ช) ของ (3) ในข้อ 6 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ช) รายชื่อหรือลักษณะผู้จองซื้อพิเศษ หรือเจ้าของ ผู้ให้เช่า ผู้โอนสิทธิการเช่าหรือผู้ให้สิทธิในอสังหาริมทรัพย์ ที่กองทุนรวมจะลงทุน หรือกลุ่มบุคคลเดียวกันของบุคคลดังกล่าว ที่จะได้รับการจัดสรรหน่วยลงทุนเป็นจํานวนและสัดส่วนเท่าใด” ข้อ ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (5) ของข้อ 6 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 “(5) ประมาณการรายได้และค่าใช้จ่ายของกองทุนรวม (ถ้ามี) ไม่เกินหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี โดยให้แสดงข้อมูลดังกล่าวพร้อมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับการวิเคราะห์ความไวต่อการเปลี่ยนแปลง (sensitivity analysis) ที่ผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน หรือบุคคลอื่นใดที่สํานักงานให้ความเห็นชอบ ทั้งนี้ ประมาณการรายได้ค่าเช่าดังกล่าวต้องได้รับการรับรองจากบริษัทประเมินค่าทรัพย์สินด้วย” ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ 7 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 7 รายการความเสี่ยงในการลงทุนของกองทุนรวม ให้บริษัทจัดการกองทุนรวม ระบุความเสี่ยง เช่น ความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ความเสี่ยงจากการแข่งขัน ความเสี่ยงจากภัยพิบัติต่าง ๆ ความเสี่ยงจากการดําเนินงานของผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ (ถ้ามี) ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องในการซื้อขายหน่วยลงทุน ความเสี่ยงจากการกู้ยืมเงินของ กองทุนรวม (ถ้ามี) หรือความเสี่ยงของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เมื่อเปรียบเทียบกับกองทุนรวมประเภทอื่น เป็นต้น รวมทั้งแนวทางการบริหารจัดการลงทุนเพื่อลดความเสี่ยงแต่ละประเภท” ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความใน (4) ของข้อ 8 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(4) คําเตือนในกรณีของกองทุนรวมซึ่งจะลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ที่แสดงว่า เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาตามสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมลงทุนแล้ว มูลค่า สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวจะลดลงเป็นศูนย์บาท และกองทุนรวมนี้ไม่ได้สํารองเงินทุนไว้สําหรับการจ่ายคืนเงินลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนเมื่อมีการเลิกกองทุนรวม แต่อาจจะจ่ายคืนเงินลงทุนบางส่วนหรือทั้งหมดให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนโดยการลดเงินทุน จดทะเบียนของกองทุนรวมก่อนการเลิกกองทุนรวมก็ได้” ข้อ ๖ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2552 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หมายเหตุ - เหตุผลในการออกประกาศฉบับนี้ คือ เพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายการกู้ยืมเงินและความเสี่ยงในการกู้ยืมเงินตลอดจนประมาณการรายได้และค่าใช้จ่ายของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ และได้รับทราบคําเตือนที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวมที่ลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งข้อมูลและคําเตือนดังกล่าวถือเป็นข้อมูลที่จําเป็นต่อการตัดสินใจลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ จึงจําเป็นต้องออกประกาศนี้
678
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สน. 49/2553 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 3)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 49 /2553 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 123 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 มาตรา 43 มาตรา 44 และมาตรา 64 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย สํานักงานออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นบทนิยามคําว่า “การประกันรายได้” ระหว่างบทนิยามคําว่า “กองทุนรวมที่ไม่ระบุเฉพาะเจาะจง” และคําว่า “โครงการ” ในข้อ 2 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ““การประกันรายได้” หมายความว่า การจัดให้มีบุคคลอื่นเข้ารับประกันรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม ตามจํานวนและภายในระยะเวลาที่ประกันไว้ ” ข้อ 2 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นบทนิยามคําว่า “ผู้รับประกันรายได้” ระหว่างบทนิยามคําว่า “ผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์” และคําว่า “รายงานการประเมินค่า” ในข้อ 2 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ““ผู้รับประกันรายได้” หมายความว่า ผู้ที่ทําสัญญาประกันกับบริษัทจัดการกองทุนรวมในการให้ประกันว่ากองทุนรวมจะได้รับรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม ตามจํานวนและภายในระยะเวลาที่รับประกันไว้ ” ข้อ 3 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นบทนิยามคําว่า “หนังสือค้ําประกันของธนาคารพาณิชย์”ระหว่างบทนิยามคําว่า “รายงานการประเมินค่า” และคําว่า “สํานักงาน” ในข้อ 2 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ““หนังสือค้ําประกันของธนาคารพาณิชย์” หมายความว่า หนังสือค้ําประกันที่ธนาคารพาณิชย์เป็นผู้ออกให้กองทุนรวมเพื่อเป็นประกันรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ของกองทุนรวม” ข้อ 4 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (ฏ) ใน (3) ของข้อ 6 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 “(ฏ) รายได้ที่กองทุนรวมนี้จะได้รับมีการประกันหรือไม่ อย่างไร และผู้รับประกันรายได้มีฐานะทางการเงิน ความสามารถที่จะปฏิบัติตามสัญญา และความสัมพันธ์กับผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมลงทุน (ถ้ามี) อย่างไร ทั้งนี้ การแสดงคําตอบเกี่ยวกับฐานะทางการเงินและความสามารถที่จะปฏิบัติตามสัญญาของผู้รับประกันรายได้ ต้องมีการอธิบายอย่างน้อยในประเด็นดังต่อไปนี้ 1. สรุปฐานะทางการเงิน (financial highlight) ของผู้รับประกันรายได้ที่จัดทําจากงบการเงินหรืองบการเงินรวมของผู้รับประกันรายได้ในสามรอบระยะเวลาบัญชีย้อนหลังก่อนวันยื่นคําขออนุมัติจัดตั้งกองทุนรวม หรือก่อนวันยื่นคําขอรับความเห็นชอบจากสํานักงานในการเพิ่มเงินทุนจดทะเบียน แล้วแต่กรณี หรือที่จัดทําจากงบการเงินหรืองบการเงินรวมของผู้รับประกันรายได้เท่าที่มีการจัดทําไว้ในกรณีที่ผู้รับประกันรายได้เป็นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นไม่ถึงสามปี 2. การวิเคราะห์เกี่ยวกับฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของผู้รับประกันรายได้ และความสามารถของผู้รับประกันรายได้ในการปฏิบัติตามสัญญา โดยในกรณีที่ผู้สอบบัญชีไม่แสดงความเห็นหรือแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขในงบการเงินหรืองบการเงินรวมของผู้รับประกันรายได้ บริษัทจัดการกองทุนรวมต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าว รวมทั้งวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของงบการเงินหรืองบการเงินรวมของผู้รับประกันรายได้ด้วย งบการเงินหรืองบการเงินรวมตามวรรคหนึ่งสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีประจําปีล่าสุดต้องผ่านการตรวจสอบและแสดงความเห็นจากผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงาน เว้นแต่ในกรณีที่รอบระยะเวลาบัญชีประจําปีล่าสุดเป็นรอบระยะเวลาบัญชีประจําปี 2553 ให้ใช้งบการเงินหรืองบการเงินรวมที่ผ่านการตรวจสอบและแสดงความเห็นจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพบัญชีได้” ข้อ 5 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ 6 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 “ความในวรรคหนึ่ง (3) (ฏ) มิให้นํามาใช้บังคับกับกองทุนรวมที่มีการประกันรายได้ซึ่งผู้รับประกันรายได้จัดให้มีหนังสือค้ําประกันของธนาคารพาณิชย์ หรือหลักประกันอื่นที่เทียบเท่าซึ่งครอบคลุมตามจํานวนและระยะเวลาที่ผู้รับประกันรายได้รับประกันไว้” ข้อ 6 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองของข้อ 7 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 “ในกรณีกองทุนรวมที่มีการประกันรายได้ซึ่งผู้รับประกันรายได้มิได้จัดให้มีหนังสือค้ําประกันของธนาคารพาณิชย์หรือหลักประกันอื่นที่เทียบเท่า ซึ่งครอบคลุมตามจํานวนและระยะเวลาที่ผู้รับประกันรายได้รับประกันไว้ ให้บริษัทจัดการกองทุนรวมระบุความเสี่ยงเกี่ยวกับฐานะทางการเงินของผู้รับประกันรายได้ และความเสี่ยงของกองทุนรวมที่มีการประกันรายได้” ข้อ 7 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (8) ในวรรคหนึ่งของข้อ 8 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 “(8) ในกรณีของกองทุนรวมที่มีการประกันรายได้ ให้บริษัทจัดการกองทุนรวมระบุคําเตือนดังต่อไปนี้ (ก) คําเตือนว่า “เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการประกันรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนรวม ผลตอบแทนที่กองทุนรวมจะได้รับนั้นจะขึ้นอยู่กับผลการดําเนินงานของอสังหาริมทรัพย์ที่ลงทุนซึ่งอาจไม่เท่ากับผลตอบแทนที่กองทุนรวมเคยได้รับในช่วงมีการประกันรายได้” (ข) ในกรณีที่ผู้รับประกันรายได้มิได้จัดให้มีหนังสือค้ําประกันของธนาคารพาณิชย์หรือหลักประกันอื่นที่เทียบเท่า ซึ่งครอบคลุมตามจํานวนและระยะเวลาที่ผู้รับประกันรายได้รับประกันไว้ ให้มีคําเตือนว่า “การประกันรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนรวม ขึ้นอยู่กับความสามารถในการปฏิบัติตามสัญญาของผู้รับประกันรายได้ ผู้ลงทุนจึงควรศึกษารายละเอียดของการประกันรายได้ ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของผู้รับประกันรายได้ ก่อนตัดสินใจลงทุน” ไว้ด้วย” ข้อ 8 ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 8 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “การพิมพ์คําเตือนและคําแนะนําตามวรรคหนึ่ง (1) (2) (4) (6) และ (8) ให้พิมพ์ไว้ในกรอบสี่เหลี่ยมที่หน้าแรก หรือปกหน้าด้านนอกในกรณีที่หนังสือชี้ชวนนั้นมีปก โดยอยู่ส่วนบนสุดหรือส่วนล่างสุด และการพิมพ์คําเตือนและคําแนะนําตามวรรคหนึ่ง (3) (5) และ (7) ให้พิมพ์ไว้ก่อนวัน เดือน ปี ที่รวบรวมข้อมูลไว้ในหนังสือชี้ชวน” ข้อ 9 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 (นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ หมายเหตุ : เหตุผลในการออกประกาศฉบับนี้ คือ เพื่อให้ผู้ลงทุนรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการประกันรายได้ของกองทุนรวม ตลอดจนฐานะทางการเงินและความสามารถในการปฏิบัติตามสัญญาของผู้รับประกันรายได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการพิจารณาตัดสินใจลงทุน และเพื่อให้ผู้ลงทุนได้รับทราบคําเตือนที่เกี่ยวข้องกับการประกันรายได้ของกองทุนรวม จึงจําเป็นต้องออกประกาศนี้
679
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สน. 2/2556 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 4)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 2/2556 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 4) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 123 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 อันเป็นพระราชบัญญัติที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 33 มาตรา 34 มาตรา 41 มาตรา 43 มาตรา 44 และมาตรา 64 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทําได้โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย สํานักงานออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (5) ของวรรคหนึ่งในข้อ 6 แห่งประกาศสํานักงาคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 55/2552 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2552 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(5) ประมาณการรายได้และค่าใช้จ่ายของกองทุนรวม (ถ้ามี) ซึ่งแสดงข้อมูลตามรายละเอียดที่กําหนดไว้ในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขายหน่วยลงทุนและการให้บริการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการกองทุน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556 (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
680
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สน. 42/2562 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 42/2562 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุน ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 123 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิก (1) ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 13/2550 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550 (2) ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 55/2552 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2552 (3) ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 49/2553 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 3)ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 (4) ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 2/2556 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556 ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการจัดทําหนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ข้อ ๓ ในประกาศนี้ “กองทุนรวม” หมายความว่า กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ตามประกาศคณะกรรมการ กํากับตลาดทุนว่าด้วยการจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ “บริษัทจัดการ” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนรวม “ผู้ดูแลผลประโยชน์” หมายความว่า ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม “ผู้สนับสนุนการขายหน่วยลงทุน” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ หรือการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ ที่เป็นหน่วยลงทุน “คนต่างด้าว” หมายความว่า คนต่างด้าวและนิติบุคคลที่มีสิทธิในที่ดินเสมือนคนต่างด้าวตามประมวลกฎหมายที่ดิน หรือกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด แล้วแต่กรณี คําว่า “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” “ผู้จองซื้อพิเศษ” “เจ้าของอสังหาริมทรัพย์” และ“ผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุน” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจัดการกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ข้อ ๔ หนังสือชี้ชวนให้แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังต่อไปนี้ (1) ส่วนสรุปข้อมูลสําคัญ (2) ส่วนข้อมูลโครงการ (3) ส่วนรับรองความถูกต้องครบถ้วน ข้อ ๕ หนังสือชี้ชวนส่วนสรุปข้อมูลสําคัญตามข้อ 4(1) ให้ประกอบด้วยข้อมูลและรายการดังต่อไปนี้ (1) ส่วนที่ 1 ข้อมูลสรุป (executive summary) ทั้งนี้ ตามแบบข้อมูลสรุป (executive summary) ท้ายประกาศนี้ (2) ส่วนที่ 2 รายการอย่างน้อยดังนี้ (ก) ลักษณะที่สําคัญของกองทุนรวม ตามข้อ 6 (ข) ความเสี่ยงในการลงทุนของกองทุนรวม ตามข้อ 7 (ค) คําเตือนและคําแนะนําเกี่ยวกับการลงทุนในหน่วยลงทุน ตามข้อ 8 (ง) ค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ซื้อหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน หรือกองทุนรวมทั้งนี้ ตามตารางแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ซื้อหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน หรือกองทุนรวม ท้ายประกาศนี้ (จ) วัน เดือน ปี ที่รวบรวมข้อมูลไว้ในหนังสือชี้ชวน ข้อ ๖ รายการลักษณะที่สําคัญของกองทุนรวม ต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) คําถามและคําตอบเกี่ยวกับลักษณะที่สําคัญของกองทุนรวม อย่างน้อยดังนี้ (ก) กองทุนรวมนี้เหมาะสมที่จะเป็นทางเลือกสําหรับเงินลงทุนลักษณะใด (ข) กองทุนรวมนี้มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ใด มีรายละเอียดของทรัพย์สินดังกล่าวเป็นอย่างไร และมีการจัดหาผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวอย่างไร (ค) กองทุนรวมมีแผนงานและกําหนดเวลาในการนําเงินที่ได้จากการเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งนี้ไปใช้ในการปรับปรุงอสังหาริมทรัพย์อย่างไร โดยให้ระบุข้อมูลอย่างน้อยเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่จะปรับปรุง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการปรับปรุง และกําหนดเวลาที่คาดว่าจะดําเนินการแล้วเสร็จ (ง) กองทุนรวมนี้มีการประกันภัยในทรัพย์สินที่กองทุนรวมลงทุนอย่างไร (จ) กองทุนรวมนี้มีการประกันรายได้หรือไม่ อย่างไร และผู้รับประกันรายได้มีฐานะทางการเงิน ความสามารถที่จะปฏิบัติตามสัญญา และความสัมพันธ์กับผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมลงทุน (ถ้ามี) อย่างไร ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้รับประกันรายได้ที่เป็นนิติบุคคลมิได้จัดให้มีหนังสือค้ําประกันของธนาคารพาณิชย์ หรือหลักประกันอื่นที่เทียบเท่าซึ่งครอบคลุมตามวงเงินและระยะเวลา ที่ผู้รับประกันรายได้รับประกันไว้ การแสดงคําตอบเกี่ยวกับฐานะทางการเงินและความสามารถที่จะปฏิบัติตามสัญญาของผู้รับประกันรายได้ต้องอธิบายอย่างน้อยในประเด็นดังนี้ไว้อย่างชัดเจน 1. สรุปฐานะทางการเงิน (financial highlight) ของผู้รับประกันรายได้ที่จัดทําจากงบการเงินหรืองบการเงินรวมของผู้รับประกันรายได้ประจํางวดปีบัญชี 3 ปีล่าสุด หรือเท่าที่ มีการดําเนินการ 2. การวิเคราะห์เกี่ยวกับฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของ ผู้รับประกันรายได้ และความสามารถของผู้รับประกันรายได้ในการปฏิบัติตามสัญญา โดยในกรณีที่ผู้สอบบัญชีไม่แสดงความเห็นหรือแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขในงบการเงินหรืองบการเงินรวมของผู้รับประกันรายได้ บริษัทจัดการต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าว รวมทั้งวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของ งบการเงินหรืองบการเงินรวมของผู้รับประกันรายได้ด้วย งบการเงินหรืองบการเงินรวมตามวรรคหนึ่งสําหรับงวดปีบัญชีล่าสุดต้องผ่านการตรวจสอบและแสดงความเห็นจากผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีในตลาดทุน (ฉ) การลงทุนในกองทุนรวมนี้กับกองทุนรวมอื่นที่มิใช่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์มีความเสี่ยงแตกต่างกันอย่างไร (ช) รายชื่อหรือลักษณะผู้จองซื้อพิเศษ เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ หรือกลุ่มบุคคลเดียวกัน ของบุคคลดังกล่าว ที่จะได้รับการจัดสรรหน่วยลงทุนเป็นจํานวนและสัดส่วนเท่าใด (2) คําถามและคําตอบเกี่ยวกับข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับวิธีการลงทุนในหน่วยลงทุน สิทธิของผู้ลงทุน และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวม อย่างน้อยในประเด็นดังนี้ (ก) จํานวน ราคาของหน่วยลงทุนที่เสนอขาย และจํานวนเงินจองซื้อขั้นต่ํา (ข) วิธีการจําหน่ายหน่วยลงทุน การรับชําระและการเก็บรักษาเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุน วิธีการจัดสรรหน่วยลงทุน และการคืนเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุนพร้อมดอกเบี้ยแก่ผู้ไม่ได้รับการจัดสรรหน่วยลงทุนหรือแก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนในกรณีที่ต้องยกเลิกการขายหน่วยลงทุน (ค) ข้อจํากัดในการจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่บุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใดไม่เกิน 1 ใน 3 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวมข้อจํากัดในการจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่คนต่างด้าว และข้อจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุน เกินกว่า 1 ใน 3 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด (ง) ช่องทางที่ผู้ลงทุนสามารถทราบข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่าหน่วยลงทุน (จ) ช่องทางและวิธีการร้องเรียน ผู้ดูแลผลประโยชน์ ผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ (ถ้ามี) ที่ปรึกษา (ถ้ามี) นายทะเบียนหน่วยลงทุน ผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุน (ถ้ามี) และผู้สอบบัญชี (3) ประมาณการรายได้และค่าใช้จ่ายของกองทุนรวม (ถ้ามี) ซึ่งแสดงข้อมูลตามรายละเอียดที่กําหนดไว้ในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขายสําหรับผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว ข้อ ๗ รายการความเสี่ยงในการลงทุนของกองทุนรวม ต้องมีคําอธิบายความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนของกองทุนรวม เช่น ความเสี่ยงจากภาวะเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ความเสี่ยงจากการแข่งขัน ความเสี่ยงจากภัยพิบัติต่าง ๆ ความเสี่ยงจากการดําเนินงานของผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ (ถ้ามี) ความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องในการซื้อขายหน่วยลงทุน ความเสี่ยงจากการกู้ยืมเงินของกองทุนรวม (ถ้ามี) หรือความเสี่ยงของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์เมื่อเปรียบเทียบกับกองทุนรวมประเภทอื่น เป็นต้น รวมทั้งแนวทางการบริหารจัดการลงทุนเพื่อลดความเสี่ยงแต่ละประเภท ข้อ ๘ รายการคําเตือนและคําแนะนําเกี่ยวกับการลงทุนในหน่วยลงทุน ให้มีข้อความที่เตือนและแนะนําให้ผู้ลงทุนเข้าใจในเรื่องอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) คําเตือนที่แสดงว่า การลงทุนในหน่วยลงทุนมิใช่การฝากเงิน และมีความเสี่ยงของการลงทุน ผู้ลงทุนอาจได้รับเงินลงทุนคืนมากกว่าหรือน้อยกว่าเงินลงทุนเริ่มแรกก็ได้ นอกจากนี้ รายได้หลักของกองทุนรวมนี้จะขึ้นอยู่กับรายได้ค่าเช่าอสังหาริมทรัพย์ ดังนั้น ผู้ลงทุนจึงควรพิจารณาถึงข้อมูลของอสังหาริมทรัพย์ ความสามารถของผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ และสภาพธุรกิจการให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รวมทั้งศึกษาปัจจัยความเสี่ยงที่ระบุไว้ในหนังสือชี้ชวน (2) คําเตือนที่แสดงว่า กองทุนรวมเป็นนิติบุคคลแยกต่างหากจากบริษัทจัดการ (3) คําเตือนในกรณีของกองทุนรวมซึ่งลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ที่แสดงว่า เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาตามสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ที่กองทุนรวมลงทุนแล้ว มูลค่าสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวจะลดลงเป็น 0 บาท และกองทุนรวมนี้ไม่ได้สํารองเงินทุนไว้สําหรับการจ่ายคืน เงินลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนเมื่อมีการเลิกกองทุนรวม แต่อาจจะจ่ายคืนเงินลงทุนบางส่วนหรือทั้งหมดให้แก่ผู้ถือหน่วยลงทุนโดยการลดเงินทุนจดทะเบียนของกองทุนรวมก่อนการเลิกกองทุนรวมก็ได้ (4) คําเตือนในกรณีที่มีการลงทุนเพื่อบริษัทจัดการซึ่งอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์แก่กองทุนรวม เช่น คําเตือนว่าบริษัทจัดการอาจลงทุนในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่นเพื่อบริษัทจัดการเช่นเดียวกันกับที่บริษัทจัดการลงทุนในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่นเพื่อกองทุนรวม โดยบริษัทจัดการจะจัดให้มีระบบงานที่ป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ต่อผู้ถือหน่วยลงทุน เป็นต้น (5) คําแนะนําที่แสดงว่า ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลในหนังสือชี้ชวนให้เข้าใจและควรเก็บหนังสือชี้ชวนไว้เป็นข้อมูลเพื่อใช้อ้างอิงในอนาคต และเมื่อมีข้อสงสัยให้สอบถามบริษัทจัดการ หรือผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุนให้เข้าใจก่อนซื้อหน่วยลงทุน (6) คําแนะนําที่แสดงว่า ในกรณีที่ผู้ลงทุนต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติม ผู้ลงทุนสามารถขอหนังสือชี้ชวนส่วนข้อมูลโครงการได้ที่บริษัทจัดการหรือผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุน (7) ในกรณีของกองทุนรวมที่มีการประกันรายได้ ให้บริษัทจัดการระบุคําเตือนดังต่อไปนี้ (ก) คําเตือนว่า “เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการประกันรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์ ของกองทุนรวม ผลตอบแทนที่กองทุนรวมจะได้รับนั้นจะขึ้นอยู่กับผลการดําเนินงานของอสังหาริมทรัพย์ ที่ลงทุนซึ่งอาจไม่เท่ากับผลตอบแทนที่กองทุนรวมเคยได้รับในช่วงมีการประกันรายได้” (ข) ในกรณีที่ผู้รับประกันรายได้มิได้จัดให้มีหนังสือค้ําประกันของธนาคารพาณิชย์ หรือหลักประกันอื่นที่เทียบเท่า ซึ่งครอบคลุมตามจํานวนและระยะเวลาที่ผู้รับประกันรายได้รับประกันไว้ ให้มีคําเตือนว่า “การประกันรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนรวม ขึ้นอยู่กับความสามารถในการปฏิบัติตามสัญญาของผู้รับประกันรายได้ ผู้ลงทุนจึงควรศึกษารายละเอียดของการประกันรายได้ ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของผู้รับประกันรายได้ ก่อนตัดสินใจลงทุน” ไว้ด้วย การพิมพ์คําเตือนและคําแนะนําตามวรรคหนึ่งต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) คําเตือนและคําแนะนําต้องพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ขนาดไม่เล็กกว่าและอ่านได้ชัดเจนกว่าข้อความทั่วไปในหนังสือชี้ชวน (2) คําเตือนและคําแนะนําตามวรรคหนึ่ง (1) (3) (5) และ (7) ต้องพิมพ์ไว้ในกรอบสี่เหลี่ยมที่หน้าแรก หรือปกหน้าด้านนอกในกรณีที่หนังสือชี้ชวนนั้นมีปก โดยอยู่ส่วนบนสุดหรือส่วนล่างสุด (3) คําเตือนและคําแนะนําตามวรรคหนึ่ง (2) (4) และ (6) ให้พิมพ์ไว้ก่อนวัน เดือน ปี ที่รวบรวมข้อมูลไว้ในหนังสือชี้ชวน ข้อ ๙ ในการจัดทําหนังสือชี้ชวนส่วนข้อมูลโครงการตามข้อ 4(2) ให้บริษัทจัดการใช้รายละเอียดโครงการจัดการกองทุนรวมที่ได้รับอนุมัติจากสํานักงานเป็นหนังสือชี้ชวนส่วนข้อมูลโครงการ ข้อ ๑๐ หนังสือชี้ชวนส่วนรับรองความถูกต้องครบถ้วนตามข้อ 4(3) ให้อยู่ในส่วนท้ายของหนังสือชี้ชวน โดยต้องมีข้อความที่แสดงว่าบริษัทจัดการได้สอบทานข้อมูลใน หนังสือชี้ชวนฉบับนี้ด้วยความระมัดระวังในฐานะผู้รับผิดชอบในการดําเนินการของกองทุนรวมแล้ว และบริษัทจัดการขอรับรองว่าข้อมูลดังกล่าวถูกต้องครบถ้วน ไม่เป็นเท็จ ไม่ทําให้ผู้อื่นสําคัญผิด และไม่ขาดข้อมูลที่ควรต้องแจ้งในสาระสําคัญ ข้อ ๑๑ หนังสือชี้ชวนส่วนรับรองความถูกต้องครบถ้วนต้องมีบุคคลใดบุคคลหนึ่งดังต่อไปนี้ ลงลายมือชื่อพร้อมทั้งประทับตราบริษัท (ถ้ามี) (1) กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทของบริษัทจัดการ (2) ผู้รับมอบอํานาจจากบริษัทจัดการ ซึ่งต้องเป็นบุคคลที่มีตําแหน่งไม่ต่ํากว่าผู้อํานวยการฝ่าย หรือผู้ดํารงตําแหน่งเทียบเท่าที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่รับผิดชอบงานในสายงานเกี่ยวกับการจัดตั้งกองทุนรวม ข้อ ๑๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 (นางทิพยสุดา ถาวรามร) รองเลขาธิการ เลขาธิการแทน สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
681
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สน. 38/2563 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 2)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 38/2563 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุน ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 123 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในข้อ 5 และข้อ 6 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 42/2562 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 5 หนังสือชี้ชวนส่วนสรุปข้อมูลสําคัญตามข้อ 4(1) ให้ประกอบด้วยข้อมูลและรายการดังต่อไปนี้ (1) ส่วนที่ 1 ข้อมูลสรุป (executive summary) ทั้งนี้ ตามแบบข้อมูลสรุป (executive summary) ท้ายประกาศนี้ (2) ส่วนที่ 2 รายการอย่างน้อยดังนี้ (ก) ลักษณะที่สําคัญของกองทุนรวม ตามข้อ 6 (ข) ความเสี่ยงในการลงทุนของกองทุนรวม ตามข้อ 7 (ค) คําเตือนและคําแนะนําเกี่ยวกับการลงทุนในหน่วยลงทุน ตามข้อ 8 (ง) ค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ซื้อหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน หรือกองทุนรวมทั้งนี้ ตามตารางแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ซื้อหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน หรือกองทุนรวมท้ายประกาศนี้ (จ) วัน เดือน ปี ที่รวบรวมข้อมูลไว้ในหนังสือชี้ชวน ข้อ 6 รายการลักษณะที่สําคัญของกองทุนรวม ต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) คําถามและคําตอบเกี่ยวกับลักษณะที่สําคัญของกองทุนรวม อย่างน้อยดังนี้ (ก) กองทุนรวมนี้เหมาะสมที่จะเป็นทางเลือกสําหรับเงินลงทุนลักษณะใด (ข) กองทุนรวมนี้มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ใด มีรายละเอียดของทรัพย์สินดังกล่าวเป็นอย่างไร และมีการจัดหาผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวอย่างไร (ค) กองทุนรวมมีแผนงานและกําหนดเวลาในการนําเงินที่ได้จากการเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งนี้ไปใช้ในการปรับปรุงอสังหาริมทรัพย์อย่างไร โดยให้ระบุข้อมูลอย่างน้อยเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ที่จะปรับปรุง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการปรับปรุง และกําหนดเวลาที่คาดว่า จะดําเนินการแล้วเสร็จ (ง) กองทุนรวมนี้มีการประกันภัยในทรัพย์สินที่กองทุนรวมลงทุนอย่างไร (จ) กองทุนรวมนี้มีการประกันรายได้หรือไม่ อย่างไร และผู้รับประกันรายได้ มีฐานะทางการเงิน ความสามารถที่จะปฏิบัติตามสัญญา และความสัมพันธ์กับผู้เช่าอสังหาริมทรัพย์ ที่กองทุนรวมลงทุน (ถ้ามี) อย่างไร ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้รับประกันรายได้ที่เป็นนิติบุคคลมิได้จัดให้มีหนังสือค้ําประกันของธนาคารพาณิชย์ หรือหลักประกันอื่นที่เทียบเท่าซึ่งครอบคลุมตามวงเงินและระยะเวลาที่ผู้รับประกันรายได้รับประกันไว้ การแสดงคําตอบเกี่ยวกับฐานะทางการเงินและความสามารถที่จะปฏิบัติตามสัญญาของผู้รับประกันรายได้ต้องอธิบายอย่างน้อยในประเด็นดังนี้ไว้อย่างชัดเจน 1. สรุปฐานะทางการเงิน (financial highlight) ของผู้รับประกันรายได้ที่จัดทําจากงบการเงินหรืองบการเงินรวมของผู้รับประกันรายได้ประจํางวดปีบัญชี 3 ปีล่าสุด หรือเท่าที่ มีการดําเนินการ 2. การวิเคราะห์เกี่ยวกับฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของ ผู้รับประกันรายได้ และความสามารถของผู้รับประกันรายได้ในการปฏิบัติตามสัญญา โดยในกรณีที่ผู้สอบบัญชีไม่แสดงความเห็นหรือแสดงความเห็นอย่างมีเงื่อนไขในงบการเงินหรืองบการเงินรวมของผู้รับประกันรายได้ บริษัทจัดการต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าว รวมทั้งวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของ งบการเงินหรืองบการเงินรวมของผู้รับประกันรายได้ด้วย งบการเงินหรืองบการเงินรวมตามวรรคหนึ่งสําหรับงวดปีบัญชีล่าสุดต้องผ่านการตรวจสอบและแสดงความเห็นจากผู้สอบบัญชีที่ได้รับความเห็นชอบจากสํานักงานตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการให้ความเห็นชอบผู้สอบบัญชีในตลาดทุน (ฉ) การลงทุนในกองทุนรวมนี้กับกองทุนรวมอื่นที่มิใช่กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์มีความเสี่ยงแตกต่างกันอย่างไร (ช) รายชื่อหรือลักษณะผู้จองซื้อพิเศษ เจ้าของอสังหาริมทรัพย์ หรือกลุ่มบุคคลเดียวกัน ของบุคคลดังกล่าว ที่จะได้รับการจัดสรรหน่วยลงทุนเป็นจํานวนและสัดส่วนเท่าใด (2) คําถามและคําตอบเกี่ยวกับข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับวิธีการลงทุนในหน่วยลงทุน สิทธิของผู้ลงทุน และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับกองทุนรวม อย่างน้อยในประเด็นดังนี้ (ก) จํานวน ราคาของหน่วยลงทุนที่เสนอขาย และจํานวนเงินจองซื้อขั้นต่ํา (ข) วิธีการจําหน่ายหน่วยลงทุน การรับชําระและการเก็บรักษาเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุน วิธีการจัดสรรหน่วยลงทุน และการคืนเงินค่าจองซื้อหน่วยลงทุนพร้อมดอกเบี้ยแก่ผู้ไม่ได้รับการจัดสรรหน่วยลงทุนหรือแก่ผู้จองซื้อหน่วยลงทุนในกรณีที่ต้องยกเลิกการขายหน่วยลงทุน (ค) ข้อจํากัดในการจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่บุคคลใดหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันใดไม่เกิน 1 ใน 3 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกองทุนรวม ข้อจํากัดในการจัดสรรหน่วยลงทุนให้แก่คนต่างด้าว และข้อจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยลงทุนที่ถือหน่วยลงทุน เกินกว่า 1 ใน 3 ของจํานวนหน่วยลงทุนที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด (ง) ช่องทางที่ผู้ลงทุนสามารถทราบข้อมูลเกี่ยวกับมูลค่าหน่วยลงทุน (จ) ช่องทางและวิธีการร้องเรียน ผู้ดูแลผลประโยชน์ ผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ (ถ้ามี) ที่ปรึกษา (ถ้ามี) นายทะเบียนหน่วยลงทุน ผู้จัดจําหน่ายหน่วยลงทุน (ถ้ามี) และผู้สอบบัญชี (3) ประมาณการรายได้และค่าใช้จ่ายของกองทุนรวม (ถ้ามี) ซึ่งแสดงข้อมูลตามรายละเอียดที่กําหนดไว้ในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในรายละเอียดเกี่ยวกับการโฆษณาและการส่งเสริมการขายสําหรับผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่าว” ข้อ 2 ให้ยกเลิกตารางแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ซื้อหรือผู้ถือหน่วยลงทุนหรือกองทุนรวมท้ายประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 42/2562 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 และให้ใช้ตารางแสดงค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ซื้อหน่วยลงทุน ผู้ถือหน่วยลงทุน หรือกองทุนรวมท้ายประกาศนี้แทน ข้อ 3 ให้เพิ่มแบบข้อมูลสรุป (executive summary) ท้ายประกาศนี้ เป็นแบบข้อมูลสรุป (executive summary) ท้ายประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 42/2562 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
682
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สน. 25/2564 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 3)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 25/2564 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุน ของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 123 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 สํานักงานออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (ข) ของ (1) ในข้อ 6 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 42/2562 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ ลงวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2562 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สน. 38/2563 เรื่อง หนังสือชี้ชวนเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2563 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ข) กองทุนรวมนี้มีการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์หรือสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ใด มีรายละเอียดของทรัพย์สินดังกล่าวเป็นอย่างไร มีการจัดหาผลประโยชน์ในทรัพย์สินดังกล่าวอย่างไร และมีค่าเช่าแน่นอนเป็นจํานวนเท่าใด หรือมีค่าเช่าที่อ้างอิงกับผลประกอบการของผู้เช่าหรือผู้เช่าช่วงเป็นสัดส่วนเท่าใด” ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
683
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกำหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9 และมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 สํานักงาน ก.ล.ต. ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “กองทรัสต์” หมายความว่า ทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน “กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไป” หมายความว่า กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไปที่มีลักษณะตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน “กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่” หมายความว่า กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่ที่มีลักษณะตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน “ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน” หมายความว่า ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์สามารถลงทุนได้ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน “บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน” หมายความว่า บุคคลที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน “การเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป” (general mandate) หมายความว่า การเพิ่มทุนของกองทรัสต์ตามมติที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ให้อํานาจผู้จัดการกองทรัสต์กําหนดวัตถุประสงค์ รวมทั้งการออกและจัดสรรหน่วยเพิ่มทุนแต่ละคราวตามความเหมาะสม เช่น การกําหนดราคา วันและเวลาที่จะเสนอขาย หรือเงื่อนไขในการเสนอขายหน่วยทรัสต์ เป็นต้น คําว่า “หน่วยทรัสต์” “ผู้ลงทุนรายใหญ่” “ผู้จัดการกองทรัสต์” “ทุนชําระแล้ว” “กิจการโครงสร้างพื้นฐาน” “โครงการที่ไม่แล้วเสร็จ” “ที่ปรึกษาทางการเงิน” “การกู้ยืมเงิน” และ “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ข้อ ๒ ประกาศนี้ (1) เป็นข้อกําหนดที่ใช้ประกอบกับข้อกําหนดตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (2) เป็นการกําหนดรายการในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์ดังต่อไปนี้ (ก) กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไป ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวด 1 (ข) กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวด 2 หมวด ๑ กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓ สัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไป ให้ประกอบด้วยรายการอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การก่อตั้งกองทรัสต์ ตามข้อ 4 (2) หน่วยทรัสต์ ตามข้อ 5 (3) เพิ่มทุนของกองทรัสต์ ตามข้อ 6 (4) การลดทุนของกองทรัสต์ ตามข้อ 7 (5) นิติสัมพันธ์ของผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 8 (6) การจัดทําทะเบียนและการโอนหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 9 (7) การลงทุนของกองทรัสต์ ตามข้อ 10 ถึงข้อ 15 (8) การจัดหาผลประโยชน์ของกองทรัสต์ ตามข้อ 16 (9) การกู้ยืมเงินของกองทรัสต์และการก่อภาระผูกพันใด ๆ ตามข้อ 17 (10) การประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ตามข้อ 18 (11) การทําธุรกรรมที่เกี่ยวโยงกับผู้จัดการกองทรัสต์ ตามข้อ 19 (12) การทําธุรกรรมกับทรัสตี ตามข้อ 20 (13) การเปิดเผยข้อมูลของกองทรัสต์ ตามข้อ 21 (14) การจ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 22 (15) การขอมติและการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 23 และข้อ 24 (16) การจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือเกินอัตราหรือมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ ตามข้อ 25 (17) อํานาจหน้าที่ของทรัสตี ตามข้อ 26 (18) อํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ ตามข้อ 27 (19) ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย ตามข้อ 28 (20) การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ตามข้อ 29 (21) การเลิกกองทรัสต์ ตามข้อ 30 ข้อ ๔ รายการเกี่ยวกับการก่อตั้งกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ลักษณะของกองทรัสต์และกลไกการบริหาร ซึ่งมีข้อความดังนี้ (ก) “ (ชื่อกองทรัสต์). เป็นกองทรัสต์ตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ที่ก่อตั้งขึ้นด้วยผลของสัญญาก่อตั้งทรัสต์นี้ และสมบูรณ์เมื่อผู้ก่อตั้งทรัสต์ โอนเงินที่ได้จากการจําหน่ายหน่วยทรัสต์ ด้วยความไว้วางใจให้ทรัสตีจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหน่วยทรัสต์” และข้อความที่แสดงว่า “เมื่อกองทรัสต์มีผลสมบูรณ์แล้ว ทรัสตีจะมอบหมายให้ผู้ก่อตั้งทรัสต์ เข้าเป็นผู้จัดการกองทรัสต์ต่อไป” (ข) “กองทรัสต์นี้ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคล โดยเป็นกองทรัพย์สินที่อยู่ในชื่อและอํานาจการจัดการของทรัสตี” (ค) “การจัดการกองทรัสต์ จะกระทําโดยทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ที่ได้รับมอบหมายจากทรัสตีซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามสัญญานี้ ตามขอบเขตอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ปรากฏในรายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ โดยในการนี้ ผู้จัดการกองทรัสต์มีอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการดูแลจัดการกองทรัสต์ ซึ่งรวมถึงการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และทรัสตีมีอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการเก็บรักษาทรัพย์สินของกองทรัสต์และการกํากับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์และผู้รับมอบหมายรายอื่น (ถ้ามี) ให้เป็นไปตามสัญญาและตามกฎหมาย” ทั้งนี้ ในกรณีที่กองทรัสต์มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินอื่นนอกจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้มีข้อความที่แสดงถึงบุคคลที่จะจัดการลงทุนในทรัพย์สินดังกล่าว ด้วย ซึ่งอาจเป็นทรัสตีหรือบุคคลอื่นใดที่สามารถดําเนินการได้โดยชอบก็ได้ (2) ชื่อ อายุ ประเภท และวัตถุประสงค์ของกองทรัสต์ (3) ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ก่อตั้งทรัสต์ (4) ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของทรัสตี (5) ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้จัดการกองทรัสต์ (6) คุณสมบัติหรือลักษณะของผู้รับประโยชน์ของกองทรัสต์ ซึ่งมีข้อความที่แสดงว่า ผู้ถือหน่วยทรัสต์ตามที่ปรากฏชื่อในทะเบียนผู้ถือหน่วยทรัสต์ เป็นผู้รับประโยชน์ของกองทรัสต์นี้ (7) ทรัพย์สินที่จะให้เป็นกองทรัสต์ ทั้งนี้ ทรัพย์สินเริ่มต้นที่จะให้เป็นกองทรัสต์ต้องเป็นเงินที่ผู้ก่อตั้งทรัสต์ได้จากการจําหน่ายหน่วยทรัสต์ในการเสนอขายหน่วยทรัสต์ครั้งแรก (8) วันที่จัดตั้งกองทรัสต์ ข้อ ๕ รายการเกี่ยวกับหน่วยทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดที่แสดงว่า สิทธิในการได้รับประโยชน์จากกองทรัสต์ให้แบ่งออกเป็นหน่วย หน่วยละเท่า ๆ กัน เรียกว่าหน่วยทรัสต์ โดยหน่วยทรัสต์แต่ละชนิดให้สิทธิแก่ผู้ถือเท่า ๆ กันในการเป็นผู้รับประโยชน์จากกองทรัสต์ (2) ลักษณะการแบ่งชนิดของหน่วยทรัสต์ (ถ้ามี) (3) ข้อกําหนดที่แสดงว่า หน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์นี้ให้สิทธิแก่ผู้ถือในการไถ่ถอนหรือไม่ โดยในกรณีที่มีหน่วยทรัสต์ที่ให้สิทธิดังกล่าว ให้ระบุสิทธิ ตลอดจนเงื่อนไขและวิธีการในการใช้สิทธิให้ชัดเจน (4) จํานวนหน่วยทรัสต์ที่ออกและทุนชําระแล้วของกองทรัสต์ โดยในกรณีที่มีการแบ่งหน่วยทรัสต์ออกเป็นหลายชนิด ให้แสดงแยกเป็นรายชนิดด้วย ข้อ ๖ รายการเกี่ยวกับการเพิ่มทุนของกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญ อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การกําหนดอํานาจหน้าที่ให้ผู้จัดการกองทรัสต์เป็นผู้ดําเนินการเพิ่มทุน (2) เหตุในการเพิ่มทุน (3) กระบวนการเพิ่มทุน ซึ่งต้องมีข้อกําหนดให้ต้องได้รับมติจากที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ในการอนุมัติให้เพิ่มทุน และเป็นไปตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังนี้ (ก) การเพิ่มทุนโดยเสนอขายหน่วยทรัสต์เป็นการเฉพาะเจาะจงให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์บางราย ต้องไม่มีผู้ถือหน่วยทรัสต์ซึ่งถือหน่วยทรัสต์รวมกันเกินกว่าร้อยละสิบของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงคัดค้านการเพิ่มทุน (ข) ในกรณีที่เป็นการขอมติของผู้ถือหน่วยทรัสต์เพื่อการเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป ให้กระทําได้เฉพาะกรณีที่แสดงไว้อย่างชัดเจนว่าการจัดสรรหน่วยทรัสต์เพิ่มทุนจะเป็นไปตามอัตราและหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการเปิดเผยสารสนเทศ และการปฏิบัติการใด ๆ เกี่ยวกับการเพิ่มทุนของบริษัทจดทะเบียน โดยอนุโลม และตามหลักเกณฑ์หรือแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด (ถ้ามี) (ค) ในกรณีที่เป็นการเพิ่มทุนเพื่อลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเพิ่มเติม ได้ผ่านกระบวนการตามข้อ 11 และหากเป็นการทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับผู้จัดการกองทรัสต์หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้จัดการกองทรัสต์ ได้ผ่านการดําเนินการตามข้อ 19 ด้วยแล้ว (ง) ผู้จัดการกองทรัสต์ได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ให้เสนอขายหน่วยทรัสต์ที่ออกใหม่ ข้อ ๗ รายการเกี่ยวกับการลดทุนของกองทรัสต์ ให้มีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การกําหนดอํานาจหน้าที่ให้ผู้จัดการกองทรัสต์เป็นผู้ดําเนินการลดทุน (2) เหตุในการลดทุน ซึ่งมีได้เฉพาะในกรณีดังนี้ (ก) เป็นการลดทุนตามแผนที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ (ข) กองทรัสต์มีสภาพคล่องส่วนเกินที่เหลืออยู่ภายหลังการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน การตัดจําหน่ายสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ (ถ้ามี) และการจ่ายประโยชน์ตอบแทน ทั้งนี้ ต้องปรากฏข้อเท็จจริงด้วยว่ากองทรัสต์ไม่มีกําไรสะสมเหลืออยู่แล้ว (ค) กองทรัสต์มีการเพิ่มทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเพิ่มเติม แต่ปรากฏเหตุขัดข้องในภายหลังทําให้ไม่สามารถได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น (ง) กองทรัสต์มีรายการค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสดและไม่มีเหตุต้องนําไปใช้ในการคํานวณกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วของกองทรัสต์ตามข้อ 22 (จ) กรณีอื่นใดที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์มีมติให้ลดทุนของกองทรัสต์ได้ (3) กระบวนการลดทุน ซึ่งต้องมีข้อกําหนดขั้นต่ําดังนี้ (ก) ที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์มีมติอนุมัติให้ลดทุน ทั้งนี้ ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์มีข้อกําหนดที่ชัดเจนเกี่ยวกับการลดทุนตาม (2) (ก) (ข) (ค) หรือ (ง) จะมีข้อกําหนดให้การลดทุนสําหรับเหตุดังกล่าวสามารถกระทําได้โดยไม่ต้องได้รับมติที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ก็ได้ (ข) วิธีการลดทุน โดยต้องกําหนดให้กระทําด้วยวิธีการลดมูลค่าหน่วยทรัสต์ให้ต่ําลงหรือลดจํานวนหน่วยทรัสต์ให้น้อยลง เว้นแต่ในกรณีของกองทรัสต์ที่มีการแบ่งหน่วยทรัสต์ออกเป็นหลายชนิด และจะมีการลดทุนของหน่วยทรัสต์แต่ละชนิดไม่พร้อมกันหรือไม่เท่ากัน ให้กระทําได้ด้วยวิธีการลดจํานวนหน่วยทรัสต์ให้น้อยลงเท่านั้น (ค) การเฉลี่ยเงินให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ โดยต้องกําหนดว่าจะเฉลี่ยเงินให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มีชื่ออยู่ในสมุดทะเบียน ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยทรัสต์ และมีข้อความที่แสดงอย่างชัดเจนว่า เงินที่เฉลี่ยคืนนั้นต้องมิได้มาจากเงินกําไรของกองทรัสต์ ทั้งนี้ มูลค่าหน่วยทรัสต์ที่ใช้ในการลดทุน ให้คํานวณจากมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทรัสต์ ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยทรัสต์ ข้อ ๘ รายการเกี่ยวกับนิติสัมพันธ์ของผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การเป็นผู้ถือหน่วยทรัสต์มิได้ก่อให้เกิดนิติสัมพันธ์ในลักษณะของตัวการตัวแทนระหว่างผู้ถือหน่วยทรัสต์กับทรัสตี และมิได้ก่อให้เกิดนิติสัมพันธ์ในลักษณะของการเป็นหุ้นส่วนหรือลักษณะใดนอกเหนือจากที่กําหนดไว้ตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 (2) การเป็นผู้ถือหน่วยทรัสต์มิได้ทําให้บุคคลดังกล่าวมีความรับผิดในกรณีที่ทรัพย์สินของกองทรัสต์ไม่เพียงพอต่อการชําระหนี้ให้แก่ทรัสตี ผู้จัดการกองทรัสต์ หรือเจ้าหนี้ของกองทรัสต์ โดยทรัสตี ผู้จัดการกองทรัสต์ และเจ้าหนี้ของกองทรัสต์จะบังคับชําระหนี้ได้จากทรัพย์สินของกองทรัสต์เท่านั้น (3) ผู้ถือหน่วยทรัสต์มีสิทธิเรียกให้กองทรัสต์ชําระประโยชน์ตอบแทนได้ไม่เกินไปกว่าเงินกําไรหลังหักค่าสํารองต่าง ๆ และสิทธิเรียกให้คืนเงินทุนได้ไม่เกินไปกว่าจํานวนทุนของกองทรัสต์ที่ปรับปรุงด้วยส่วนเกินหรือส่วนต่ํากว่ามูลค่าหน่วยทรัสต์ ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการแบ่งชนิดของหน่วยทรัสต์สิทธิในการรับประโยชน์ตอบแทนหรือรับคืนเงินทุนของผู้ถือหน่วยทรัสต์แต่ละชนิดต้องเป็นไปตามข้อกําหนดของหน่วยทรัสต์ชนิดนั้น ๆ ด้วย (4) ไม่ว่าในกรณีใด มิให้ตีความสัญญาก่อตั้งทรัสต์ไปในทางที่ก่อให้เกิดผลขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดตาม (1) (2) และ (3) ข้อ ๙ รายการเกี่ยวกับการจัดทําทะเบียนและการโอนหน่วยทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ทรัสตีมีหน้าที่จัดให้มีทะเบียนหน่วยทรัสต์ โดยจะกําหนดให้ทรัสตีเป็นผู้ดําเนินการจัดทําทะเบียนหน่วยทรัสต์เอง หรือมอบหมายให้บุคคลอื่นตามขอบเขตที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์ และการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานก็ได้ ทั้งนี้ ในกรณีที่ทรัสตีเป็นผู้จัดทําทะเบียนหน่วยทรัสต์เอง ต้องมีข้อกําหนดขั้นต่ําให้ทรัสตีปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการให้บริการเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ โดยอนุโลม (2) ทะเบียนหน่วยทรัสต์ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าถูกต้อง และการชําระเงินหรือทรัพย์สินอื่น รวมทั้งการให้สิทธิหรือการจํากัดสิทธิใด ๆ แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ปรากฏรายชื่ออยู่ในสมุดทะเบียนผู้ถือหน่วยทรัสต์ หากได้กระทําตามข้อกําหนดในสัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือตามกฎหมายแล้ว ให้ถือว่าทรัสตีได้ดําเนินการตามอํานาจหน้าที่แล้ว (3) ทรัสตีหรือนายทะเบียนหลักทรัพย์มีสิทธิปฏิเสธการแสดงชื่อในทะเบียนผู้ถือหน่วยทรัสต์ ในกรณีที่การถือหน่วยทรัสต์ไม่เป็นไปตามอัตราที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (4) ทรัสต์หรือนายทะเบียนหลักทรัพย์จะออกหลักฐานแสดงสิทธิในหน่วยทรัสต์ให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ เพื่อให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์สามารถใช้อ้างอิงต่อทรัสตี ผู้จัดการกองทรัสต์ และบุคคลอื่นได้ ทั้งนี้ ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ให้แสดงตัวอย่างหลักฐานแสดงสิทธิด้วย หรือเป็นการจัดทําหลักฐานอื่นตามระบบศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ข้อ ๑๐ รายการเกี่ยวกับการลงทุนของกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องแสดงสาระสําคัญดังนี้ (ก) นโยบายลงทุนและประเภททรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์จะลงทุน รวมทั้งข้อจํากัดการลงทุน (ถ้ามี) ซึ่งมีสาระสําคัญตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ข) การได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 11 (ค) การจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 12 (2) ในกรณีที่กองทรัสต์มีนโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินอื่นด้วย นอกเหนือจากการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องระบุนโยบายดังกล่าวและประเภททรัพย์สินที่จะลงทุนให้ชัดเจน และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 13 (3) ในกรณีที่กองทรัสต์ถือหุ้นที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดเกี่ยวกับกลไกการกํากับดูแลที่จะเป็นผลให้การลงทุนของบริษัทที่ออกหุ้นดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ตาม (1) และ (2) โดยเสมือนกับว่ากองทรัสต์มีการลงทุนเองโดยตรง ข้อ ๑๑ การได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ผู้จัดการกองทรัสต์จะดําเนินการดังนี้ ก่อนการได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานแต่ละครั้ง (ก) ตรวจสอบหรือสอบทาน (การทํา due diligence) ข้อมูลและสัญญาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะลงทุน เช่น ข้อมูลด้านการเงิน กฎหมาย และเทคนิคเฉพาะทาง เป็นต้น โดยผู้จัดการกองทรัสต์จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่พิจารณาแล้วและมีความเห็นโดยสุจริตว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. มีความเหมาะสมที่จะลงทุน โดยมีศักยภาพในการสร้างผลตอบแทนตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไปนั้น 2. มีเอกสารสิทธิหรือเอกสารสัญญาที่ครบถ้วน ชัดเจน บังคับได้ตามกฎหมาย และเพียงพอต่อการที่กองทรัสต์จะใช้ดําเนินการหรือจัดหาผลประโยชน์ได้ 3. ในกรณีที่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์จะลงทุนอยู่ในต่างประเทศ มีการตรวจสอบและสอบทานแล้วว่ากองทรัสต์สามารถได้มาและถือครองทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามกฎหมายของประเทศนั้น โดยมีความเห็นของที่ปรึกษาทางกฎหมายที่เชี่ยวชาญในกฎหมายของประเทศนั้นประกอบการตรวจสอบหรือสอบทานนั้น (ข) จัดให้มีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอย่างน้อยตามหลักเกณฑ์ในข้อ 18 (2) การได้มาเพิ่มเติมซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดดังนี้ด้วย (ก) ในด้านสาระของรายการ เป็นธุรกรรมที่ผู้จัดการกองทรัสต์มีความเห็นว่าเข้าลักษณะดังนี้ 1. เป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. เป็นไปเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของกองทรัสต์ 3. สมเหตุสมผลและใช้ราคาที่เป็นธรรม 4. ค่าใช้จ่ายในการเข้าทําธุรกรรมที่เรียกเก็บจากกองทรัสต์ (ถ้ามี) อยู่ในอัตราที่เป็นธรรมและเหมาะสม 5. ในกรณีที่เป็นการลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ มูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จทั้งหมดของกองทรัสต์เมื่อรวมกันแล้วจะไม่เกินร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ (ข) ในด้านระบบในการอนุมัติ ต้องผ่านการพิจารณาจากทรัสตีว่าเป็นธุรกรรมที่เป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และการดําเนินการเพิ่มเติมดังนี้ 1. กรณีที่เป็นการได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าเกินกว่าหนึ่งร้อยล้านบาท แต่น้อยกว่าร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ขึ้นไป ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ (board of directors) ของผู้จัดการกองทรัสต์ 2. กรณีที่เป็นการได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าตั้งแต่ร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ ต้องได้รับมติของที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ทั้งนี้ สัญญาก่อตั้งทรัสต์จะกําหนดข้อยกเว้นของการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง หากเป็นการได้มาเพิ่มเติมซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อตกลงหรือสัญญาที่มีกับภาครัฐซึ่งได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวนก็ได้ (ค) ระบบในการอนุมัติตาม (ข) ต้องอยู่ภายใต้กรอบดังนี้ด้วย 1. ผู้ที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในการเข้าทําธุรกรรมต้องไม่มีส่วนร่วม ในการตัดสินใจเข้าทําธุรกรรมนั้น 2. การคํานวณมูลค่าของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้คํานวณตามมูลค่าการได้มาซึ่งทรัพย์สินทั้งหมดของแต่ละโครงการที่ทําให้กองทรัสต์พร้อมจะหารายได้ ซึ่งรวมถึงทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการนั้น ๆ 3. กําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่จัดให้มีเอกสารที่มีรายละเอียดอย่างเพียงพอประกอบการพิจารณาของทรัสตี คณะกรรมการของผู้จัดการกองทรัสต์ หรือผู้ถือหน่วยทรัสต์ แล้วแต่กรณี ซึ่งแสดงความเห็นของผู้จัดการกองทรัสต์เกี่ยวกับลักษณะธุรกรรมที่เป็นไปตาม (ก) พร้อมทั้งเหตุผลและข้อมูลประกอบที่ชัดเจน มาตรา ๑๒ การจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญว่าผู้จัดการกองทรัสต์ต้องดําเนินการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามหลักเกณฑ์ในข้อ 18ก่อนการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว (2) การจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานจะกระทําโดยเปิดเผย และมีสาระของรายการที่เป็นไปตามข้อ 11(2) (ก) มีระบบในการอนุมัติที่เป็นไปตามข้อ 11(2) (ข) และ (ค) โดยอนุโลม มาตรา ๑๓ ในกรณีที่กองทรัสต์มีนโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินอื่นนอกจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม ต้องมีข้อกําหนดที่มีสาระสําคัญดังต่อไปนี้ (1) ประเภทของทรัพย์สินอื่นที่กองทรัสต์จะลงทุน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 14 และข้อ 15 (2) ข้อกําหนดว่า ในกรณีที่ลูกหนี้ตามตราสารที่กองทรัสต์ลงทุนผิดนัดชําระหนี้ หรือมีพฤติการณ์ว่าจะไม่สามารถชําระหนี้ได้ ผู้จัดการกองทรัสต์จะดําเนินการตามหลักเกณฑ์ในเรื่องเดียวกันที่กําหนดไว้สําหรับกองทุนรวมที่ออกตามมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยอนุโลม มาตรา ๑๔ ในกรณีที่กองทรัสต์มีนโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินอื่นนอกจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องระบุนโยบายดังกล่าวและประเภททรัพย์สินที่จะลงทุนให้ชัดเจน โดยอยู่ในขอบเขตประเภททรัพย์สินดังต่อไปนี้ (1) พันธบัตรรัฐบาล (2) ตั๋วเงินคลัง (3) พันธบัตรหรือหุ้นกู้ที่รัฐวิสาหกิจ หรือนิติบุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นเป็นผู้ออก และมีกระทรวงการคลังเป็นผู้ค้ําประกันต้นเงินและดอกเบี้ยเต็มจํานวนแบบไม่มีเงื่อนไข (4) เงินฝากในธนาคาร หรือบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (5) บัตรเงินฝากที่ไม่มีลักษณะของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝง ซึ่งธนาคารหรือบริษัทเงินทุนเป็นผู้ออก (6) ตั๋วแลกเงินหรือตั๋วสัญญาใช้เงินที่ไม่มีลักษณะของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝง ซึ่งธนาคาร บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ เป็นผู้ออก ผู้รับรอง ผู้รับอาวัล หรือผู้ค้ําประกัน ในลักษณะที่เป็นการรับรองตลอดไป รับอาวัลทั้งจํานวน หรือค้ําประกันต้นเงินและดอกเบี้ยเต็มจํานวนอย่างไม่มีเงื่อนไข (7) หน่วยลงทุนหรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตราสารแห่งหนี้ หรือกองทุนรวมอื่นที่มีนโยบายการลงทุนในตราสารแห่งหนี้หรือเงินฝาก (8) หน่วยของโครงการจัดการลงทุนต่างประเทศ (foreign collective investment scheme) ที่มีนโยบายการลงทุนในตราสารแห่งหนี้หรือเงินฝาก ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขดังนี้ (ก) เป็นโครงการจัดการลงทุนที่จัดตั้งขึ้นสําหรับผู้ลงทุนทั่วไป และมีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินประเภทและชนิดเดียวกับทรัพย์สินที่กองทรัสต์สามารถลงทุนหรือมีไว้ได้ (ข) เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ 1. โครงการจัดการลงทุนดังกล่าวอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของหน่วยงานกํากับดูแลด้านหลักทรัพย์และตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกสามัญของ International Organization of Securities Commissions (IOSCO) 2. หน่วยดังกล่าวมีการซื้อขายในตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกของ World Federation of Exchanges (WFE) (9) หน่วยลงทุนของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน หรือหน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานอื่นซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (10) หน่วยของกองทุนโครงสร้างพื้นฐานต่างประเทศ (foreign infrastructure fund) ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขดังนี้ (ก) เป็นกองทุนโครงสร้างพื้นฐานที่มีวัตถุประสงค์หลักในการลงทุนในทรัพย์สินที่เป็นโครงสร้างพื้นฐาน หรือหุ้นสามัญของบริษัทที่ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ข) เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ 1. กองทุนโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าวอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของหน่วยงานที่กํากับดูแลด้านหลักทรัพย์และตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกสามัญของ International Organization of Securities Commissions (IOSCO) 2. หน่วยดังกล่าวมีการซื้อขายในตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกของ World Federation of Exchanges (WFE) หรือมีการรับซื้อคืนโดยผู้ออกตราสาร (11) หุ้นที่ออกโดยบริษัทที่เป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ โดยหุ้นดังกล่าวไม่เข้าลักษณะของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ก) มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มิใช่หุ้นหรือตราสารแห่งหนี้ รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของบริษัทดังกล่าว (ข) มีรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มิใช่หุ้นหรือตราสารหนี้รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของรายได้รวมในแต่ละปีบัญชี (12) สัญญาซื้อขายล่วงหน้า เฉพาะกรณีที่ทําสัญญาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันความเสี่ยงของกองทรัสต์ ข้อ ๑๕ สัญญาก่อตั้งทรัสต์อาจกําหนดให้กองทรัสต์ลงทุนในหุ้นของนิติบุคคลซึ่งเป็นผู้เช่า ผู้รับสิทธิ หรือผู้รับดําเนินการในการนําทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทรัสต์ไปจัดหาผลประโยชน์ได้ เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) สัญญาเช่า ให้สิทธิ หรือให้ดําเนินการกําหนดค่าตอบแทนโดยอ้างอิงกับผลประกอบการ ของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทรัสต์ (2) เป็นการลงทุนในหุ้นที่ให้สิทธิพิเศษเพื่อประโยชน์ในการอนุมัติการดําเนินงานบางประการของนิติบุคคล (golden share) ตามที่ได้กําหนดไว้ในข้อบังคับของนิติบุคคลนั้น ไม่เกินหนึ่งหุ้น ข้อ ๑๖ รายการเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์ของกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่สาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ลักษณะการจัดหาผลประโยชน์ของกองทรัสต์ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (2) ข้อกําหนดให้การเข้าทํา แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน จะกระทําได้ต่อเมื่อมีสาระของรายการที่เป็นไปตามข้อ 11(2) (ก) และระบบในการอนุมัติที่เป็นไปตามข้อ 11(2) (ข) และ (ค) โดยอนุโลม ทั้งนี้ สัญญาก่อตั้งทรัสต์จะกําหนดข้อยกเว้นของการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง (2) หากเป็นการเข้าทํา แก้ไข หรือเลิกสัญญาที่ได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวนก็ได้ ข้อ ๑๗ รายการเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของกองทรัสต์และการก่อภาระผูกพันใด ๆ ต้องมีข้อกําหนดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดที่แสดงว่า กองทรัสต์สามารถกู้ยืมเงินได้หรือไม่ ด้วยวิธีการใด เช่น การขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน หรือการออกตราสารหรือเข้าทําสัญญาที่มีลักษณะเป็นการกู้ยืม เป็นต้น (2) ในกรณีที่กําหนดให้กองทรัสต์สามารถกู้ยืมเงินได้ ต้องระบุสัดส่วนการกู้ยืมเงิน ซึ่งต้องเป็นไปตามอัตราที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (3) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการก่อภาระผูกพันใด ๆ แก่ทรัพย์สินของกองทรัสต์ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (4) ในกรณีที่กองทรัสต์ถือหุ้นที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดเกี่ยวกับกลไกการกํากับดูแลที่จะเป็นผลให้การกู้ยืมเงินหรือก่อภาระผูกพันใด ๆ ของบริษัทที่ออกหุ้นดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ตาม (1) (2) และ (3) โดยเสมือนกับว่ากองทรัสต์มีการกู้ยืมเงินหรือก่อภาระผูกพันเองโดยตรง ข้อ ๑๘ รายการเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ต้องมีข้อกําหนดเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์ลงทุน ซึ่งมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินต้องเป็นบุคคลดังนี้ (ก) เป็นที่ปรึกษาทางการเงินที่เป็นอิสระในกรณีที่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเป็นหุ้นหรือตราสารหนี้ (ข) เป็นบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานประเภทนั้น ๆ ในกรณีอื่นนอกจาก (ก) (2) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินจะกระทําโดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินรายเดียวกันติดต่อกันไม่เกินสองครั้ง (3) ในกรณีดังต่อไปนี้ จะจัดให้มีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินอย่างเต็มรูปแบบที่มีการตรวจสอบเอกสารสิทธิ และเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน (ก) เมื่อกองทรัสต์จะได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าตั้งแต่ห้าสิบล้านบาทขึ้นไป โดยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. เป็นการประเมินมูลค่าล่วงหน้าก่อนการได้มาหรือจําหน่ายไปเป็นเวลาไม่เกินหนึ่งปี 2. ในกรณีที่การได้มาหรือจําหน่ายไปดังกล่าวเข้าลักษณะเป็นการทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับผู้จัดการกองทรัสต์หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้จัดการกองทรัสต์ จะจัดให้มีการประเมินมูลค่าโดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินอย่างน้อยสองราย (ข) เมื่อครบกําหนดสามปีนับแต่วันที่มีการประเมินมูลค่าเต็มรูปแบบครั้งล่าสุด (ค) เมื่อปรากฏเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันอาจมีผลกระทบต่อการด้อยค่าของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์ลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ (ง) เมื่อทรัสตีหรือผู้สอบบัญชีของกองทรัสต์ร้องขอ ข้อ ๑๙ รายการเกี่ยวกับการทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยที่แสดงว่าธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับผู้จัดการกองทรัสต์ หรือกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้จัดการกองทรัสต์ จะกระทําได้ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ในด้านสาระของรายการ เป็นธุรกรรมที่เข้าลักษณะตามข้อ 11(2) (ก) (2) ในด้านระบบในการอนุมัติ ต้องผ่านการดําเนินการดังนี้ (ก) ได้รับความเห็นชอบจากทรัสตีว่าเป็นธุรกรรมที่เข้าลักษณะดังนี้ 1. เป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. เป็นธุรกรรมที่เป็นข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนพึงกระทํากับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน (arm’s length transction) (ข) ในกรณีที่เป็นธุรกรรมที่มีมูลค่าเกินกว่าหนึ่งล้านบาท หรือตั้งแต่ร้อยละ 0.03 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทรัสต์ขึ้นไป แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า หากไม่ถึงมูลค่าที่กําหนดไว้ตาม (ค) ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ (board of directors) ของผู้จัดการกองทรัสต์ด้วย (ค) ในกรณีที่เป็นธุรกรรมที่มีมูลค่าตั้งแต่ยี่สิบล้านบาทขึ้นไป หรือเกินร้อยละสามของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทรัสต์ แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ต้องได้รับมติของที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ทั้งนี้ สัญญาก่อตั้งทรัสต์อาจกําหนดข้อยกเว้นของการดําเนินการตามวรรคหนึ่งได้ หากเป็นธุรกรรมตามข้อตกลงหรือสัญญาซึ่งได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวน (3) ระบบในการอนุมัติตาม (2) ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ดังนี้ด้วย (ก) ผู้ที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในการเข้าทําธุรกรรมต้องไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเข้าทําธุรกรรมนั้น (ข) ในกรณีที่ธุรกรรมดังกล่าวเป็นการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้คํานวณมูลค่าธุรกรรมตามมูลค่าการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินทั้งหมดของแต่ละโครงการที่ทําให้โครงการนั้น ๆ พร้อมจะหารายได้ ซึ่งรวมถึงทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการนั้น ๆ ด้วย (ค) กําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่ในการจัดให้มีเอกสารที่มีรายละเอียดอย่างเพียงพอประกอบการพิจารณาของทรัสตี คณะกรรมการของผู้จัดการกองทรัสต์ตาม หรือผู้ถือหน่วยทรัสต์แล้วแต่กรณี ซึ่งแสดงความเห็นของผู้จัดการกองทรัสต์เกี่ยวกับลักษณะธุรกรรมที่เป็นไปตาม (1) พร้อมทั้งเหตุผลและข้อมูลประกอบที่ชัดเจน ทั้งนี้ ในกรณีที่ต้องผ่านการพิจารณาของผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องมีความเห็นของที่ปรึกษาทางการเงินที่เป็นอิสระเพื่อประกอบการขอมติที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ด้วย (4) ในกรณีที่กองทรัสต์ถือหุ้นที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดที่จะมีผลให้บริษัทที่ออกหุ้นดังกล่าวเข้าทําธุรกรรมกับผู้จัดการกองทรัสต์หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้จัดการกองทรัสต์ได้ ต่อเมื่อผ่านการดําเนินการของกองทรัสต์ตามหลักเกณฑ์ใน (1) (2) และ (3) แล้ว ข้อ ๒๐ รายการเกี่ยวกับการทําธุรกรรมกับทรัสตี ต้องมีสาระสําคัญที่ไม่ขัดหรือแย้งกับมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 และตามประกาศที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งบทบัญญัติดังกล่าว ข้อ ๒๑ รายการเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลของกองทรัสต์ ต้องกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดทําและเปิดเผยข้อมูลของกองทรัสต์ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผู้ถือหน่วยทรัสต์ ซึ่งรวมถึงการจัดส่งรายงานประจําปีของกองทรัสต์ ให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ พร้อมกับหนังสือนัดประชุมสามัญประจําปี ข้อ ๒๒ รายการเกี่ยวกับการจ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ผู้จัดการกองทรัสต์จะจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่น้อยกว่าร้อยละเก้าสิบของกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วของรอบปีบัญชี โดยจะจ่ายภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชีหรือรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่ายประโยชน์ตอบแทนนั้น แล้วแต่กรณี (2) กําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วตาม (1) เป็นการปรับปรุงด้วยรายการดังนี้ (ก) การหักกําไรที่ยังไม่เกิดขึ้น (unrealized gain) จากการประเมินราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทรัสต์ รวมทั้งการปรับปรุงด้วยรายการอื่นตามแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด เพื่อให้สอดคล้องกับสถานะเงินสดของกองทรัสต์ (ข) การหักด้วยรายการเงินสํารอง โดยต้องมีข้อจํากัดให้กองทรัสต์กันเงินสํารองได้เฉพาะเพื่อการดังนี้ 1. การซ่อมแซม บํารุงรักษา หรือปรับปรุงทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทรัสต์ตามแผนที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวน หรือที่ผู้จัดการกองทรัสต์ได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ทราบล่วงหน้า 2. การจ่ายชําระหนี้เงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันของกองทรัสต์ตามนโยบายการกู้ยืมเงินที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ หรือที่ผู้จัดการกองทรัสต์ได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ทราบล่วงหน้า 3. การจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ชนิดที่ให้สิทธิในการได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนในลําดับแรก (ถ้ามี) ทั้งนี้ ในกรณีที่กองทรัสต์มีค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด เช่น ค่าใช้จ่ายที่ทยอยตัดจ่าย หรือผลขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (unrealized loss) เป็นต้น กองทรัสต์จะกันสํารองตามวรรคหนึ่งในจํานวนไม่เกินกว่าผลลัพธ์ของจํานวนเงินที่มีภาระตามวรรคหนึ่ง 1. และ 2. ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีหักด้วยค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด (3) ในกรณีที่กองทรัสต์ยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ ผู้จัดการกองทรัสต์จะไม่จ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ข้อ ๒๓ รายการเกี่ยวกับการขอมติและการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้(1) วิธีการจัดประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์และการขอมติ ซึ่งต้องไม่มีลักษณะเป็นการส่งหนังสือขอมติไปยังผู้ถือหน่วยทรัสต์ (2) เหตุในการขอมติและการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องระบุเหตุอย่างน้อยตามที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ และต้องมีข้อกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์จัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์อย่างน้อยดังนี้ (ก) การประชุมสามัญประจําปี ซึ่งต้องจัดให้มีขึ้นภายในสี่เดือนนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชีของกองทรัสต์ (ข) การประชุมวิสามัญในกรณีดังนี้ 1. เมื่อผู้จัดการกองทรัสต์เห็นสมควรให้เรียกประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์เพื่อประโยชน์ในการจัดการกองทรัสต์ 2. เมื่อผู้ถือหน่วยทรัสต์ซึ่งถือหน่วยทรัสต์รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของจํานวนหน่วยทรัสต์ที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด เข้าชื่อกันทําหนังสือขอให้ผู้จัดการกองทรัสต์เรียกประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ โดยระบุเหตุผลในการขอเรียกประชุมไว้อย่างชัดเจนในหนังสือนั้น การประชุมวิสามัญตามวรรคหนึ่ง 2. ต้องมีข้อกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์จัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ได้รับหนังสือจากผู้ถือหน่วยทรัสต์ (3) การเรียกประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ขั้นต่ําดังนี้ (ก) จัดทําหนังสือนัดประชุมที่มีรายละเอียดเพียงพอเพื่อให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ทราบเกี่ยวกับวิธีการประชุมและการออกเสียงลงมติ ตลอดจนระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่จะเสนอต่อที่ประชุมพร้อมด้วยรายละเอียดตามสมควร โดยระบุให้ชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่จะเสนอเพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งความเห็นของผู้จัดการกองทรัสต์ในเรื่องดังกล่าว ซึ่งรวมถึงผลกระทบที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์อาจได้รับจากการลงมติในเรื่องนั้น (ข) จัดส่งหนังสือนัดประชุมตาม (ก) ให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ทราบไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันประชุม และประกาศการนัดประชุมในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่นอย่างน้อยหนึ่งฉบับไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันประชุมด้วย (4) องค์ประชุม ต้องมีข้อกําหนดดังนี้ (ก) กําหนดให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์มาประชุมไม่น้อยกว่ายี่สิบห้าคน หรือไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนผู้ถือหน่วยทรัสต์ทั้งหมด และต้องมีหน่วยทรัสต์นับรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยทรัสต์ที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม (ข) ในกรณีที่ปรากฏว่าการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ครั้งใด เมื่อล่วงเวลานัดไปแล้วถึงหนึ่งชั่วโมงจํานวนผู้ถือหน่วยทรัสต์ซึ่งมาเข้าร่วมประชุมไม่ครบเป็นองค์ประชุมตามที่กําหนดไว้ใน (ก) หากว่าการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์นั้นได้เรียกนัดเพราะผู้ถือหน่วยทรัสต์ร้องขอตาม (2) (ข) 2. ให้การประชุมเป็นอันระงับไป หากการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์นั้นมิใช่เป็นการเรียกประชุมเพราะผู้ถือหน่วยทรัสต์ร้องขอตาม (2) (ข) 2. ให้นัดประชุมใหม่ และให้ส่งหนังสือนัดประชุมไปยังผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันประชุม โดยในการประชุมครั้งหลังนี้ไม่บังคับว่าจะต้องครบองค์ประชุม (5) วิธีการนับคะแนนเสียง ต้องกําหนดให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์มีคะแนนเสียง หนึ่งเสียงต่อหนึ่งหน่วยทรัสต์ที่ตนถือ โดยผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนต้องไม่เป็นผู้ที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในเรื่องที่พิจารณา (6) มติของผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องกําหนดอย่างน้อยดังนี้ (ก) ในกรณีทั่วไป ให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (ข) ในกรณีดังต่อไปนี้ ให้ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน 1. การได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าตั้งแต่ร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ 2. การเพิ่มทุนหรือการลดทุนของกองทรัสต์ที่มิได้ระบุไว้เป็นการล่วงหน้าในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ 3. การทําธุรกรรมกับผู้จัดการกองทรัสต์หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้จัดการกองทรัสต์ ซึ่งมีขนาดรายการเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในข้อ 19(2)(ค) 4. การเปลี่ยนแปลงผลประโยชน์ตอบแทนและการคืนเงินทุนให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ให้แตกต่างไปจากที่ได้ระบุไว้เป็นการล่วงหน้า 5. การเปลี่ยนแปลงทรัสตี 6. การเลิกกองทรัสต์ 7. การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ในเรื่องที่กระทบสิทธิอื่น ๆ ตามสัญญาของผู้ถือหน่วยทรัสต์อย่างมีนัยสําคัญ (7) ข้อความที่แสดงว่า มติของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่จะเป็นผลให้กองทรัสต์หรือการจัดการกองทรัสต์มีลักษณะที่ขัดหรือแย้งกับหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศที่เกี่ยวกับหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ หรือหลักเกณฑ์อื่นตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 หรือพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ให้ถือว่ามตินั้นไม่มีผลบังคับ ข้อ ๒๔ ในกรณีที่กองทรัสต์มีการแบ่งหน่วยทรัสต์ออกเป็นหลายชนิด รายการเกี่ยวกับการขอมติและการออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยทรัสต์ต้องมีข้อกําหนดเพิ่มเติมที่ให้ผลดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยทรัสต์ทุกชนิด โดยแต่ละชนิดได้รับผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่เท่ากัน ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือหน่วยทรัสต์ชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์แต่ละชนิดที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง (2) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่ว่ากรณีใด ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือหน่วยทรัสต์ชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์แต่ละชนิดที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง (3) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยทรัสต์ชนิดใดชนิดหนึ่ง ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยทรัสต์ชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์ชนิดนั้น ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ข้อ ๒๕ รายการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือเกินอัตราหรือมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) จํากัดสิทธิในการรับประโยชน์ตอบแทนของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือหน่วยทรัสต์เกินกว่าอัตราหรือไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และกําหนดให้ประโยชน์ตอบแทนในส่วนที่ไม่อาจจ่ายแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ดังกล่าวตกเป็นของผู้ถือหน่วยทรัสต์รายอื่นตามสัดส่วนการถือหน่วยทรัสต์ (2) จํากัดสิทธิในการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยทรัสต์ดังนี้ (ก) ผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือหน่วยทรัสต์เกินกว่าอัตราหรือไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งนี้ เฉพาะในส่วนที่เกินกว่าอัตราดังกล่าว (ข) ผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในเรื่องที่ขอมติ ข้อ ๒๖ รายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของทรัสตี ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดเกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของทรัสตีที่แสดงสาระสําคัญดังนี้ (ก) กําหนดให้ทรัสตีปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังและซื่อสัตย์สุจริตเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือหน่วยทรัสต์โดยรวม และเป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อผูกพันที่ได้ให้ไว้เพิ่มเติมในเอกสารที่เปิดเผยแก่ผู้ลงทุน (ถ้ามี) และต้องไม่มีข้อจํากัดความรับผิด ของทรัสตีในกรณีที่ไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว (ข) กําหนดให้ทรัสตีมีหน้าที่ติดตามดูแลให้ผู้จัดการกองทรัสต์ หรือผู้รับมอบหมายงานรายอื่นตาม (ฉ) (ถ้ามี) ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และสัญญาอื่นที่เกี่ยวข้อง (ค) กําหนดให้ทรัสตีมีหน้าที่เข้าร่วมประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ และให้ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ขอให้ที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ลงมติ (ง) กําหนดให้ทรัสตีมีหน้าที่บังคับชําระหนี้หรือดูแลให้มีการบังคับชําระหนี้เพื่อให้เป็นไปตามสัญญาระหว่างกองทรัสต์กับบุคคลอื่น (จ) กําหนดให้ทรัสตีเข้าจัดการกองทรัสต์ในกรณีที่ไม่มีผู้จัดการกองทรัสต์ หรือมีเหตุที่ทําให้ผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ทั้งนี้ ภายใต้หลักเกณฑ์ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์ และการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉ) ในกรณีที่ทรัสตีประสงค์จะจัดการกองทรัสต์ในส่วนที่เกี่ยวกับการลงทุนในทรัพย์สินอื่นที่มิใช่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานด้วยตนเอง หรือมอบหมายให้บุคคลอื่นนอกเหนือจากผู้จัดการกองทรัสต์เป็นผู้รับดําเนินการ ให้ระบุเรื่องดังกล่าวไว้ให้ชัดเจน โดยต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์ และการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ช) กําหนดให้ทรัสตีมีสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบอื่นที่สอดคล้องกับสาระและรายการที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ และประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์ และการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (2) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการแต่งตั้ง เงื่อนไขและวิธีการเปลี่ยนแปลงทรัสตี ตลอดจนค่าตอบแทนทรัสตี ข้อ ๒๗ รายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การแต่งตั้งและค่าตอบแทนผู้จัดการกองทรัสต์ (2) ขอบเขตอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ที่ได้รับมอบหมายจากทรัสตีในเรื่องดังต่อไปนี้ (ก) การดูแลจัดการกองทรัสต์ในส่วนที่เป็นการดําเนินงานทางธุรกิจ ซึ่งรวมถึงการลงทุน การกู้ยืมเงินและก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทรัสต์ การเข้าทําสัญญา และการดําเนินกิจการต่าง ๆ เพื่อกองทรัสต์ ทั้งนี้ ภายใต้ขอบเขต หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ (ข) หน้าที่การจัดทําและเปิดเผยข้อมูลของกองทรัสต์ ซึ่งรวมถึงข้อมูลตามมาตรา 56 และมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และข้อมูลอื่นตามที่กําหนดในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ (ค) ในกรณีที่ผู้จัดการกองทรัสต์ประสงค์จะให้บุคคลอื่นรับดําเนินการในงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน ต้องระบุเรื่องดังกล่าวพร้อมทั้งระบุหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ในการคัดเลือกผู้รับดําเนินการด้วยความรอบคอบระมัดระวัง ตลอดจนการกํากับและตรวจสอบการดําเนินการของผู้รับดําเนินการไว้ด้วย ทั้งนี้ ข้อกําหนดเกี่ยวกับการมอบหมายงานต้องไม่มีสาระที่ขัดหรือแย้งกับประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (3) กําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์ปฏิบัติหน้าที่ตามที่รับมอบหมายจากทรัสตีด้วยความระมัดระวังและซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือหน่วยทรัสต์โดยรวม และเป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อผูกพันที่ได้ให้ไว้เพิ่มเติมในเอกสารที่เปิดเผยแก่ผู้ลงทุน (ถ้ามี) ทั้งนี้ ต้องไม่มีข้อจํากัดความรับผิดของผู้จัดการกองทรัสต์ในกรณีที่ไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ซึ่งรวมถึงความรับผิดเกี่ยวกับค่าปรับหรือค่าเสียหายตาม (8) ด้วย (4) การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการกองทรัสต์ ซึ่งต้องกําหนดรายการและสาระอย่างน้อยดังนี้ (ก) เหตุในการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องกําหนดไว้อย่างน้อยดังนี้ 1. ผู้จัดการกองทรัสต์ลาออก 2. ผู้จัดการกองทรัสต์ถูกถอดถอนจากการทําหน้าที่ เมื่อปรากฏว่าผู้จัดการกองทรัสต์มิได้จัดการกองทรัสต์ตามหน้าที่ที่กําหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือในประกาศที่เกี่ยวกับหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ 3. สํานักงาน ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบเป็นผู้จัดการกองทรัสต์หรือสั่งพักการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์เป็นเวลาเกินกว่าเก้าสิบวัน ทั้งนี้ ตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน 4. ผู้จัดการกองทรัสต์สิ้นสภาพนิติบุคคล (ข) วิธีการแต่งตั้งผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ ต้องกําหนดให้ทรัสตีขอมติผู้ถือหน่วยทรัสต์เพื่อแต่งตั้งผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ปรากฏเหตุตาม (ก) และแต่งตั้งบุคคลที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์มีมติเห็นชอบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับมติ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่สามารถดําเนินการแต่งตั้งผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ตามวิธีการดังกล่าว ให้ทรัสตีดําเนินการแต่งตั้งผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ได้เองโดยคํานึงถึงประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือหน่วยทรัสต์โดยรวมตามระยะเวลาที่จําเป็นและสมควร (ค) หน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์รายเดิม ต้องกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์รายเดิมมีหน้าที่ดําเนินการตามที่จําเป็นเพื่อให้ทรัสตี หรือผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ แล้วแต่กรณี สามารถปฏิบัติ หน้าที่ต่อไปได้ ซึ่งการดําเนินการดังกล่าวรวมถึงการลงลายมือชื่อในหนังสือเพื่อรับรองความถูกต้องครบถ้วนของสิ่งที่ส่งมอบให้ทรัสตีหรือผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ด้วย (5) ไม่ว่ากรณีใด ๆ หากผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ระบุว่าทรัสตีจะจัดการกองทรัสต์ตามความจําเป็นเพื่อป้องกัน ยับยั้ง หรือจํากัดมิให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์ของกองทรัสต์หรือผู้ถือหน่วยทรัสต์ทั้งปวง โดยทรัสตีอาจมอบหมายให้บุคคลอื่นจัดการกองทรัสต์แทนในระหว่างนี้ได้ (6) ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์กําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์สามารถเบิกจ่ายทรัพย์สินของกองทรัสต์ได้ ต้องมีข้อกําหนดให้การเบิกจ่ายดังกล่าวกระทําได้เฉพาะกรณีที่เป็นการเบิกจ่ายจากบัญชีเพื่อการดําเนินงานประจําวัน (petty cash) ภายใต้วงเงินที่ได้รับการอนุมัติจากทรัสตี และกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์จัดทําและจัดส่งรายงานการเบิกจ่ายให้แก่ทรัสตีเพื่อให้ทรัสตีสามารถตรวจสอบรายการดังกล่าวได้ภายในระยะเวลาที่สมควร (7) ข้อกําหนดอื่นเพื่อรองรับอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ให้สอดคล้องกับสาระและรายการตามที่กําหนดในประกาศนี้ และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (8) ข้อกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องรับผิดชอบในค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ ที่เกิดแก่กองทรัสต์อันเนื่องมาจากการที่ผู้จัดการกองทรัสต์กระทําผิดหน้าที่ของตนไม่ว่าด้วยประการใด ๆ ข้อ ๒๘ รายการเกี่ยวกับค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย ต้องระบุข้อกําหนดเกี่ยวกับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม เงินตอบแทนอื่นใด หรือค่าใช้จ่าย จากกองทรัสต์หรือจากผู้ถือหน่วยทรัสต์ อย่างชัดเจน ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายที่จะเรียกเก็บจากทรัพย์สินของกองทรัสต์ได้ ต้องเป็นค่าใช้จ่ายที่จําเป็นและสมควรซึ่งเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทรัสต์โดยตรง ข้อ ๒๙ รายการเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับเจตนารมณ์ในการก่อตั้งกองทรัสต์ และบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ตลอดจนประกาศ กฎ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว (2) การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ในเรื่องที่กระทบสิทธิของผู้ถือหน่วยทรัสต์ต้องได้รับมติของผู้ถือหน่วยทรัสต์ตามข้อ 23(6) เว้นแต่เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมตามคําสั่งของสํานักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ข้อ ๓๐ รายการเกี่ยวกับการเลิกกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยที่แสดงว่าเมื่อปรากฏเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ ทรัสตีจะเลิกกองทรัสต์ (1) เมื่อจํานวนผู้ถือหน่วยทรัสต์ลดลงเหลือน้อยกว่าสามสิบห้าราย (2) เมื่อมีการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถดําเนินการเพื่อให้กองทรัสต์ลงทุนในทรัพย์สินโครงสร้างพื้นฐานเป็นมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าเจ็ดพันห้าร้อยล้านบาท ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่จําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว (3) เมื่อผู้ถือหน่วยทรัสต์มีมติให้เลิกกองทรัสต์ หมวด ๒ กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓๑ สัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่ ให้ประกอบด้วยรายการตามที่กําหนดในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยรายการในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ และรายการเพิ่มเติมอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การก่อตั้งกองทรัสต์ ตามข้อ 32 (2) หน่วยทรัสต์และการจัดทําทะเบียนหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 33 (3) การลงทุนของกองทรัสต์ ตามข้อ 34 (4) การจ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 35 (5) การจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือเกินอัตราหรือมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ ตามข้อ 36 (6) อํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ ตามข้อ 37 (7) การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ตามข้อ 38 (8) การเลิกกองทรัสต์ ตามข้อ 39 ข้อ ๓๒ รายการเกี่ยวกับการก่อตั้งกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ลักษณะของกองทรัสต์และกลไกการบริหารซึ่งมีลักษณะดังนี้ (ก) “............(ชื่อกองทรัสต์)............ เป็นกองทรัสต์ตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ที่ก่อตั้งขึ้นด้วยผลของสัญญาก่อตั้งทรัสต์นี้ และสมบูรณ์เมื่อผู้ก่อตั้งทรัสต์ โอนเงินที่ได้จากการจําหน่ายหน่วยทรัสต์ ด้วยความไว้วางใจให้ทรัสตีจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหน่วยทรัสต์” และข้อความที่แสดงว่า “เมื่อกองทรัสต์มีผลสมบูรณ์แล้ว ทรัสตีจะมอบหมายให้ผู้ก่อตั้งทรัสต์ เข้าเป็นผู้จัดการกองทรัสต์ต่อไป” (ข) “กองทรัสต์นี้ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคล โดยเป็นกองทรัพย์สินที่อยู่ในชื่อและอํานาจการจัดการของทรัสตี” (ค) “การจัดการกองทรัสต์ จะกระทําโดยทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ที่ได้รับมอบหมายจากทรัสตีซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ตามขอบเขตอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ปรากฏในรายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ โดยในการนี้ ผู้จัดการกองทรัสต์ มีอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการดูแลจัดการกองทรัสต์ ซึ่งรวมถึงการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และทรัสตีมีอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบในเก็บรักษาทรัพย์สินของกองทรัสต์และการกํากับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์และผู้รับมอบหมายรายอื่น (ถ้ามี) ให้เป็นไปตามสัญญาและตามกฎหมาย” ทั้งนี้ ในกรณีที่กองทรัสต์มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินอื่นนอกจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้มีข้อความที่แสดงถึงบุคคลที่จะจัดการลงทุนในทรัพย์สินดังกล่าวด้วย ซึ่งอาจเป็นทรัสตีหรือบุคคลอื่นใดที่สามารถดําเนินการได้โดยชอบก็ได้ (2) ชื่อ อายุ ประเภทและวัตถุประสงค์ของกองทรัสต์ ซึ่งต้องมีข้อความว่า “กองทรัสต์มีวัตถุประสงค์หลักในการนําเงินของผู้ลงทุนรายใหญ่ไปลงทุนหรือแสวงหาประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามที่กําหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของผู้ลงทุนรายใหญ่ดังกล่าว” (3) ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ก่อตั้งทรัสต์ ทรัสตี และผู้จัดการกองทรัสต์ (4) คุณสมบัติหรือลักษณะของผู้รับประโยชน์ของกองทรัสต์ ซึ่งมีข้อความที่แสดงว่าผู้ถือหน่วยทรัสต์ตามที่ปรากฏชื่อในทะเบียนผู้ถือหน่วยทรัสต์เป็นผู้รับประโยชน์ของกองทรัสต์นี้ โดยผู้ถือหน่วยทรัสต์ดังกล่าวต้องเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ตามที่กําหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์เท่านั้น เว้นแต่เป็นการได้รับหน่วยทรัสต์มาทางมรดก (5) ทรัพย์สินที่จะให้เป็นกองทรัสต์ ทั้งนี้ ทรัพย์สินเริ่มต้นที่จะให้เป็นกองทรัสต์ต้องเป็นเงินที่ผู้ก่อตั้งทรัสต์ได้จากการจําหน่ายหน่วยทรัสต์ในการเสนอขายหน่วยทรัสต์ครั้งแรก (6) วันที่จัดตั้งกองทรัสต์ ข้อ ๓๓ รายการเกี่ยวกับหน่วยทรัสต์และการจัดทําทะเบียนหน่วยทรัสต์ ต้องมีข้อความที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อความที่แสดงลักษณะของหน่วยทรัสต์ดังนี้ (ก) หน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์นี้มิได้ให้สิทธิแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ไม่เข้าลักษณะของผู้ลงทุนรายใหญ่ (ข) หน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์นี้มีข้อจํากัดการโอนไม่ว่าทอดใด ๆ หากการโอนหน่วยทรัสต์ดังกล่าวจะทําให้ไม่สามารถคงลักษณะของการเป็นกองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่ สัญญาก่อตั้งทรัสต์จะกําหนดข้อยกเว้นของข้อความตาม (ก) หรือ (ข) สําหรับกรณีที่เป็นการได้หน่วยทรัสต์มาทางมรดกก็ได้ (2) ข้อความที่แสดงว่า ทรัสตีหรือนายทะเบียนหลักทรัพย์มีสิทธิปฏิเสธการแสดงชื่อในทะเบียนผู้ถือหน่วยทรัสต์ ในกรณีดังนี้ (ก) กรณีที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์มิใช่ผู้ลงทุนรายใหญ่ เว้นแต่เป็นการได้หน่วยทรัสต์มาทางมรดก (ข) กรณีที่จะทําให้การถือหน่วยทรัสต์ไม่เป็นไปตามอัตราที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ตอน ๓๔ รายการเกี่ยวกับการลงทุนของกองทรัสต์ ต้องมีข้อความที่แสดงถึงนโยบายการลงทุนและประเภททรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์จะลงทุน รวมทั้งข้อจํากัดการลงทุน (ถ้ามี) ซึ่งมีสาระสําคัญตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ข้อ ๓๕ รายการเกี่ยวกับการจ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในข้อ 22 ข้อ ๓๖ รายการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือเกินอัตราหรือมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) จํากัดสิทธิในการรับประโยชน์ตอบแทนของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มีลักษณะดังนี้ และกําหนดให้ประโยชน์ตอบแทนในส่วนที่ไม่อาจจ่ายแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ดังกล่าวตกเป็นของผู้ถือหน่วยทรัสต์รายอื่นตามสัดส่วนการถือหน่วยทรัสต์ (ก) บุคคลหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันที่ถือหน่วยทรัสต์เกินกว่าอัตราหรือไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ข) บุคคลที่ไม่เข้าลักษณะของผู้ลงทุนรายใหญ่ เว้นแต่บุคคลนั้นได้รับหน่วยทรัสต์มาทางมรดก (2) จํากัดสิทธิในการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยทรัสต์ดังนี้ ทั้งนี้ เฉพาะในส่วนที่เกินกว่าอัตราหรือไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว (ก) บุคคลหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันที่ถือหน่วยทรัสต์เกินกว่าอัตราหรือไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ข) บุคคลที่ไม่เข้าลักษณะของผู้ลงทุนรายใหญ่ เว้นแต่บุคคลนั้นได้รับหน่วยทรัสต์มาทางมรดก (ค) บุคคลที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในเรื่องที่ขอมติ ข้อ ๓๗ รายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ขอบเขตอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ที่ได้รับมอบหมายจากทรัสตีในเรื่องดังนี้ (ก) การดูแลจัดการกองทรัสต์ในส่วนที่เป็นการดําเนินงานทางธุรกิจ ซึ่งรวมถึงการลงทุน การกู้ยืมเงินและก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทรัสต์ การเข้าทําสัญญา และการดําเนินกิจการต่าง ๆ เพื่อกองทรัสต์ ทั้งนี้ ภายในขอบเขต หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขเท่าที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์ได้ระบุไว้ (ข) หน้าที่การจัดทําและเปิดเผยข้อมูลของกองทรัสต์ ซึ่งรวมถึงข้อมูลตามมาตรา 56 และมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และข้อมูลอื่นตามที่กําหนดในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ (ค) ในกรณีที่ผู้จัดการกองทรัสต์ประสงค์จะให้บุคคลอื่นรับดําเนินการในงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน ข้อกําหนดเกี่ยวกับการมอบหมายงานต้องไม่มีสาระที่ขัดหรือแย้งกับประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (2) การกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากทรัสตีด้วยความระมัดระวังและซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือหน่วยทรัสต์โดยรวม และเป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อผูกพันที่ได้ให้ไว้เพิ่มเติมในเอกสารที่เปิดเผยแก่ผู้ลงทุน (ถ้ามี) ทั้งนี้ ต้องไม่มีข้อจํากัดความรับผิดของผู้จัดการกองทรัสต์ในกรณีที่ไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว (3) การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการกองทรัสต์ ซึ่งระบุเหตุในการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการกองทรัสต์ ซึ่งต้องรวมถึงเหตุดังนี้ (ก) สํานักงาน ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบเป็นผู้จัดการกองทรัสต์หรือสั่งพักการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์เป็นเวลาเกินกว่าเก้าสิบวัน ทั้งนี้ ตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (ข) ผู้จัดการกองทรัสต์สิ้นสภาพนิติบุคคล (4) ข้อกําหนดอื่นเพื่อรองรับอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ให้สอดคล้องกับสาระและรายการตามที่กําหนดในประกาศนี้ และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (5) ข้อกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องรับผิดชอบในค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ ที่เกิดแก่กองทรัสต์อันเนื่องมาจากการที่ผู้จัดการกองทรัสต์กระทําผิดหน้าที่ของตนไม่ว่าด้วยประการใด ๆ ข้อ ๓๘ รายการเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ต้องมีข้อความที่แสดงว่า การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับเจตนารมณ์ในการก่อตั้งกองทรัสต์ และบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ตลอดจนประกาศ กฎ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว ข้อ ๓๙ รายการเกี่ยวกับการเลิกกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยที่แสดงว่าเมื่อปรากฏเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ ทรัสตีจะเลิกกองทรัสต์ (1) เมื่อมีการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถดําเนินการเพื่อให้กองทรัสต์ลงทุนในทรัพย์สินโครงสร้างพื้นฐานเป็นมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าเจ็ดพันห้าร้อยล้านบาท ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่จําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว (2) เมื่อผู้ถือหน่วยทรัสต์มีมติให้เลิกกองทรัสต์ ข้อ ๔๐ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
684
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สร. 20/2560 เรื่อง ข้อกำหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 20/2560 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9 มาตรา 15 และมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 สํานักงาน ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของข้อ 1 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “คําว่า “หน่วยทรัสต์” “ผู้ลงทุนรายใหญ่” “ผู้จัดการกองทรัสต์” “ทุนชําระแล้ว” “กิจการโครงสร้างพื้นฐาน” “โครงการที่ไม่แล้วเสร็จ” “ที่ปรึกษาทางการเงิน” “การกู้ยืมเงิน” “สมาคม” และ “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน” ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความในข้อ 17 และข้อ 18 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 17 รายการเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของกองทรัสต์และการก่อภาระผูกพันใด ๆ ต้องมีข้อกําหนดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดที่แสดงว่า กองทรัสต์สามารถกู้ยืมเงินได้หรือไม่ ด้วยวิธีการใด เช่น การขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน หรือการออกตราสารหรือเข้าทําสัญญาที่มีลักษณะเป็นการกู้ยืม เป็นต้น ทั้งนี้ ในกรณีที่กองทรัสต์จะมีการกู้ยืมเงินต้องมีข้อกําหนดหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ในเรื่องดังต่อไปนี้เพิ่มเติมด้วย (ก) การเปิดเผยจํานวนเงินกู้ยืม และเงินกันสํารองเพื่อชําระหนี้ตามสัญญากู้ยืมเงินหรือตามที่มีภาระผูกพันจากการกู้ยืมเงินในแต่ละปีจนกว่าจะชําระหนี้เสร็จสิ้น (ถ้ามี) ในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวน และแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปีของกองทรัสต์ (ข) การกําหนดวงเงินกันสํารองตาม (ก) ที่เหมาะสม โดยคํานึงถึงจํานวนเงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันจากการกู้ยืมเงินและระยะเวลาการชําระหนี้ ผลกระทบต่อการจ่ายประโยชน์ตอบแทน แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ และสถานะเงินสดที่เกิดจากการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (unrealized loss) จากการประเมินมูลค่าหรือการสอบทานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของกองทรัสต์ (ค) การกําหนดให้กองทรัสต์อาจนําวงเงินกันสํารองของรอบระยะเวลาบัญชีใดที่มีสภาพคล่องไม่เพียงพอที่จะกันเงินสํารอง ไปรวมเพื่อการกันสํารองในรอบระยะเวลาบัญชีถัด ๆ ไป (2) ในกรณีที่กําหนดให้กองทรัสต์สามารถกู้ยืมเงินได้ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงว่า การกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ไม่ว่าด้วยวิธีการใด ต้องไม่มีลักษณะดังนี้ (ก) มีข้อตกลงและเงื่อนไขทํานองเดียวกับข้อกําหนดของหุ้นกู้ที่ให้ไถ่ถอนหุ้นกู้เมื่อมีการเลิกบริษัท (perpetual bond) (ข) มีลักษณะของอนุพันธ์แฝง เว้นแต่เป็นกรณีที่เข้าลักษณะที่ครบถ้วนดังนี้ 1. ให้สิทธิลูกหนี้ในการชําระหนี้คืนก่อนกําหนด (callable) หรือให้สิทธิกองทรัสต์ในการเรียกให้ลูกหนี้ชําระหนี้คืนก่อนกําหนด (puttable) 2. กําหนดดอกเบี้ยหรือผลตอบแทนไว้อย่างแน่นอนหรือเป็นอัตราที่ผันแปรตามอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยอื่น 3. ไม่มีการกําหนดเงื่อนไขการจ่ายดอกเบี้ยหรือผลตอบแทนที่อ้างอิงกับปัจจัยอ้างอิงอื่นเพิ่มเติม (ค) มีลักษณะเป็นการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (3) ในกรณีที่กําหนดให้กองทรัสต์สามารถกู้ยืมเงินได้ ต้องระบุสัดส่วนการกู้ยืมเงิน ซึ่งต้องเป็นไปตามอัตราที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขาย หน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (4) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการก่อภาระผูกพันใด ๆ แก่ทรัพย์สินของกองทรัสต์ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (5) ในกรณีที่กองทรัสต์มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานโดยทางอ้อม ผ่านการถือหุ้นที่ออกโดยบริษัท ต้องมีข้อกําหนดเกี่ยวกับกลไกในการกํากับดูแลที่จะเป็นผลให้การกู้ยืมเงิน หรือก่อภาระผูกพันใด ๆ ของบริษัทดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ตาม (1) (2) (3) และ (4) โดยอนุโลม เว้นแต่หลักเกณฑ์เกี่ยวกับอัตราส่วนการกู้ยืมเงินตาม (3) จะพิจารณาเฉพาะในชั้นของกองทรัสต์ก็ได้ ข้อ 18 รายการเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ต้องมีข้อกําหนดเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่กองทรัสต์ลงทุน ซึ่งมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องเป็นไปตาม หลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) ผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินต้องเป็นบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานประเภทนั้น ๆ (ข) การประเมินมูลค่าจะกระทําโดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินรายเดียวกันติดต่อกันไม่เกินสองครั้ง (ค) ในกรณีดังนี้ จะจัดให้มีการประเมินมูลค่าอย่างเต็มรูปแบบที่มีการตรวจสอบ เอกสารสิทธิ และเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน 1. เมื่อกองทรัสต์จะได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าตั้งแต่ห้าสิบล้านบาทขึ้นไป โดยจะประเมินล่วงหน้าเป็นเวลาไม่เกินหนึ่งปี ทั้งนี้หากการได้มาหรือจําหน่ายไปดังกล่าวเข้าลักษณะเป็นการทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับผู้จัดการกองทรัสต์หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้จัดการกองทรัสต์ จะจัดให้มีการประเมินมูลค่าโดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินอย่างน้อยสองราย 2. เมื่อครบกําหนดสามปีนับแต่วันที่มีการประเมินมูลค่าเต็มรูปแบบครั้งล่าสุด 3. เมื่อปรากฏเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันอาจมีผลกระทบต่อการด้อยค่าของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์ลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ 4. เมื่อทรัสตีหรือผู้สอบบัญชีของกองทรัสต์ร้องขอ (2) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้น หากหุ้นดังกล่าวมิใช่หลักทรัพย์จดทะเบียน ให้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่บริษัทที่ออกหุ้นดังกล่าวลงทุนตามหลักเกณฑ์ใน (1) โดยอนุโลม ทั้งนี้ ให้คํานึงถึงภาระภาษีของบริษัทดังกล่าว และปัจจัยอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของบริษัทที่กองทรัสต์ เป็นผู้ถือหุ้นด้วย (3) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินอื่นนอกจาก (1) และ (2) ให้ประเมินมูลค่าตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) หลักเกณฑ์ของสมาคมเกี่ยวกับการกําหนดราคาทรัพย์สิน (ข) ในกรณีหลักเกณฑ์ตาม (ก) ไม่รองรับการกําหนดราคาของทรัพย์สินใดให้ใช้ราคาที่เป็นไปตามหลักวิชาการอันเป็นที่ยอมรับหรือมาตรฐานสากล” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความใน 2. ของวรรคหนึ่งใน (ข) ของ (2) ในข้อ 22 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “2. การจ่ายชําระหนี้เงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันจากการกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ตามวงเงินที่ได้ระบุไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวน หรือแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี แล้วแต่กรณี” ข้อ ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 34/1 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “ข้อ 34/1 รายการเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในข้อ 17(1) (2) และ (4)” ข้อ ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (6/1) ของข้อ 27 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “(6/1) ในกรณีที่กองทรัสต์จะมีการออกหุ้นกู้ ต้องกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่ดําเนินการใด ๆ เพื่อให้กองทรัสต์สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตตามประกาศเกี่ยวกับการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ของกองทรัสต์ด้วย” ข้อ ๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (3/1) ของข้อ 31 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “(3/1) การกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ ตามข้อ 34/1” ข้อ ๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 34/1 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความ ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “ข้อ 34/1 รายการเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กําหนดไว้ในข้อ 17(1) (2) และ (4)” ข้อ ๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (ง) และ (จ) ใน (1) ของข้อ 37 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “(ง) ในกรณีที่กองทรัสต์จะมีการออกหุ้นกู้ ต้องกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่ดําเนินการใด ๆ เพื่อให้กองทรัสต์สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตตามประกาศเกี่ยวกับการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ของกองทรัสต์ด้วย (จ) ในกรณีที่กองทรัสต์จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานผ่านการถือหุ้น ที่ออกโดยบริษัท ต้องกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่ในการกํากับดูแลให้บริษัทดังกล่าวดําเนินการให้เป็นไปในทํานองเดียวกับหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับกองทรัสต์ที่มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นโดยตรง” ข้อ ๘ ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์ใดมีรายการและข้อความที่ ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ ให้ทรัสตีดําเนินการให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ภายในโอกาสแรกที่กระทําได้ ข้อ ๙ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2560 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
685
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ สร. 24/2561 เรื่อง ข้อกำหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 24/2561 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 3) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9 และมาตรา 15 และมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 สํานักงาน ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของ (ข) ใน (2) ของข้อ 23 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “การประชุมวิสามัญตามวรรคหนึ่ง 2. ต้องมีข้อกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์ จัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือจากผู้ถือหน่วยทรัสต์” ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความใน (3) ในข้อ 23 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(3) การเรียกประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ขั้นต่ําดังนี้ (ก) จัดทําหนังสือนัดประชุมที่มีรายละเอียดเพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้ถือหน่วยทรัสต์ โดยอย่างน้อยต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการประชุมและการออกเสียงลงมติ ตลอดจนระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่จะเสนอต่อที่ประชุมพร้อมด้วยรายละเอียดตามสมควร โดยระบุให้ชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่จะเสนอเพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งความเห็นของผู้จัดการกองทรัสต์ในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการขอมติของผู้ถือหน่วยทรัสต์ ให้รวมถึงความเห็นเกี่ยวกับผลกระทบที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์อาจได้รับจากการลงมติในเรื่องนั้น ๆ ด้วย (ข) จัดส่งหนังสือนัดประชุมถึงผู้ถือหน่วยทรัสต์ล่วงหน้าก่อนวันประชุมตามระยะเวลาดังนี้ 1. สิบสี่วัน ในกรณีที่เป็นการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไป ซึ่งมีวาระที่ต้องได้มติผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนหน่วยทรัสต์ของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 2. เจ็ดวัน ในกรณีอื่นนอกจาก 1. (ค) ประกาศการนัดประชุมในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่นอย่างน้อยหนึ่งฉบับไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันประชุม” ข้อ ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (4/1) ในข้อ 23 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “(4/1) การดําเนินการประชุม ซึ่งต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) การดําเนินการประชุม ให้เป็นไปตามลําดับระเบียบวาระที่กําหนดไว้ในหนังสือนัดประชุม เว้นแต่ที่ประชุมจะมีมติให้เปลี่ยนลําดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวนผู้ถือหน่วยทรัสต์ซึ่งมาประชุม (ข) เมื่อที่ประชุมพิจารณาเสร็จตาม (ก) แล้ว ผู้ถือหน่วยทรัสต์ซึ่งมีหน่วยทรัสต์นับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยทรัสต์ที่จําหน่ายได้ทั้งหมด จะขอให้ที่ประชุมพิจารณาเรื่องอื่นนอกจากที่กําหนดไว้ในหนังสือนัดประชุมอีกก็ได้ (ค) ในกรณีที่ที่ประชุมพิจารณาเรื่องตามลําดับระเบียบวาระไม่เสร็จตาม (ก) หรือพิจารณาเรื่องที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์เสนอไม่เสร็จตาม (ข) แล้วแต่กรณี และจําเป็นต้องเลื่อนการพิจารณา ให้ที่ประชุมกําหนดสถานที่ วัน และเวลาที่จะประชุมครั้งต่อไป และให้ผู้จัดการกองทรัสต์ส่งหนังสือนัดประชุมระบุสถานที่ วัน เวลา และระเบียบวาระการประชุมไปยังผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันประชุม ทั้งนี้ ให้โฆษณาคําบอกกล่าวนัดประชุมในหนังสือพิมพ์ไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันประชุมด้วย” ข้อ ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (8) ในข้อ 23 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “(8) กรณีที่มีประกาศกําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขอมติและการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ไว้เป็นการเฉพาะ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในเรื่องนั้น” ข้อ ๕ ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์ใดมีรายการและข้อความที่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ ให้ทรัสตีดําเนินการให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ภายในโอกาสแรกที่กระทําได้ ข้อ ๖ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2561 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
686
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สร. 53/2561 เรื่อง ข้อกำหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 53/2561 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 4) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9 มาตรา 15 และมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 สํานักงาน ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความใน (8) ของข้อ 27 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(8) ข้อกําหนดเกี่ยวกับความรับผิดในค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ อันเนื่องมาจากการดูแลจัดการกองทรัสต์ของผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องรับผิดชอบในค่าปรับหรือค่าเสียหายที่เกิดแก่ตนเองอันเนื่องมาจากการที่ผู้จัดการกองทรัสต์กระทําผิดหน้าที่ของตนตามนัยมาตรา 33/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยผู้จัดการกองทรัสต์จะนําทรัพย์สินของกองทรัสต์มาชําระค่าปรับหรือชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าวไม่ได้ (ข) ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องรับผิดชอบในค่าปรับหรือค่าเสียหายอื่นใดที่เกิดแก่กองทรัสต์อันเนื่องมาจากการที่ผู้จัดการกองทรัสต์กระทําผิดหน้าที่ของตนไม่ว่าด้วยประการใด ๆ โดยผู้จัดการกองทรัสต์จะนําทรัพย์สินของกองทรัสต์มาชําระค่าปรับหรือชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าวไม่ได้” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความใน (5) ของข้อ 37 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(5) ข้อกําหนดเกี่ยวกับความรับผิดในค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ อันเนื่องมาจากการดูแลจัดการกองทรัสต์ของผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องรับผิดชอบในค่าปรับหรือค่าเสียหายที่เกิดแก่ตนเองอันเนื่องมาจากการที่ผู้จัดการกองทรัสต์กระทําผิดหน้าที่ของตนตามนัยมาตรา 33/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยผู้จัดการกองทรัสต์จะนําทรัพย์สินของกองทรัสต์มาชําระค่าปรับหรือชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าวไม่ได้ (ข) ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องรับผิดชอบในค่าปรับหรือค่าเสียหายอื่นใดที่เกิดแก่กองทรัสต์อันเนื่องมาจากการที่ผู้จัดการกองทรัสต์กระทําผิดหน้าที่ของตนไม่ว่าด้วยประการใด ๆ โดยผู้จัดการกองทรัสต์จะนําทรัพย์สินของกองทรัสต์มาชําระค่าปรับหรือชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าวไม่ได้” ข้อ 3 ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์ใดมีรายการและข้อความที่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ ให้ทรัสตีดําเนินการให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ภายในโอกาสแรกที่กระทําได้ ข้อ 4 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561 (นายรพี สุจริตกุล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
687
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สร. 23/2563 เรื่อง ข้อกำหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 5)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 23/2563 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 5) อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9 และมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์ เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 สํานักงาน ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิกความใน (2) ของข้อ 26 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความ ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(2) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการแต่งตั้ง เงื่อนไขและวิธีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนค่าตอบแทนทรัสตี ซึ่งรวมถึงข้อกําหนดดังต่อไปนี้ (ก) การเปลี่ยนแปลงทรัสตี เมื่อมีเหตุดังนี้ 1. เหตุตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 2. เมื่อทรัสตีไม่สามารถดํารงเงินกองทุนตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเป็นทรัสตี (ข) กําหนดเวลาการเปลี่ยนแปลงทรัสตีในกรณีที่ปรากฏเหตุตาม (ก) 2. ซึ่งต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุดังกล่าว” ข้อ ๒ ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (4) ในข้อ 27 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความ ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ก) เหตุในการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องกําหนดไว้อย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1. ผู้จัดการกองทรัสต์ลาออก 2. ผู้จัดการกองทรัสต์ถูกถอดถอนจากการทําหน้าที่ เมื่อปรากฏว่าผู้จัดการกองทรัสต์มิได้จัดการกองทรัสต์ตามหน้าที่ที่กําหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือประกาศที่กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ 3. ผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถดํารงเงินกองทุนตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการ ให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐาน การปฏิบัติงาน 4. สํานักงาน ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบเป็นผู้จัดการกองทรัสต์หรือสั่งพักการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์เป็นเวลาเกินกว่าเก้าสิบวัน ทั้งนี้ ตามประกาศ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ ในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน 5. ผู้จัดการกองทรัสต์สิ้นสภาพนิติบุคคล” ข้อ ๓ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (5/1) ในข้อ 31 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 20/2560 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2560 “(5/1) อํานาจหน้าที่ของทรัสตี ตามข้อ 36/1” ข้อ ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 36/1 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “ข้อ 36/1 รายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของทรัสตี ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดเกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของทรัสตี (2) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการแต่งตั้ง เงื่อนไขและวิธีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนค่าตอบแทนทรัสตี ซึ่งรวมถึงข้อกําหนดดังต่อไปนี้ (ก) การเปลี่ยนแปลงทรัสตี เมื่อมีเหตุดังนี้ 1. เหตุตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 2. เมื่อทรัสตีไม่สามารถดํารงเงินกองทุนตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเป็นทรัสตี (ข) กําหนดเวลาการเปลี่ยนแปลงทรัสตีในกรณีที่ปรากฏเหตุตาม (ก) 2. ซึ่งต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุดังกล่าว” ข้อ ๕ ให้ยกเลิกความใน (3) ของข้อ 37 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(3) เหตุในการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องกําหนดไว้อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถดํารงเงินกองทุนตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการ ให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐาน การปฏิบัติงาน (ข) สํานักงาน ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบเป็นผู้จัดการกองทรัสต์หรือสั่งพักการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์เป็นเวลาเกินกว่าเก้าสิบวัน ทั้งนี้ ตามประกาศ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ ในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (ค) ผู้จัดการกองทรัสต์สิ้นสภาพนิติบุคคล” ข้อ ๖ ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์ใดมีรายการและข้อความที่ขัด หรือแย้งกับข้อกําหนดที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ ให้ทรัสตีดําเนินการให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ภายในโอกาสแรกที่กระทําได้ ข้อ ๗ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
688
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สร. 27/2564 เรื่อง ข้อกำหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 6)
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 27/2564 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 6) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (1) มาตรา 15 และมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 สํานักงาน ก.ล.ต. ออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (10/1) ของข้อ 3 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “(10/1) การตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ตามข้อ 18/1” ข้อ ๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 18/1 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 “ข้อ 18/1 รายการเกี่ยวกับการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ต้องจัดให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์ลงทุนให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่กองทรัสต์เข้าครอบครองทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานและดําเนินการให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินนั้นครั้งต่อ ๆ ไปอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ทั้งนี้ การตรวจตราทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอาจดําเนินการด้วยวิธีการหรือกลไกที่น่าเชื่อถือตามที่ทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ตกลงกันได้ (2) ในการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1) ทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ต้องจัดให้มีการบันทึกสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอย่างถูกต้องและครบถ้วนตามความเป็นจริงให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เริ่มตรวจตรา (3) ในกรณีที่ทรัสตีตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1) แล้วพบว่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานชํารุดบกพร่องอย่างมีนัยสําคัญต้องแจ้งให้ผู้จัดการกองทรัสต์ทราบภายในห้าวันทําการนับแต่วันที่พบเหตุดังกล่าว (4) เมื่อผู้จัดการกองทรัสต์ตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1) แล้วเสร็จ ให้ส่งสําเนาบันทึกตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่ทรัสตีภายใน ห้าวันทําการนับแต่วันทําบันทึกแล้วเสร็จ (5) เมื่อผู้จัดการกองทรัสต์ตรวจพบหรือได้รับแจ้งจากทรัสตีว่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานชํารุดบกพร่องอย่างมีนัยสําคัญ ต้องดําเนินการให้มีการซ่อมแซมอสังหาริมทรัพย์นั้นให้อยู่ในสภาพที่จะใช้หาผลประโยชน์ได้โดยเร็ว” ข้อ ๓ ให้ยกเลิกความในข้อ 22 แห่งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 20/2560 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2560 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 22 รายการเกี่ยวกับการจ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ผู้จัดการกองทรัสต์จะจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่น้อยกว่าร้อยละเก้าสิบของกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วในแต่ละรอบปีบัญชี ทั้งนี้ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชี หรือวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่ายประโยชน์ตอบแทนนั้น แล้วแต่กรณี กําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วตามวรรคหนึ่ง ให้หมายถึงกําไรสุทธิที่หักด้วยรายการเงินสํารองเฉพาะเพื่อการดังนี้ (ก) การซ่อมแซม บํารุงรักษา หรือปรับปรุงทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทรัสต์ตามแผนที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวน แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี รายงานประจําปี หรือที่ผู้จัดการกองทรัสต์ได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ทราบล่วงหน้า (ข) การชําระหนี้เงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันจากการกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ตามวงเงินที่ระบุไว้แบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวน แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี รายงานประจําปี หรือที่ผู้จัดการกองทรัสต์ได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ทราบล่วงหน้า (ค) การจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ชนิดที่ให้สิทธิในการได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนในลําดับแรก (ถ้ามี) (2) ในการพิจารณาจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ผู้จัดการกองทรัสต์ จะต้องพิจารณาถึงความจําเป็นในการดํารงเงินสดของกองทรัสต์ให้เหมาะสม ทั้งนี้ ตามแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด (3) ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องไม่กู้ยืมเงินเพื่อจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ (4) ในกรณีที่กองทรัสต์ยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ ห้ามมิให้ผู้จัดการกองทรัสต์จ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ในกรณีที่กองทรัสต์ไม่สามารถจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ตามวรรคหนึ่ง (1) ผู้จัดการกองทรัสต์และทรัสตีต้องชี้แจงเหตุผลความจําเป็นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตามแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด และเปิดเผยให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ทราบในการประชุมสามัญประจําปี” ข้อ ๔ ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์ใดมีรายการและข้อความที่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ ให้ทรัสตีดําเนินการให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศนี้ภายในโอกาสแรกที่กระทําได้ ข้อ ๕ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
689
ประกาศสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกำหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับประมวล)
งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ สร. 25/2558 เรื่อง ข้อกําหนดเกี่ยวกับรายการและข้อความในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉบับประมวล) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9 และมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรม ในตลาดทุน พ.ศ. 2550 สํานักงาน ก.ล.ต. ออกข้อกําหนดไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ในประกาศนี้ “กองทรัสต์” หมายความว่า ทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่จัดตั้งขึ้นตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน “กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไป” หมายความว่า กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไปที่มีลักษณะตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน “กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่” หมายความว่า กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่ที่มีลักษณะตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน “ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน” หมายความว่า ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์สามารถลงทุนได้ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน “บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน” หมายความว่า บุคคลที่เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน “การเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจทั่วไป” (general mandate) หมายความว่า การเพิ่มทุน ของกองทรัสต์ตามมติที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ให้อํานาจผู้จัดการกองทรัสต์กําหนดวัตถุประสงค์รวมทั้งการออกและจัดสรรหน่วยเพิ่มทุนแต่ละคราวตามความเหมาะสม เช่น การกําหนดราคา วันและเวลาที่จะเสนอขาย หรือเงื่อนไขในการเสนอขายหน่วยทรัสต์ เป็นต้น (คําว่า “หน่วยทรัสต์” “ผู้ลงทุนรายใหญ่” “ผู้จัดการกองทรัสต์” “ทุนชําระแล้ว”“กิจการโครงสร้างพื้นฐาน” “โครงการที่ไม่แล้วเสร็จ” “ที่ปรึกษาทางการเงิน” “การกู้ยืมเงิน”“สมาคม” และ “กลุ่มบุคคลเดียวกัน” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ข้อ 2 ประกาศนี้ (1) เป็นข้อกําหนดที่ใช้ประกอบกับข้อกําหนดตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (2) เป็นการกําหนดรายการในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์ดังต่อไปนี้ (ก) กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไป ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวด 1 (ข) กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในหมวด 2 หมวด 1 กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 3 สัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไป ให้ประกอบด้วยรายการอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การก่อตั้งกองทรัสต์ ตามข้อ 4 (2) หน่วยทรัสต์ ตามข้อ 5 (3) เพิ่มทุนของกองทรัสต์ ตามข้อ 6 (4) การลดทุนของกองทรัสต์ ตามข้อ 7 (5) นิติสัมพันธ์ของผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 8 (6) การจัดทําทะเบียนและการโอนหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 9 (7) การลงทุนของกองทรัสต์ ตามข้อ 10 ถึงข้อ 15 (8) การจัดหาผลประโยชน์ของกองทรัสต์ ตามข้อ 16 (9) การกู้ยืมเงินของกองทรัสต์และการก่อภาระผูกพันใด ๆ ตามข้อ 17 (10) การประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ตามข้อ 18 (10/1)( การตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ตามข้อ 18/1 (11) การทําธุรกรรมที่เกี่ยวโยงกับผู้จัดการกองทรัสต์ ตามข้อ 19 (12) การทําธุรกรรมกับทรัสตี ตามข้อ 20 (13) การเปิดเผยข้อมูลของกองทรัสต์ ตามข้อ 21 (14) การจ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 22 (15) การขอมติและการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 23 และข้อ 24 (16) การจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือเกินอัตราหรือมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ ตามข้อ 25 (17) อํานาจหน้าที่ของทรัสตี ตามข้อ 26 (18) อํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ ตามข้อ 27 (19) ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย ตามข้อ 28 (20) การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ตามข้อ 29 (21) การเลิกกองทรัสต์ ตามข้อ 30 ข้อ 4 รายการเกี่ยวกับการก่อตั้งกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญ อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ลักษณะของกองทรัสต์และกลไกการบริหาร ซึ่งมีข้อความดังนี้ (ก) “............(ชื่อกองทรัสต์)............ เป็นกองทรัสต์ตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ที่ก่อตั้งขึ้นด้วยผลของสัญญาก่อตั้งทรัสต์นี้ และสมบูรณ์เมื่อผู้ก่อตั้งทรัสต์ โอนเงินที่ได้จากการจําหน่ายหน่วยทรัสต์ ด้วยความไว้วางใจให้ทรัสตีจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของผู้ถือหน่วยทรัสต์” และข้อความที่แสดงว่า “เมื่อกองทรัสต์มีผลสมบูรณ์แล้ว ทรัสตีจะมอบหมายให้ผู้ก่อตั้งทรัสต์ เข้าเป็นผู้จัดการกองทรัสต์ต่อไป” (ข) “กองทรัสต์นี้ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคล โดยเป็นกองทรัพย์สินที่อยู่ในชื่อและอํานาจการจัดการของทรัสตี” (ค) “การจัดการกองทรัสต์ จะกระทําโดยทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ที่ได้รับมอบหมายจากทรัสตีซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามสัญญานี้ ตามขอบเขตอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ปรากฏในรายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ โดยในการนี้ ผู้จัดการกองทรัสต์มีอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการดูแลจัดการกองทรัสต์ ซึ่งรวมถึงการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และทรัสตีมีอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการเก็บรักษาทรัพย์สินของกองทรัสต์และการกํากับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์และผู้รับมอบหมายรายอื่น (ถ้ามี) ให้เป็นไปตามสัญญาและตามกฎหมาย” ทั้งนี้ ในกรณีที่กองทรัสต์มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินอื่นนอกจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้มีข้อความที่แสดงถึงบุคคลที่จะจัดการลงทุนในทรัพย์สินดังกล่าวด้วย ซึ่งอาจเป็นทรัสตีหรือบุคคลอื่นใดที่สามารถดําเนินการได้โดยชอบก็ได้ (2) ชื่อ อายุ ประเภท และวัตถุประสงค์ของกองทรัสต์ (3) ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ก่อตั้งทรัสต์ (4) ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของทรัสตี (5) ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้จัดการกองทรัสต์ (6) คุณสมบัติหรือลักษณะของผู้รับประโยชน์ของกองทรัสต์ ซึ่งมีข้อความที่แสดงว่าผู้ถือหน่วยทรัสต์ตามที่ปรากฏชื่อในทะเบียนผู้ถือหน่วยทรัสต์ เป็นผู้รับประโยชน์ของกองทรัสต์นี้ (7) ทรัพย์สินที่จะให้เป็นกองทรัสต์ ทั้งนี้ ทรัพย์สินเริ่มต้นที่จะให้เป็นกองทรัสต์ต้องเป็นเงินที่ผู้ก่อตั้งทรัสต์ได้จากการจําหน่ายหน่วยทรัสต์ในการเสนอขายหน่วยทรัสต์ครั้งแรก (8) วันที่จัดตั้งกองทรัสต์ ข้อ 5 รายการเกี่ยวกับหน่วยทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดที่แสดงว่า สิทธิในการได้รับประโยชน์จากกองทรัสต์ให้แบ่งออกเป็นหน่วย หน่วยละเท่า ๆ กัน เรียกว่าหน่วยทรัสต์ โดยหน่วยทรัสต์แต่ละชนิดให้สิทธิแก่ผู้ถือเท่า ๆ กันในการเป็นผู้รับประโยชน์จากกองทรัสต์ (2) ลักษณะการแบ่งชนิดของหน่วยทรัสต์ (ถ้ามี) (3) ข้อกําหนดที่แสดงว่า หน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์นี้ให้สิทธิแก่ผู้ถือในการไถ่ถอนหรือไม่ โดยในกรณีที่มีหน่วยทรัสต์ที่ให้สิทธิดังกล่าว ให้ระบุสิทธิ ตลอดจนเงื่อนไขและวิธีการในการใช้สิทธิให้ชัดเจน (4) จํานวนหน่วยทรัสต์ที่ออกและทุนชําระแล้วของกองทรัสต์ โดยในกรณีที่มีการแบ่งหน่วยทรัสต์ออกเป็นหลายชนิด ให้แสดงแยกเป็นรายชนิดด้วย ข้อ 6 รายการเกี่ยวกับการเพิ่มทุนของกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การกําหนดอํานาจหน้าที่ให้ผู้จัดการกองทรัสต์เป็นผู้ดําเนินการเพิ่มทุน (2) เหตุในการเพิ่มทุน (3) กระบวนการเพิ่มทุน ซึ่งต้องมีข้อกําหนดให้ต้องได้รับมติจากที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ในการอนุมัติให้เพิ่มทุน และเป็นไปตามหลักเกณฑ์เพิ่มเติมดังนี้ (ก) การเพิ่มทุนโดยเสนอขายหน่วยทรัสต์เป็นการเฉพาะเจาะจงให้แก่ผู้ถือ หน่วยทรัสต์บางราย ต้องไม่มีผู้ถือหน่วยทรัสต์ซึ่งถือหน่วยทรัสต์รวมกันเกินกว่าร้อยละสิบของ จํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงคัดค้านการเพิ่มทุน (ข) ในกรณีที่เป็นการขอมติของผู้ถือหน่วยทรัสต์เพื่อการเพิ่มทุนแบบมอบอํานาจ ทั่วไป ให้กระทําได้เฉพาะกรณีที่แสดงไว้อย่างชัดเจนว่าการจัดสรรหน่วยทรัสต์เพิ่มทุนจะเป็นไปตาม อัตราและหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าด้วย หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการเปิดเผยสารสนเทศ และการปฏิบัติการใด ๆ เกี่ยวกับการเพิ่มทุนของบริษัทจดทะเบียน โดยอนุโลม และตามหลักเกณฑ์หรือแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด (ถ้ามี) (ค) ในกรณีที่เป็นการเพิ่มทุนเพื่อลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเพิ่มเติม ได้ผ่านกระบวนการตามข้อ 11 และหากเป็นการทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับผู้จัดการกองทรัสต์หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้จัดการกองทรัสต์ ได้ผ่านการดําเนินการตามข้อ 19 ด้วยแล้ว (ง) ผู้จัดการกองทรัสต์ได้รับอนุญาตจากสํานักงาน ก.ล.ต. ให้เสนอขายหน่วยทรัสต์ที่ออกใหม่ ข้อ 7 รายการเกี่ยวกับการลดทุนของกองทรัสต์ ให้มีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญ อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การกําหนดอํานาจหน้าที่ให้ผู้จัดการกองทรัสต์เป็นผู้ดําเนินการลดทุน (2) เหตุในการลดทุน ซึ่งมีได้เฉพาะในกรณีดังนี้ (ก) เป็นการลดทุนตามแผนที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ (ข) กองทรัสต์มีสภาพคล่องส่วนเกินที่เหลืออยู่ภายหลังการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน การตัดจําหน่ายสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ (ถ้ามี) และการจ่ายประโยชน์ตอบแทน ทั้งนี้ ต้องปรากฏข้อเท็จจริงด้วยว่ากองทรัสต์ไม่มีกําไรสะสมเหลืออยู่แล้ว (ค) กองทรัสต์มีการเพิ่มทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานเพิ่มเติม แต่ปรากฏเหตุขัดข้องในภายหลังทําให้ไม่สามารถได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้น (ง) กองทรัสต์มีรายการค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสดและไม่มีเหตุต้องนําไปใช้ ในการคํานวณกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วของกองทรัสต์ตามข้อ 22 (จ) กรณีอื่นใดที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์มีมติให้ลดทุนของกองทรัสต์ได้ (3) กระบวนการลดทุน ซึ่งต้องมีข้อกําหนดขั้นต่ําดังนี้ (ก) ที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์มีมติอนุมัติให้ลดทุน ทั้งนี้ ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์มีข้อกําหนดที่ชัดเจนเกี่ยวกับการลดทุนตาม (2) (ก) (ข) (ค) หรือ (ง) จะมีข้อกําหนดให้การลดทุนสําหรับเหตุดังกล่าวสามารถกระทําได้โดยไม่ต้องได้รับมติที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ก็ได้ (ข) วิธีการลดทุน โดยต้องกําหนดให้กระทําด้วยวิธีการลดมูลค่าหน่วยทรัสต์ให้ต่ําลงหรือลดจํานวนหน่วยทรัสต์ให้น้อยลง เว้นแต่ในกรณีของกองทรัสต์ที่มีการแบ่งหน่วยทรัสต์ออกเป็นหลายชนิด และจะมีการลดทุนของหน่วยทรัสต์แต่ละชนิดไม่พร้อมกันหรือไม่เท่ากันให้กระทําได้ด้วยวิธีการลดจํานวนหน่วยทรัสต์ให้น้อยลงเท่านั้น (ค) การเฉลี่ยเงินให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ โดยต้องกําหนดว่าจะเฉลี่ยเงินให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มีชื่ออยู่ในสมุดทะเบียน ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยทรัสต์ และมีข้อความที่แสดงอย่างชัดเจนว่า เงินที่เฉลี่ยคืนนั้นต้องมิได้มาจากเงินกําไรของกองทรัสต์ ทั้งนี้ มูลค่าหน่วยทรัสต์ที่ใช้ในการลดทุน ให้คํานวณจากมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทรัสต์ ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหน่วยทรัสต์ ข้อ 8 รายการเกี่ยวกับนิติสัมพันธ์ของผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การเป็นผู้ถือหน่วยทรัสต์มิได้ก่อให้เกิดนิติสัมพันธ์ในลักษณะของตัวการตัวแทน ระหว่างผู้ถือหน่วยทรัสต์กับทรัสตี และมิได้ก่อให้เกิดนิติสัมพันธ์ในลักษณะของการเป็นหุ้นส่วนหรือ ลักษณะใดนอกเหนือจากที่กําหนดไว้ตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 (2) การเป็นผู้ถือหน่วยทรัสต์มิได้ทําให้บุคคลดังกล่าวมีความรับผิดในกรณีที่ทรัพย์สินของกองทรัสต์ไม่เพียงพอต่อการชําระหนี้ให้แก่ทรัสตี ผู้จัดการกองทรัสต์ หรือเจ้าหนี้ของกองทรัสต์ โดยทรัสตี ผู้จัดการกองทรัสต์ และเจ้าหนี้ของกองทรัสต์จะบังคับชําระหนี้ได้จากทรัพย์สินของกองทรัสต์เท่านั้น (3) ผู้ถือหน่วยทรัสต์มีสิทธิเรียกให้กองทรัสต์ชําระประโยชน์ตอบแทนได้ไม่เกินไปกว่าเงินกําไรหลังหักค่าสํารองต่าง ๆ และสิทธิเรียกให้คืนเงินทุนได้ไม่เกินไปกว่าจํานวนทุนของกองทรัสต์ที่ปรับปรุงด้วยส่วนเกินหรือส่วนต่ํากว่ามูลค่าหน่วยทรัสต์ ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการแบ่งชนิดของหน่วยทรัสต์สิทธิในการรับประโยชน์ตอบแทนหรือรับคืนเงินทุนของผู้ถือหน่วยทรัสต์แต่ละชนิดต้องเป็นไปตามข้อกําหนดของหน่วยทรัสต์ชนิดนั้น ๆ ด้วย (4) ไม่ว่าในกรณีใด มิให้ตีความสัญญาก่อตั้งทรัสต์ไปในทางที่ก่อให้เกิดผลขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดตาม (1) (2) และ (3) ข้อ 9 รายการเกี่ยวกับการจัดทําทะเบียนและการโอนหน่วยทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ทรัสตีมีหน้าที่จัดให้มีทะเบียนหน่วยทรัสต์ โดยจะกําหนดให้ทรัสตีเป็นผู้ดําเนินการจัดทําทะเบียนหน่วยทรัสต์เอง หรือมอบหมายให้บุคคลอื่นตามขอบเขตที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์ และการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานก็ได้ ทั้งนี้ ในกรณีที่ทรัสตีเป็นผู้จัดทําทะเบียนหน่วยทรัสต์เอง ต้องมีข้อกําหนดขั้นต่ําให้ทรัสตีปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการให้บริการเป็นนายทะเบียนหลักทรัพย์ โดยอนุโลม (2) ทะเบียนหน่วยทรัสต์ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าถูกต้อง และการชําระเงินหรือทรัพย์สินอื่น รวมทั้งการให้สิทธิหรือการจํากัดสิทธิใด ๆ แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ปรากฏรายชื่ออยู่ในสมุดทะเบียนผู้ถือหน่วยทรัสต์ หากได้กระทําตามข้อกําหนดในสัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือตามกฎหมายแล้ว ให้ถือว่าทรัสตีได้ดําเนินการตามอํานาจหน้าที่แล้ว (3) ทรัสตีหรือนายทะเบียนหลักทรัพย์มีสิทธิปฏิเสธการแสดงชื่อในทะเบียนผู้ถือหน่วยทรัสต์ ในกรณีที่การถือหน่วยทรัสต์ไม่เป็นไปตามอัตราที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (4) ทรัสตีหรือนายทะเบียนหลักทรัพย์จะออกหลักฐานแสดงสิทธิในหน่วยทรัสต์ให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ เพื่อให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์สามารถใช้อ้างอิงต่อทรัสตี ผู้จัดการกองทรัสต์ และบุคคลอื่นได้ ทั้งนี้ ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ให้แสดงตัวอย่างหลักฐานแสดงสิทธิด้วย หรือเป็นการจัดทําหลักฐานอื่นตามระบบศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ ข้อ 10 รายการเกี่ยวกับการลงทุนของกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องแสดงสาระสําคัญดังนี้ (ก) นโยบายลงทุนและประเภททรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์จะลงทุน รวมทั้งข้อจํากัดการลงทุน (ถ้ามี) ซึ่งมีสาระสําคัญตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ข) การได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 11 (ค) การจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 12 (2) ในกรณีที่กองทรัสต์มีนโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินอื่นด้วย นอกเหนือจากการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องระบุนโยบายดังกล่าวและประเภททรัพย์สินที่จะลงทุนให้ชัดเจน และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในข้อ 13 (3) ในกรณีที่กองทรัสต์ถือหุ้นที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดเกี่ยวกับกลไกการกํากับดูแลที่จะเป็นผลให้การลงทุนของบริษัทที่ออกหุ้นดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ตาม (1) และ (2) โดยเสมือนกับว่ากองทรัสต์มีการลงทุนเองโดยตรง ข้อ 11 การได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ผู้จัดการกองทรัสต์จะดําเนินการดังนี้ ก่อนการได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานแต่ละครั้ง (ก) ตรวจสอบหรือสอบทาน (การทํา due diligence) ข้อมูลและสัญญาต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่จะลงทุน เช่น ข้อมูลด้านการเงิน กฎหมาย และเทคนิคเฉพาะทาง เป็นต้น โดยผู้จัดการกองทรัสต์จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่พิจารณาแล้วและมีความเห็นโดยสุจริตว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. มีความเหมาะสมที่จะลงทุน โดยมีศักยภาพในการสร้างผลตอบแทนตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนทั่วไปนั้น 2. มีเอกสารสิทธิหรือเอกสารสัญญาที่ครบถ้วน ชัดเจน บังคับได้ตามกฎหมาย และเพียงพอต่อการที่กองทรัสต์จะใช้ดําเนินการหรือจัดหาผลประโยชน์ได้ 3. ในกรณีที่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์จะลงทุนอยู่ในต่างประเทศ มีการตรวจสอบและสอบทานแล้วว่ากองทรัสต์สามารถได้มาและถือครองทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามกฎหมายของประเทศนั้น โดยมีความเห็นของที่ปรึกษาทางกฎหมายที่เชี่ยวชาญ ในกฎหมายของประเทศนั้นประกอบการตรวจสอบหรือสอบทานนั้น (ข) จัดให้มีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอย่างน้อยตามหลักเกณฑ์ในข้อ 18 (2) การได้มาเพิ่มเติมซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดดังนี้ด้วย (ก) ในด้านสาระของรายการ เป็นธุรกรรมที่ผู้จัดการกองทรัสต์มีความเห็นว่าเข้าลักษณะดังนี้ 1. เป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. เป็นไปเพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของกองทรัสต์ 3. สมเหตุสมผลและใช้ราคาที่เป็นธรรม 4. ค่าใช้จ่ายในการเข้าทําธุรกรรมที่เรียกเก็บจากกองทรัสต์ (ถ้ามี) อยู่ในอัตราที่เป็นธรรมและเหมาะสม 5. ในกรณีที่เป็นการลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จ มูลค่าการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นโครงการที่ไม่แล้วเสร็จทั้งหมดของกองทรัสต์เมื่อรวมกันแล้วจะไม่เกินร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ (ข) ในด้านระบบในการอนุมัติ ต้องผ่านการพิจารณาจากทรัสตีว่าเป็นธุรกรรมที่เป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และการดําเนินการเพิ่มเติมดังนี้ 1. กรณีที่เป็นการได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าเกินกว่าหนึ่งร้อยล้านบาท แต่น้อยกว่าร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ขึ้นไป ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ (board of directors) ของผู้จัดการกองทรัสต์ 2. กรณีที่เป็นการได้มาซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าตั้งแต่ ร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ ต้องได้รับมติของที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ทั้งนี้ สัญญาก่อตั้งทรัสต์จะกําหนดข้อยกเว้นของการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง หากเป็นการได้มาเพิ่มเติมซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามข้อตกลงหรือสัญญาที่มีกับภาครัฐซึ่งได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวนก็ได้ (ค) ระบบในการอนุมัติตาม (ข) ต้องอยู่ภายใต้กรอบดังนี้ด้วย 1. ผู้ที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในการเข้าทําธุรกรรมต้องไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเข้าทําธุรกรรมนั้น 2. การคํานวณมูลค่าของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้คํานวณตามมูลค่าการได้มาซึ่งทรัพย์สินทั้งหมดของแต่ละโครงการที่ทําให้กองทรัสต์พร้อมจะหารายได้ ซึ่งรวมถึงทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการนั้น ๆ 3. กําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่จัดให้มีเอกสารที่มีรายละเอียดอย่างเพียงพอประกอบการพิจารณาของทรัสตี คณะกรรมการของผู้จัดการกองทรัสต์ หรือผู้ถือหน่วยทรัสต์ แล้วแต่กรณี ซึ่งแสดงความเห็นของผู้จัดการกองทรัสต์เกี่ยวกับลักษณะธุรกรรมที่เป็นไปตาม (ก) พร้อมทั้งเหตุผลและข้อมูลประกอบที่ชัดเจน ข้อ 12 การจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญว่าผู้จัดการกองทรัสต์ต้องดําเนินการอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) จัดให้มีการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามหลักเกณฑ์ในข้อ 18ก่อนการจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว (2) การจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานจะกระทําโดยเปิดเผย และมีสาระของรายการที่เป็นไปตามข้อ 11(2) (ก) มีระบบในการอนุมัติที่เป็นไปตามข้อ 11(2) (ข) และ (ค) โดยอนุโลม ข้อ 13 ในกรณีที่กองทรัสต์มีนโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินอื่นนอกจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม ต้องมีข้อกําหนดที่มีสาระสําคัญดังต่อไปนี้ (1) ประเภทของทรัพย์สินอื่นที่กองทรัสต์จะลงทุน ซึ่งเป็นไปตามข้อ 14 และข้อ 15 (2) ข้อกําหนดว่า ในกรณีที่ลูกหนี้ตามตราสารที่กองทรัสต์ลงทุนผิดนัดชําระหนี้ หรือมีพฤติการณ์ว่าจะไม่สามารถชําระหนี้ได้ ผู้จัดการกองทรัสต์จะดําเนินการตามหลักเกณฑ์ในเรื่องเดียวกันที่กําหนดไว้สําหรับกองทุนรวมที่ออกตามมาตรา 117 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยอนุโลม ข้อ 14 ในกรณีที่กองทรัสต์มีนโยบายจะลงทุนในทรัพย์สินอื่นนอกจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องระบุนโยบายดังกล่าวและประเภททรัพย์สินที่จะลงทุนให้ชัดเจน โดยอยู่ในขอบเขตประเภททรัพย์สินดังต่อไปนี้ (1) พันธบัตรรัฐบาล (2) ตั๋วเงินคลัง (3) พันธบัตรหรือหุ้นกู้ที่รัฐวิสาหกิจ หรือนิติบุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้นเป็นผู้ออก และมีกระทรวงการคลังเป็นผู้ค้ําประกันต้นเงินและดอกเบี้ยเต็มจํานวนแบบไม่มีเงื่อนไข (4) เงินฝากในธนาคาร หรือบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (5) บัตรเงินฝากที่ไม่มีลักษณะของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝง ซึ่งธนาคารหรือบริษัทเงินทุนเป็นผู้ออก (6) ตั๋วแลกเงินหรือตั๋วสัญญาใช้เงินที่ไม่มีลักษณะของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝงซึ่งธนาคาร บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ เป็นผู้ออก ผู้รับรอง ผู้รับอาวัล หรือผู้ค้ําประกันในลักษณะที่เป็นการรับรองตลอดไป รับอาวัลทั้งจํานวน หรือค้ําประกันต้นเงินและดอกเบี้ยเต็มจํานวนอย่างไม่มีเงื่อนไข (7) หน่วยลงทุนหรือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตราสารแห่งหนี้ หรือกองทุนรวมอื่นที่มีนโยบายการลงทุนในตราสารแห่งหนี้หรือเงินฝาก (8) หน่วยของโครงการจัดการลงทุนต่างประเทศ (foreign collective investment scheme) ที่มีนโยบายการลงทุนในตราสารแห่งหนี้หรือเงินฝาก ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขดังนี้ (ก) เป็นโครงการจัดการลงทุนที่จัดตั้งขึ้นสําหรับผู้ลงทุนทั่วไป และมีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินประเภทและชนิดเดียวกับทรัพย์สินที่กองทรัสต์สามารถลงทุนหรือมีไว้ได้ (ข) เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ 1. โครงการจัดการลงทุนดังกล่าวอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของหน่วยงานกํากับดูแลด้านหลักทรัพย์และตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกสามัญของ International Organization of Securities Commissions (IOSCO) 2. หน่วยดังกล่าวมีการซื้อขายในตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกของ World Federation of Exchanges (WFE) (9) หน่วยลงทุนของกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน หรือหน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานอื่นซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (10) หน่วยของกองทุนโครงสร้างพื้นฐานต่างประเทศ (foreign infrastructure fund)ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขดังนี้ (ก) เป็นกองทุนโครงสร้างพื้นฐานที่มีวัตถุประสงค์หลักในการลงทุนในทรัพย์สิน ที่เป็นโครงสร้างพื้นฐาน หรือหุ้นสามัญของบริษัทที่ประกอบกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ข) เข้าลักษณะใดลักษณะหนึ่งดังนี้ 1. กองทุนโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าวอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของหน่วยงานที่กํากับดูแลด้านหลักทรัพย์และตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกสามัญของ International Organization of Securities Commissions (IOSCO) 2. หน่วยดังกล่าวมีการซื้อขายในตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เป็นสมาชิกของ World Federation of Exchanges (WFE) หรือมีการรับซื้อคืนโดยผู้ออกตราสาร (11) หุ้นที่ออกโดยบริษัทที่เป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ โดยหุ้นดังกล่าวไม่เข้าลักษณะของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน (ก) มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มิใช่หุ้นหรือตราสารแห่งหนี้ รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของบริษัทดังกล่าว (ข) มีรายได้จากการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ที่มิใช่หุ้นหรือตราสารหนี้รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของรายได้รวมในแต่ละปีบัญชี (12) สัญญาซื้อขายล่วงหน้า เฉพาะกรณีที่ทําสัญญาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันความเสี่ยงของกองทรัสต์ ข้อ 15 สัญญาก่อตั้งทรัสต์อาจกําหนดให้กองทรัสต์ลงทุนในหุ้นของนิติบุคคลซึ่งเป็นผู้เช่า ผู้รับสิทธิ หรือผู้รับดําเนินการในการนําทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทรัสต์ไปจัดหาผลประโยชน์ได้ เมื่อเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (1) สัญญาเช่า ให้สิทธิ หรือให้ดําเนินการกําหนดค่าตอบแทนโดยอ้างอิงกับผลประกอบการ ของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทรัสต์ (2) เป็นการลงทุนในหุ้นที่ให้สิทธิพิเศษเพื่อประโยชน์ในการอนุมัติการดําเนินงานบางประการของนิติบุคคล (golden share) ตามที่ได้กําหนดไว้ในข้อบังคับของนิติบุคคลนั้น ไม่เกินหนึ่งหุ้น ข้อ 16 รายการเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์ของกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่สาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ลักษณะการจัดหาผลประโยชน์ของกองทรัสต์ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (2) ข้อกําหนดให้การเข้าทํา แก้ไข หรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน จะกระทําได้ต่อเมื่อมีสาระของรายการที่เป็นไปตามข้อ 11(2) (ก)และระบบในการอนุมัติที่เป็นไปตามข้อ 11(2) (ข) และ (ค) โดยอนุโลม ทั้งนี้ สัญญาก่อตั้งทรัสต์จะกําหนดข้อยกเว้นของการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง (2)หากเป็นการเข้าทํา แก้ไข หรือเลิกสัญญาที่ได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวนก็ได้ ข้อ 17( รายการเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของกองทรัสต์และการก่อภาระผูกพันใด ๆ ต้องมีข้อกําหนดอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดที่แสดงว่า กองทรัสต์สามารถกู้ยืมเงินได้หรือไม่ ด้วยวิธีการใด เช่นการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงิน หรือการออกตราสารหรือเข้าทําสัญญาที่มีลักษณะเป็นการกู้ยืมเป็นต้น ทั้งนี้ ในกรณีที่กองทรัสต์จะมีการกู้ยืมเงินต้องมีข้อกําหนดหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ในเรื่องดังต่อไปนี้เพิ่มเติมด้วย (ก) การเปิดเผยจํานวนเงินกู้ยืม และเงินกันสํารองเพื่อชําระหนี้ตามสัญญา กู้ยืมเงินหรือตามที่มีภาระผูกพันจากการกู้ยืมเงินในแต่ละปีจนกว่าจะชําระหนี้เสร็จสิ้น (ถ้ามี) ในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวน และแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปีของกองทรัสต์ (ข) การกําหนดวงเงินกันสํารองตาม (ก) ที่เหมาะสม โดยคํานึงถึงจํานวนเงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันจากการกู้ยืมเงินและระยะเวลาการชําระหนี้ ผลกระทบต่อการจ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ และสถานะเงินสดที่เกิดจากการขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น (unrealized loss)จากการประเมินมูลค่าหรือการสอบทานการประเมินมูลค่าทรัพย์สินของกองทรัสต์ (ค) การกําหนดให้กองทรัสต์อาจนําวงเงินกันสํารองของรอบระยะเวลาบัญชีใดที่มีสภาพคล่องไม่เพียงพอที่จะกันเงินสํารอง ไปรวมเพื่อการกันสํารองในรอบระยะเวลาบัญชีถัด ๆ ไป (2) ในกรณีที่กําหนดให้กองทรัสต์สามารถกู้ยืมเงินได้ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงว่าการกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ไม่ว่าด้วยวิธีการใด ต้องไม่มีลักษณะดังนี้ (ก) มีข้อตกลงและเงื่อนไขทํานองเดียวกับข้อกําหนดของหุ้นกู้ที่ให้ไถ่ถอนหุ้นกู้เมื่อมีการเลิกบริษัท (perpetual bond) (ข) มีลักษณะของอนุพันธ์แฝง เว้นแต่เป็นกรณีที่เข้าลักษณะที่ครบถ้วนดังนี้ 1. ให้สิทธิลูกหนี้ในการชําระหนี้คืนก่อนกําหนด (callable) หรือให้สิทธิกองทรัสต์ในการเรียกให้ลูกหนี้ชําระหนี้คืนก่อนกําหนด (puttable) 2. กําหนดดอกเบี้ยหรือผลตอบแทนไว้อย่างแน่นอนหรือเป็นอัตราที่ผันแปรตามอัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินหรืออัตราดอกเบี้ยอื่น 3. ไม่มีการกําหนดเงื่อนไขการจ่ายดอกเบี้ยหรือผลตอบแทนที่อ้างอิงกับ ปัจจัยอ้างอิงอื่นเพิ่มเติม (ค) มีลักษณะเป็นการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (3) ในกรณีที่กําหนดให้กองทรัสต์สามารถกู้ยืมเงินได้ ต้องระบุสัดส่วนการกู้ยืมเงินซึ่งต้องเป็นไปตามอัตราที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขาย หน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (4) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการก่อภาระผูกพันใด ๆ แก่ทรัพย์สินของกองทรัสต์ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (5) ในกรณีที่กองทรัสต์มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานโดยทางอ้อม ผ่านการถือหุ้นที่ออกโดยบริษัท ต้องมีข้อกําหนดเกี่ยวกับกลไกในการกํากับดูแลที่จะเป็นผลให้การกู้ยืมเงิน หรือก่อภาระผูกพันใด ๆ ของบริษัทดังกล่าวเป็นไปตามหลักเกณฑ์ตาม (1) (2) (3) และ (4) โดยอนุโลมเว้นแต่หลักเกณฑ์เกี่ยวกับอัตราส่วนการกู้ยืมเงินตาม (3) จะพิจารณาเฉพาะในชั้นของกองทรัสต์ก็ได้ ข้อ 18( รายการเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน ต้องมีข้อกําหนดเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่กองทรัสต์ลงทุน ซึ่งมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) ผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินต้องเป็นบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในการประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานประเภทนั้น ๆ (ข) การประเมินมูลค่าจะกระทําโดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินรายเดียวกันติดต่อกันไม่เกินสองครั้ง (ค) ในกรณีดังนี้ จะจัดให้มีการประเมินมูลค่าอย่างเต็มรูปแบบที่มีการตรวจสอบ เอกสารสิทธิ และเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะในการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ลงทุน 1. เมื่อกองทรัสต์จะได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าตั้งแต่ห้าสิบล้านบาทขึ้นไป โดยจะประเมินล่วงหน้าเป็นเวลาไม่เกินหนึ่งปีทั้งนี้ หากการได้มาหรือจําหน่ายไปดังกล่าวเข้าลักษณะเป็นการทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับผู้จัดการกองทรัสต์หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้จัดการกองทรัสต์ จะจัดให้มีการประเมินมูลค่าโดยผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินอย่างน้อยสองราย 2. เมื่อครบกําหนดสามปีนับแต่วันที่มีการประเมินมูลค่าเต็มรูปแบบครั้งล่าสุด 3. เมื่อปรากฏเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงใด ๆ อันอาจมีผลกระทบต่อการด้อยค่าของทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์ลงทุนอย่างมีนัยสําคัญ 4. เมื่อทรัสตีหรือผู้สอบบัญชีของกองทรัสต์ร้องขอ (2) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นหุ้น หากหุ้นดังกล่าวมิใช่หลักทรัพย์จดทะเบียน ให้ประเมินมูลค่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่บริษัทที่ออกหุ้นดังกล่าวลงทุนตามหลักเกณฑ์ใน (1) โดยอนุโลม ทั้งนี้ ให้คํานึงถึงภาระภาษีของบริษัทดังกล่าว และปัจจัยอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อราคาทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของบริษัทที่กองทรัสต์เป็นผู้ถือหุ้นด้วย (3) การประเมินมูลค่าทรัพย์สินอื่นนอกจาก (1) และ (2) ให้ประเมินมูลค่าตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) หลักเกณฑ์ของสมาคมเกี่ยวกับการกําหนดราคาทรัพย์สิน (ข) ในกรณีหลักเกณฑ์ตาม (ก) ไม่รองรับการกําหนดราคาของทรัพย์สินใด ให้ใช้ราคาที่เป็นไปตามหลักวิชาการอันเป็นที่ยอมรับหรือมาตรฐานสากล ข้อ 18/1( รายการเกี่ยวกับการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ต้องจัดให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์ลงทุนให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่กองทรัสต์เข้าครอบครองทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานและดําเนินการให้มีการตรวจตราสภาพทรัพย์สินนั้นครั้งต่อ ๆ ไปอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ทั้งนี้ การตรวจตราทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอาจดําเนินการด้วยวิธีการหรือกลไกที่น่าเชื่อถือตามที่ทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ตกลงกันได้ (2) ในการตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1)ทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ต้องจัดให้มีการบันทึกสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานอย่างถูกต้องและครบถ้วนตามความเป็นจริงให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เริ่มตรวจตรา (3) ในกรณีที่ทรัสตีตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1)แล้วพบว่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานชํารุดบกพร่องอย่างมีนัยสําคัญต้องแจ้งให้ผู้จัดการกองทรัสต์ทราบภายในห้าวันทําการนับแต่วันที่พบเหตุดังกล่าว (4) เมื่อผู้จัดการกองทรัสต์ตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตาม (1)แล้วเสร็จ ให้ส่งสําเนาบันทึกตรวจตราสภาพทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานให้แก่ทรัสตีภายในห้าวันทําการนับแต่วันทําบันทึกแล้วเสร็จ (5) เมื่อผู้จัดการกองทรัสต์ตรวจพบหรือได้รับแจ้งจากทรัสตีว่าทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานชํารุดบกพร่องอย่างมีนัยสําคัญ ต้องดําเนินการให้มีการซ่อมแซมอสังหาริมทรัพย์นั้นให้อยู่ในสภาพที่จะใช้หาผลประโยชน์ได้โดยเร็ว ข้อ 19 รายการเกี่ยวกับการทําธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับผู้จัดการกองทรัสต์ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยที่แสดงว่าธุรกรรมระหว่างกองทรัสต์กับผู้จัดการกองทรัสต์ หรือกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้จัดการกองทรัสต์ จะกระทําได้ต่อเมื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) ในด้านสาระของรายการ เป็นธุรกรรมที่เข้าลักษณะตามข้อ 11(2) (ก) (2) ในด้านระบบในการอนุมัติ ต้องผ่านการดําเนินการดังนี้ (ก) ได้รับความเห็นชอบจากทรัสตีว่าเป็นธุรกรรมที่เข้าลักษณะดังนี้ 1. เป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. เป็นธุรกรรมที่เป็นข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนพึงกระทํากับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน (arm’s length transction) (ข) ในกรณีที่เป็นธุรกรรมที่มีมูลค่าเกินกว่าหนึ่งล้านบาท หรือตั้งแต่ร้อยละ 0.03 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทรัสต์ขึ้นไป แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า หากไม่ถึงมูลค่าที่กําหนดไว้ตาม (ค) ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ (board of directors) ของผู้จัดการกองทรัสต์ด้วย (ค) ในกรณีที่เป็นธุรกรรมที่มีมูลค่าตั้งแต่ยี่สิบล้านบาทขึ้นไป หรือเกินร้อยละสามของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทรัสต์ แล้วแต่มูลค่าใดจะสูงกว่า ต้องได้รับมติของที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ทั้งนี้ สัญญาก่อตั้งทรัสต์อาจกําหนดข้อยกเว้นของการดําเนินการตามวรรคหนึ่งได้ หากเป็นธุรกรรมตามข้อตกลงหรือสัญญาซึ่งได้ระบุไว้อย่างเฉพาะเจาะจงแล้วในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวน (3) ระบบในการอนุมัติตาม (2) ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ดังนี้ด้วย (ก) ผู้ที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในการเข้าทําธุรกรรมต้องไม่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเข้าทําธุรกรรมนั้น (ข) ในกรณีที่ธุรกรรมดังกล่าวเป็นการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้คํานวณมูลค่าธุรกรรมตามมูลค่าการได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินทั้งหมดของแต่ละโครงการที่ทําให้โครงการนั้น ๆ พร้อมจะหารายได้ ซึ่งรวมถึงทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการนั้น ๆ ด้วย (ค) กําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่ในการจัดให้มีเอกสารที่มีรายละเอียดอย่างเพียงพอประกอบการพิจารณาของทรัสตี คณะกรรมการของผู้จัดการกองทรัสต์ตาม หรือผู้ถือหน่วยทรัสต์ แล้วแต่กรณี ซึ่งแสดงความเห็นของผู้จัดการกองทรัสต์เกี่ยวกับลักษณะธุรกรรมที่เป็นไปตาม (1) พร้อมทั้งเหตุผลและข้อมูลประกอบที่ชัดเจน ทั้งนี้ ในกรณีที่ต้องผ่านการพิจารณาของผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องมีความเห็นของที่ปรึกษาทางการเงินที่เป็นอิสระเพื่อประกอบการขอมติที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ด้วย (4) ในกรณีที่กองทรัสต์ถือหุ้นที่เป็นทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ต้องมีข้อกําหนดที่จะมีผลให้บริษัทที่ออกหุ้นดังกล่าวเข้าทําธุรกรรมกับผู้จัดการกองทรัสต์หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับผู้จัดการกองทรัสต์ได้ ต่อเมื่อผ่านการดําเนินการของกองทรัสต์ตามหลักเกณฑ์ใน (1) (2) และ (3) แล้ว ข้อ 20 รายการเกี่ยวกับการทําธุรกรรมกับทรัสตี ต้องมีสาระสําคัญที่ไม่ขัดหรือแย้งกับมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 และตามประกาศที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งบทบัญญัติดังกล่าว ข้อ 21 รายการเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลของกองทรัสต์ ต้องกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดทําและเปิดเผยข้อมูลของกองทรัสต์ต่อสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และผู้ถือหน่วยทรัสต์ ซึ่งรวมถึงการจัดส่งรายงานประจําปีของกองทรัสต์ ให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ พร้อมกับหนังสือนัดประชุมสามัญประจําปี ข้อ 22( รายการเกี่ยวกับการจ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ผู้จัดการกองทรัสต์จะจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่น้อยกว่าร้อยละเก้าสิบของกําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วในแต่ละรอบปีบัญชี ทั้งนี้ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชี หรือวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการจ่ายประโยชน์ตอบแทนนั้น แล้วแต่กรณี กําไรสุทธิที่ปรับปรุงแล้วตามวรรคหนึ่ง ให้หมายถึงกําไรสุทธิที่หักด้วยรายการเงินสํารองเฉพาะเพื่อการดังนี้ (ก) การซ่อมแซม บํารุงรักษา หรือปรับปรุงทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานของกองทรัสต์ตามแผนที่กําหนดไว้อย่างชัดเจนในแบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวนแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี รายงานประจําปี หรือที่ผู้จัดการกองทรัสต์ได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ทราบล่วงหน้า (ข) การชําระหนี้เงินกู้ยืมหรือภาระผูกพันจากการกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ตามวงเงินที่ระบุไว้แบบแสดงรายการข้อมูลและหนังสือชี้ชวน แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปีรายงานประจําปี หรือที่ผู้จัดการกองทรัสต์ได้แจ้งให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ทราบล่วงหน้า (ค) การจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ชนิดที่ให้สิทธิในการได้รับประโยชน์ตอบแทนหรือการคืนเงินทุนในลําดับแรก (ถ้ามี) (2) ในการพิจารณาจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ผู้จัดการกองทรัสต์ จะต้องพิจารณาถึงความจําเป็นในการดํารงเงินสดของกองทรัสต์ให้เหมาะสม ทั้งนี้ ตามแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด (3) ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องไม่กู้ยืมเงินเพื่อจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ (4) ในกรณีที่กองทรัสต์ยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ ห้ามมิให้ผู้จัดการกองทรัสต์จ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ในกรณีที่กองทรัสต์ไม่สามารถจ่ายประโยชน์ตอบแทนให้แก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ตามวรรคหนึ่ง (1) ผู้จัดการกองทรัสต์และทรัสตีต้องชี้แจงเหตุผลความจําเป็นต่อสํานักงาน ก.ล.ต.ตามแนวทางที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด และเปิดเผยให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ทราบในการประชุมสามัญประจําปี ข้อ 23 รายการเกี่ยวกับการขอมติและการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) วิธีการจัดประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์และการขอมติ ซึ่งต้องไม่มีลักษณะเป็นการส่งหนังสือขอมติไปยังผู้ถือหน่วยทรัสต์ (2) เหตุในการขอมติและการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องระบุเหตุอย่างน้อยตามที่ กําหนดไว้ในประกาศนี้ และต้องมีข้อกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์จัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ อย่างน้อยดังนี้ (ก) การประชุมสามัญประจําปี ซึ่งต้องจัดให้มีขึ้นภายในสี่เดือนนับแต่วันสิ้นรอบปีบัญชีของกองทรัสต์ (ข) การประชุมวิสามัญในกรณีดังนี้ 1. เมื่อผู้จัดการกองทรัสต์เห็นสมควรให้เรียกประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์เพื่อประโยชน์ในการจัดการกองทรัสต์ 2. เมื่อผู้ถือหน่วยทรัสต์ซึ่งถือหน่วยทรัสต์รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของจํานวนหน่วยทรัสต์ที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด เข้าชื่อกันทําหนังสือขอให้ผู้จัดการกองทรัสต์เรียกประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ โดยระบุเหตุผลในการขอเรียกประชุมไว้อย่างชัดเจนในหนังสือนั้น (การประชุมวิสามัญตามวรรคหนึ่ง 2. ต้องมีข้อกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์ จัดให้มีการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับหนังสือจากผู้ถือหน่วยทรัสต์ (3)( การเรียกประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ขั้นต่ําดังนี้ (ก) จัดทําหนังสือนัดประชุมที่มีรายละเอียดเพียงพอต่อการตัดสินใจของ ผู้ถือหน่วยทรัสต์ โดยอย่างน้อยต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการประชุมและการออกเสียงลงมติ ตลอดจน ระเบียบวาระการประชุม และเรื่องที่จะเสนอต่อที่ประชุมพร้อมด้วยรายละเอียดตามสมควร โดยระบุให้ชัดเจนว่าเป็นเรื่องที่จะเสนอเพื่อทราบ เพื่ออนุมัติ หรือเพื่อพิจารณา แล้วแต่กรณี รวมทั้งความเห็นของผู้จัดการกองทรัสต์ในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ ในกรณีที่มีการขอมติของผู้ถือหน่วยทรัสต์ ให้รวมถึงความเห็นเกี่ยวกับผลกระทบที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์อาจได้รับจากการลงมติในเรื่องนั้น ๆ ด้วย (ข) จัดส่งหนังสือนัดประชุมถึงผู้ถือหน่วยทรัสต์ล่วงหน้าก่อนวันประชุม ตามระยะเวลาดังนี้ 1. สิบสี่วัน ในกรณีที่เป็นการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์ เพื่อผู้ลงทุนทั่วไป ซึ่งมีวาระที่ต้องได้มติผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนหน่วยทรัสต์ ของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 2. เจ็ดวัน ในกรณีอื่นนอกจาก 1. (ค) ประกาศการนัดประชุมในหนังสือพิมพ์รายวันแห่งท้องถิ่นอย่างน้อย หนึ่งฉบับไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันประชุม (4) องค์ประชุม ต้องมีข้อกําหนดดังนี้ (ก) กําหนดให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์มาประชุมไม่น้อยกว่ายี่สิบห้าคน หรือไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจํานวนผู้ถือหน่วยทรัสต์ทั้งหมด และต้องมีหน่วยทรัสต์นับรวมกันไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยทรัสต์ที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม (ข) ในกรณีที่ปรากฏว่าการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ครั้งใด เมื่อล่วงเวลานัดไปแล้วถึงหนึ่งชั่วโมงจํานวนผู้ถือหน่วยทรัสต์ซึ่งมาเข้าร่วมประชุมไม่ครบเป็นองค์ประชุมตามที่กําหนดไว้ใน (ก) หากว่าการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์นั้นได้เรียกนัดเพราะผู้ถือหน่วยทรัสต์ร้องขอตาม (2) (ข) 2. ให้การประชุมเป็นอันระงับไป หากการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์นั้นมิใช่เป็นการเรียกประชุมเพราะผู้ถือหน่วยทรัสต์ร้องขอตาม (2) (ข) 2. ให้นัดประชุมใหม่ และให้ส่งหนังสือนัดประชุมไปยังผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันประชุม โดยในการประชุมครั้งหลังนี้ไม่บังคับว่าจะต้องครบองค์ประชุม (4/1)( การดําเนินการประชุม ซึ่งต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) การดําเนินการประชุม ให้เป็นไปตามลําดับระเบียบวาระที่กําหนดไว้ในหนังสือนัดประชุม เว้นแต่ที่ประชุมจะมีมติให้เปลี่ยนลําดับระเบียบวาระด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า สองในสามของจํานวนผู้ถือหน่วยทรัสต์ซึ่งมาประชุม (ข) เมื่อที่ประชุมพิจารณาเสร็จตาม (ก) แล้ว ผู้ถือหน่วยทรัสต์ซึ่งมี หน่วยทรัสต์นับรวมกันได้ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจํานวนหน่วยทรัสต์ที่จําหน่ายได้ทั้งหมดจะขอให้ที่ประชุมพิจารณาเรื่องอื่นนอกจากที่กําหนดไว้ในหนังสือนัดประชุมอีกก็ได้ (ค) ในกรณีที่ที่ประชุมพิจารณาเรื่องตามลําดับระเบียบวาระไม่เสร็จตาม (ก) หรือพิจารณาเรื่องที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์เสนอไม่เสร็จตาม (ข) แล้วแต่กรณี และจําเป็นต้องเลื่อนการพิจารณา ให้ที่ประชุมกําหนดสถานที่ วัน และเวลาที่จะประชุมครั้งต่อไป และให้ผู้จัดการกองทรัสต์ ส่งหนังสือนัดประชุมระบุสถานที่ วัน เวลา และระเบียบวาระการประชุมไปยังผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันประชุม ทั้งนี้ ให้โฆษณาคําบอกกล่าวนัดประชุมในหนังสือพิมพ์ไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันประชุมด้วย (5) วิธีการนับคะแนนเสียง ต้องกําหนดให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์มีคะแนนเสียง หนึ่งเสียง ต่อหนึ่งหน่วยทรัสต์ที่ตนถือ โดยผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนต้องไม่เป็นผู้ที่มีส่วน ได้เสียเป็นพิเศษในเรื่องที่พิจารณา (6) มติของผู้ถือหน่วยทรัสต์ ต้องกําหนดอย่างน้อยดังนี้ (ก) ในกรณีทั่วไป ให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุม และมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน (ข) ในกรณีดังต่อไปนี้ ให้ถือคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจํานวนเสียง ทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน 1. การได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าตั้งแต่ร้อยละสามสิบของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ 2. การเพิ่มทุนหรือการลดทุนของกองทรัสต์ที่มิได้ระบุไว้เป็นการล่วงหน้าในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ 3. การทําธุรกรรมกับผู้จัดการกองทรัสต์หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกันกับ ผู้จัดการกองทรัสต์ ซึ่งมีขนาดรายการเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในข้อ 19(2)(ค) 4. การเปลี่ยนแปลงผลประโยชน์ตอบแทนและการคืนเงินทุนให้ผู้ถือหน่วยทรัสต์ให้แตกต่างไปจากที่ได้ระบุไว้เป็นการล่วงหน้า 5. การเปลี่ยนแปลงทรัสตี 6. การเลิกกองทรัสต์ 7. การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ในเรื่องที่กระทบสิทธิอื่น ๆ ตามสัญญาของผู้ถือหน่วยทรัสต์อย่างมีนัยสําคัญ (7) ข้อความที่แสดงว่า มติของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่จะเป็นผลให้กองทรัสต์หรือการจัดการกองทรัสต์มีลักษณะที่ขัดหรือแย้งกับหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศที่เกี่ยวกับหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ หรือหลักเกณฑ์อื่นตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535หรือพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ให้ถือว่ามตินั้นไม่มีผลบังคับ (8)( กรณีที่มีประกาศกําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขอมติและการประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ไว้เป็นการเฉพาะ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในเรื่องนั้น ข้อ 24 ในกรณีที่กองทรัสต์มีการแบ่งหน่วยทรัสต์ออกเป็นหลายชนิด รายการเกี่ยวกับ การขอมติและการออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยทรัสต์ต้องมีข้อกําหนดเพิ่มเติมที่ให้ผลดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยทรัสต์ทุกชนิด โดยแต่ละชนิด ได้รับผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่เท่ากัน ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือหน่วยทรัสต์ชนิดที่ ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์แต่ละชนิดที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง (2) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของผู้ถือหน่วยทรัสต์ไม่ว่ากรณีใด ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือหน่วยทรัสต์ชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์แต่ละชนิดที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง (3) ในกรณีที่เป็นการขอมติที่มีผลกระทบต่อผู้ถือหน่วยทรัสต์ชนิดใดชนิดหนึ่ง ให้ได้รับมติผู้ถือหน่วยทรัสต์ชนิดที่ได้รับผลกระทบเกินกึ่งหนึ่งของจํานวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหน่วยทรัสต์ชนิดนั้น ที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง ข้อ 25 รายการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือเกินอัตราหรือมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) จํากัดสิทธิในการรับประโยชน์ตอบแทนของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือหน่วยทรัสต์ เกินกว่าอัตราหรือไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วย การออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และกําหนดให้ประโยชน์ตอบแทนในส่วนที่ไม่อาจจ่ายแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ดังกล่าวตกเป็นของผู้ถือหน่วยทรัสต์รายอื่นตามสัดส่วนการถือหน่วยทรัสต์ (2) จํากัดสิทธิในการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยทรัสต์ดังนี้ (ก) ผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือหน่วยทรัสต์เกินกว่าอัตราหรือไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์ เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งนี้ เฉพาะในส่วนที่เกินกว่าอัตราดังกล่าว (ข) ผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในเรื่องที่ขอมติ ข้อ 26 รายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของทรัสตี ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดเกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของทรัสตีที่แสดงสาระสําคัญดังนี้ (ก) กําหนดให้ทรัสตีปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวังและซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือหน่วยทรัสต์โดยรวม และเป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อผูกพันที่ได้ให้ไว้เพิ่มเติมในเอกสารที่เปิดเผยแก่ผู้ลงทุน (ถ้ามี) และต้องไม่มีข้อจํากัดความรับผิด ของทรัสตีในกรณีที่ไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว (ข) กําหนดให้ทรัสตีมีหน้าที่ติดตามดูแลให้ผู้จัดการกองทรัสต์ หรือผู้รับมอบหมายงาน รายอื่นตาม (ฉ) (ถ้ามี) ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และสัญญาอื่นที่เกี่ยวข้อง (ค) กําหนดให้ทรัสตีมีหน้าที่เข้าร่วมประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ และให้ความเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่ขอให้ที่ประชุมผู้ถือหน่วยทรัสต์ลงมติ (ง) กําหนดให้ทรัสตีมีหน้าที่บังคับชําระหนี้หรือดูแลให้มีการบังคับชําระหนี้ เพื่อให้เป็นไปตามสัญญาระหว่างกองทรัสต์กับบุคคลอื่น (จ) กําหนดให้ทรัสตีเข้าจัดการกองทรัสต์ในกรณีที่ไม่มีผู้จัดการกองทรัสต์ หรือมีเหตุที่ทําให้ผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ทั้งนี้ ภายใต้หลักเกณฑ์ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์ และการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ฉ) ในกรณีที่ทรัสตีประสงค์จะจัดการกองทรัสต์ในส่วนที่เกี่ยวกับการลงทุนในทรัพย์สินอื่นที่มิใช่ทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานด้วยตนเอง หรือมอบหมายให้บุคคลอื่นนอกเหนือจากผู้จัดการกองทรัสต์เป็นผู้รับดําเนินการ ให้ระบุเรื่องดังกล่าวไว้ให้ชัดเจน โดยต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ การเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์ และการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ช) กําหนดให้ทรัสตีมีสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบอื่นที่สอดคล้องกับสาระและรายการที่กําหนดไว้ในประกาศนี้ และประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเป็นผู้ก่อตั้งทรัสต์ และการเป็นทรัสตีของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (2)( ข้อกําหนดเกี่ยวกับการแต่งตั้ง เงื่อนไขและวิธีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนค่าตอบแทนทรัสตี ซึ่งรวมถึงข้อกําหนดดังต่อไปนี้ (ก) การเปลี่ยนแปลงทรัสตี เมื่อมีเหตุดังนี้ 1. เหตุตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 2. เมื่อทรัสตีไม่สามารถดํารงเงินกองทุนตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเป็นทรัสตี (ข) กําหนดเวลาการเปลี่ยนแปลงทรัสตีในกรณีที่ปรากฏเหตุตาม (ก) 2. ซึ่งต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุดังกล่าว ข้อ 27 รายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การแต่งตั้งและค่าตอบแทนผู้จัดการกองทรัสต์ (2) ขอบเขตอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ที่ได้รับมอบหมายจากทรัสตีในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (ก) การดูแลจัดการกองทรัสต์ในส่วนที่เป็นการดําเนินงานทางธุรกิจ ซึ่งรวมถึงการลงทุน การกู้ยืมเงินและก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทรัสต์ การเข้าทําสัญญา และการดําเนินกิจการต่าง ๆ เพื่อกองทรัสต์ ทั้งนี้ ภายใต้ขอบเขต หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขตามที่ระบุไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ (ข) หน้าที่การจัดทําและเปิดเผยข้อมูลของกองทรัสต์ ซึ่งรวมถึงข้อมูลตามมาตรา 56 และมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และข้อมูลอื่นตามที่กําหนด ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ (ค) ในกรณีที่ผู้จัดการกองทรัสต์ประสงค์จะให้บุคคลอื่นรับดําเนินการในงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน ต้องระบุเรื่องดังกล่าวพร้อมทั้งระบุหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ในการคัดเลือกผู้รับดําเนินการด้วยความรอบคอบระมัดระวัง ตลอดจนการกํากับและตรวจสอบการดําเนินการของผู้รับดําเนินการไว้ด้วย ทั้งนี้ ข้อกําหนดเกี่ยวกับการมอบหมายงานต้องไม่มีสาระที่ขัดหรือแย้งกับประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (3) กําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์ปฏิบัติหน้าที่ตามที่รับมอบหมายจากทรัสตีด้วยความระมัดระวังและซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือหน่วยทรัสต์โดยรวม และเป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อผูกพันที่ได้ให้ไว้เพิ่มเติมในเอกสารที่เปิดเผยแก่ผู้ลงทุน (ถ้ามี) ทั้งนี้ ต้องไม่มีข้อจํากัดความรับผิดของผู้จัดการกองทรัสต์ในกรณีที่ไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ซึ่งรวมถึงความรับผิดเกี่ยวกับค่าปรับหรือค่าเสียหายตาม (8) ด้วย (4) การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการกองทรัสต์ ซึ่งต้องกําหนดรายการและสาระอย่างน้อยดังนี้ (ก)( เหตุในการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องกําหนดไว้อย่างน้อยดังต่อไปนี้ 1. ผู้จัดการกองทรัสต์ลาออก 2. ผู้จัดการกองทรัสต์ถูกถอดถอนจากการทําหน้าที่ เมื่อปรากฏว่าผู้จัดการกองทรัสต์มิได้จัดการกองทรัสต์ตามหน้าที่ที่กําหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือประกาศที่กําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ 3. ผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถดํารงเงินกองทุนตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการ ให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐาน การปฏิบัติงาน 4. สํานักงาน ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบเป็นผู้จัดการกองทรัสต์ หรือสั่งพักการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์เป็นเวลาเกินกว่าเก้าสิบวัน ทั้งนี้ ตามประกาศ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ ในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐาน การปฏิบัติงาน 5. ผู้จัดการกองทรัสต์สิ้นสภาพนิติบุคคล (ข) วิธีการแต่งตั้งผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ ต้องกําหนดให้ทรัสตีขอมติผู้ถือหน่วยทรัสต์เพื่อแต่งตั้งผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ปรากฏเหตุตาม (ก)และแต่งตั้งบุคคลที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์มีมติเห็นชอบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับมติ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่สามารถดําเนินการแต่งตั้งผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ตามวิธีการดังกล่าว ให้ทรัสตีดําเนินการแต่งตั้ง ผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ได้เองโดยคํานึงถึงประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือหน่วยทรัสต์โดยรวมตามระยะเวลาที่จําเป็นและสมควร (ค) หน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์รายเดิม ต้องกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์รายเดิมมีหน้าที่ดําเนินการตามที่จําเป็นเพื่อให้ทรัสตี หรือผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ แล้วแต่กรณี สามารถปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ ซึ่งการดําเนินการดังกล่าวรวมถึงการลงลายมือชื่อในหนังสือเพื่อรับรองความถูกต้องครบถ้วนของสิ่งที่ส่งมอบให้ทรัสตีหรือผู้จัดการกองทรัสต์รายใหม่ด้วย (5) ไม่ว่ากรณีใด ๆ หากผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ระบุว่าทรัสตีจะจัดการกองทรัสต์ตามความจําเป็นเพื่อป้องกัน ยับยั้ง หรือจํากัดมิให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์ของกองทรัสต์หรือผู้ถือหน่วยทรัสต์ทั้งปวง โดยทรัสตีอาจมอบหมายให้บุคคลอื่นจัดการกองทรัสต์แทนในระหว่างนี้ได้ (6) ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์กําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์สามารถเบิกจ่ายทรัพย์สินของกองทรัสต์ได้ ต้องมีข้อกําหนดให้การเบิกจ่ายดังกล่าวกระทําได้เฉพาะกรณีที่เป็นการเบิกจ่ายจากบัญชีเพื่อการดําเนินงานประจําวัน (petty cash) ภายใต้วงเงินที่ได้รับการอนุมัติจากทรัสตี และกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์จัดทําและจัดส่งรายงานการเบิกจ่ายให้แก่ทรัสตีเพื่อให้ทรัสตีสามารถตรวจสอบรายการดังกล่าวได้ภายในระยะเวลาที่สมควร (6/1)( ในกรณีที่กองทรัสต์จะมีการออกหุ้นกู้ ต้องกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่ดําเนินการใด ๆ เพื่อให้กองทรัสต์สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตตามประกาศเกี่ยวกับการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ของกองทรัสต์ด้วย (7) ข้อกําหนดอื่นเพื่อรองรับอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ให้สอดคล้องกับสาระและรายการตามที่กําหนดในประกาศนี้ และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (8)( ข้อกําหนดเกี่ยวกับความรับผิดในค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ อันเนื่องมาจาก การดูแลจัดการกองทรัสต์ของผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องรับผิดชอบในค่าปรับหรือค่าเสียหายที่เกิดแก่ตนเอง อันเนื่องมาจากการที่ผู้จัดการกองทรัสต์กระทําผิดหน้าที่ของตนตามนัยมาตรา 33/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยผู้จัดการกองทรัสต์จะนําทรัพย์สินของกองทรัสต์มาชําระค่าปรับหรือชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าวไม่ได้ (ข) ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องรับผิดชอบในค่าปรับหรือค่าเสียหายอื่นใดที่เกิดแก่ กองทรัสต์อันเนื่องมาจากการที่ผู้จัดการกองทรัสต์กระทําผิดหน้าที่ของตนไม่ว่าด้วยประการใด ๆ โดยผู้จัดการกองทรัสต์จะนําทรัพย์สินของกองทรัสต์มาชําระค่าปรับหรือชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าวไม่ได้ ข้อ 28 รายการเกี่ยวกับค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย ต้องระบุข้อกําหนดเกี่ยวกับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม เงินตอบแทนอื่นใด หรือค่าใช้จ่าย จากกองทรัสต์หรือจากผู้ถือหน่วยทรัสต์ อย่างชัดเจนทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายที่จะเรียกเก็บจากทรัพย์สินของกองทรัสต์ได้ ต้องเป็นค่าใช้จ่ายที่จําเป็นและสมควรซึ่งเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทรัสต์โดยตรง ข้อ 29 รายการเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับเจตนารมณ์ในการก่อตั้งกองทรัสต์ และบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ตลอดจนประกาศ กฎ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว (2) การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ในเรื่องที่กระทบสิทธิของผู้ถือหน่วยทรัสต์ต้องได้รับมติของผู้ถือหน่วยทรัสต์ตามข้อ 23(6) เว้นแต่เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมตามคําสั่งของสํานักงานก.ล.ต. ตามมาตรา 21 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ข้อ 30 รายการเกี่ยวกับการเลิกกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยที่แสดงว่าเมื่อปรากฏเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ ทรัสตีจะเลิกกองทรัสต์ (1) เมื่อจํานวนผู้ถือหน่วยทรัสต์ลดลงเหลือน้อยกว่าสามสิบห้าราย (2) เมื่อมีการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถดําเนินการเพื่อให้กองทรัสต์ลงทุนในทรัพย์สินโครงสร้างพื้นฐานเป็นมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่า ร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าเจ็ดพันห้าร้อยล้านบาท ทั้งนี้ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่จําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว (3) เมื่อผู้ถือหน่วยทรัสต์มีมติให้เลิกกองทรัสต์ หมวด 2 กองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ 31 สัญญาก่อตั้งทรัสต์ของกองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่ ให้ประกอบด้วยรายการตามที่กําหนดในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยรายการในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ และรายการเพิ่มเติมอย่างน้อยในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) การก่อตั้งกองทรัสต์ ตามข้อ 32 (2) หน่วยทรัสต์และการจัดทําทะเบียนหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 33 (3) การลงทุนของกองทรัสต์ ตามข้อ 34 (3/1)( การกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ ตามข้อ 34/1 (4) การจ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ ตามข้อ 35 (5) การจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือเกินอัตราหรือมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ ตามข้อ 36 (5/1)( อํานาจหน้าที่ของทรัสตี ตามข้อ 36/1 (6) อํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ ตามข้อ 37 (7) การแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ตามข้อ 38 (8) การเลิกกองทรัสต์ ตามข้อ 39 ข้อ 32 รายการเกี่ยวกับการก่อตั้งกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญ อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ลักษณะของกองทรัสต์และกลไกการบริหารซึ่งมีลักษณะดังนี้ (ก) “............(ชื่อกองทรัสต์)............ เป็นกองทรัสต์ตามพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ที่ก่อตั้งขึ้นด้วยผลของสัญญาก่อตั้งทรัสต์นี้ และสมบูรณ์เมื่อผู้ก่อตั้งทรัสต์ โอนเงินที่ได้จากการจําหน่ายหน่วยทรัสต์ ด้วยความไว้วางใจให้ทรัสตีจัดการทรัพย์สินเพื่อประโยชน์ของ ผู้ถือหน่วยทรัสต์” และข้อความที่แสดงว่า “เมื่อกองทรัสต์มีผลสมบูรณ์แล้ว ทรัสตีจะมอบหมายให้ผู้ก่อตั้งทรัสต์ เข้าเป็นผู้จัดการกองทรัสต์ต่อไป” (ข) “กองทรัสต์นี้ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคล โดยเป็นกองทรัพย์สินที่อยู่ในชื่อและอํานาจการจัดการของทรัสตี” (ค) “การจัดการกองทรัสต์ จะกระทําโดยทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ที่ได้รับมอบหมายจากทรัสตีซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ตามขอบเขตอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ปรากฏในรายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของทรัสตีและผู้จัดการกองทรัสต์ โดยในการนี้ ผู้จัดการกองทรัสต์ มีอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบในการดูแลจัดการกองทรัสต์ ซึ่งรวมถึงการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และทรัสตีมีอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบในเก็บรักษาทรัพย์สินของกองทรัสต์และการกํากับดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์และผู้รับมอบหมายรายอื่น (ถ้ามี) ให้เป็นไปตามสัญญาและตามกฎหมาย” ทั้งนี้ ในกรณีที่กองทรัสต์มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินอื่นนอกจากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน ให้มีข้อความที่แสดงถึงบุคคลที่จะจัดการลงทุนในทรัพย์สินดังกล่าวด้วยซึ่งอาจเป็นทรัสตีหรือบุคคลอื่นใดที่สามารถดําเนินการได้โดยชอบก็ได้ (2) ชื่อ อายุ ประเภทและวัตถุประสงค์ของกองทรัสต์ ซึ่งต้องมีข้อความว่า “กองทรัสต์มีวัตถุประสงค์หลักในการนําเงินของผู้ลงทุนรายใหญ่ไปลงทุนหรือแสวงหาประโยชน์จากทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานตามที่กําหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของผู้ลงทุนรายใหญ่ดังกล่าว” (3) ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ก่อตั้งทรัสต์ ทรัสตี และผู้จัดการกองทรัสต์ (4) คุณสมบัติหรือลักษณะของผู้รับประโยชน์ของกองทรัสต์ ซึ่งมีข้อความที่แสดงว่าผู้ถือหน่วยทรัสต์ตามที่ปรากฏชื่อในทะเบียนผู้ถือหน่วยทรัสต์เป็นผู้รับประโยชน์ของกองทรัสต์นี้โดยผู้ถือหน่วยทรัสต์ดังกล่าวต้องเป็นผู้ลงทุนรายใหญ่ตามที่กําหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์เท่านั้นเว้นแต่เป็นการได้รับหน่วยทรัสต์มาทางมรดก (5) ทรัพย์สินที่จะให้เป็นกองทรัสต์ ทั้งนี้ ทรัพย์สินเริ่มต้นที่จะให้เป็นกองทรัสต์ต้องเป็นเงินที่ผู้ก่อตั้งทรัสต์ได้จากการจําหน่ายหน่วยทรัสต์ในการเสนอขายหน่วยทรัสต์ครั้งแรก (6) วันที่จัดตั้งกองทรัสต์ ข้อ 33 รายการเกี่ยวกับหน่วยทรัสต์และการจัดทําทะเบียนหน่วยทรัสต์ ต้องมีข้อความที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อความที่แสดงลักษณะของหน่วยทรัสต์ดังนี้ (ก) หน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์นี้มิได้ให้สิทธิแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ไม่เข้าลักษณะของผู้ลงทุนรายใหญ่ (ข) หน่วยทรัสต์ของกองทรัสต์นี้มีข้อจํากัดการโอนไม่ว่าทอดใด ๆ หากการโอนหน่วยทรัสต์ดังกล่าวจะทําให้ไม่สามารถคงลักษณะของการเป็นกองทรัสต์เพื่อผู้ลงทุนรายใหญ่ สัญญาก่อตั้งทรัสต์จะกําหนดข้อยกเว้นของข้อความตาม (ก) หรือ (ข) สําหรับกรณีที่เป็นการได้หน่วยทรัสต์มาทางมรดกก็ได้ (2) ข้อความที่แสดงว่า ทรัสตีหรือนายทะเบียนหลักทรัพย์มีสิทธิปฏิเสธการแสดงชื่อในทะเบียนผู้ถือหน่วยทรัสต์ ในกรณีดังนี้ (ก) กรณีที่ผู้ถือหน่วยทรัสต์มิใช่ผู้ลงทุนรายใหญ่ เว้นแต่เป็นการได้หน่วยทรัสต์มาทางมรดก (ข) กรณีที่จะทําให้การถือหน่วยทรัสต์ไม่เป็นไปตามอัตราที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ข้อ 34 รายการเกี่ยวกับการลงทุนของกองทรัสต์ ต้องมีข้อความที่แสดงถึงนโยบายการลงทุนและประเภททรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่กองทรัสต์จะลงทุน รวมทั้งข้อจํากัดการลงทุน (ถ้ามี) ซึ่งมีสาระสําคัญตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน ข้อ 34/1( รายการเกี่ยวกับการกู้ยืมเงินของกองทรัสต์ โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กําหนดไว้ในข้อ 17(1) (2) และ (4) ข้อ 35 รายการเกี่ยวกับการจ่ายประโยชน์ตอบแทนแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในข้อ 22 ข้อ 36 รายการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่ถือเกินอัตราหรือมีส่วนได้เสียเป็นพิเศษ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) จํากัดสิทธิในการรับประโยชน์ตอบแทนของผู้ถือหน่วยทรัสต์ที่มีลักษณะดังนี้ และกําหนดให้ประโยชน์ตอบแทนในส่วนที่ไม่อาจจ่ายแก่ผู้ถือหน่วยทรัสต์ดังกล่าวตกเป็นของผู้ถือหน่วยทรัสต์รายอื่นตามสัดส่วนการถือหน่วยทรัสต์ (ก) บุคคลหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันที่ถือหน่วยทรัสต์เกินกว่าอัตราหรือไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ข) บุคคลที่ไม่เข้าลักษณะของผู้ลงทุนรายใหญ่ เว้นแต่บุคคลนั้นได้รับหน่วยทรัสต์มาทางมรดก (2) จํากัดสิทธิในการใช้สิทธิออกเสียงลงคะแนนของผู้ถือหน่วยทรัสต์ดังนี้ ทั้งนี้ เฉพาะในส่วนที่เกินกว่าอัตราหรือไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว (ก) บุคคลหรือกลุ่มบุคคลเดียวกันที่ถือหน่วยทรัสต์เกินกว่าอัตราหรือไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการออกและเสนอขายหน่วยทรัสต์ ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (ข) บุคคลที่ไม่เข้าลักษณะของผู้ลงทุนรายใหญ่ เว้นแต่บุคคลนั้นได้รับหน่วยทรัสต์มาทางมรดก (ค) บุคคลที่มีส่วนได้เสียเป็นพิเศษในเรื่องที่ขอมติ ข้อ 36/1( รายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของทรัสตี ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ข้อกําหนดเกี่ยวกับสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของทรัสตี (2) ข้อกําหนดเกี่ยวกับการแต่งตั้ง เงื่อนไขและวิธีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนค่าตอบแทนทรัสตี ซึ่งรวมถึงข้อกําหนดดังต่อไปนี้ (ก) การเปลี่ยนแปลงทรัสตี เมื่อมีเหตุดังนี้ 1. เหตุตามมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 2. เมื่อทรัสตีไม่สามารถดํารงเงินกองทุนตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการขออนุญาตและการอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเป็นทรัสตี (ข) กําหนดเวลาการเปลี่ยนแปลงทรัสตีในกรณีที่ปรากฏเหตุตาม (ก) 2. ซึ่งต้องดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่รู้หรือควรรู้ถึงเหตุดังกล่าว ข้อ 37 รายการเกี่ยวกับอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องมีข้อกําหนดที่แสดงสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1) ขอบเขตอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ที่ได้รับมอบหมายจากทรัสตีในเรื่องดังนี้ (ก) การดูแลจัดการกองทรัสต์ในส่วนที่เป็นการดําเนินงานทางธุรกิจ ซึ่งรวมถึงการลงทุน การกู้ยืมเงินและก่อภาระผูกพันแก่ทรัพย์สินของกองทรัสต์ การเข้าทําสัญญา และการดําเนินกิจการต่าง ๆ เพื่อกองทรัสต์ ทั้งนี้ ภายในขอบเขต หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขเท่าที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์ได้ระบุไว้ (ข) หน้าที่การจัดทําและเปิดเผยข้อมูลของกองทรัสต์ ซึ่งรวมถึงข้อมูลตามมาตรา 56 และมาตรา 57 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และข้อมูลอื่นตามที่กําหนด ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ (ค) ในกรณีที่ผู้จัดการกองทรัสต์ประสงค์จะให้บุคคลอื่นรับดําเนินการในงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน ข้อกําหนดเกี่ยวกับการมอบหมายงานต้องไม่มีสาระที่ขัดหรือแย้งกับประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานในการปฏิบัติงาน (ง)( ในกรณีที่กองทรัสต์จะมีการออกหุ้นกู้ ต้องกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่ดําเนินการใด ๆ เพื่อให้กองทรัสต์สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตตามประกาศเกี่ยวกับการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ของกองทรัสต์ด้วย (จ)( ในกรณีที่กองทรัสต์จะลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานผ่านการถือหุ้นที่ออกโดยบริษัท ต้องกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์มีหน้าที่ในการกํากับดูแลให้บริษัทดังกล่าวดําเนินการให้เป็นไปในทํานองเดียวกับหลักเกณฑ์ที่กําหนดไว้สําหรับกองทรัสต์ที่มีการลงทุนในทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานนั้นโดยตรง (2) การกําหนดให้ผู้จัดการกองทรัสต์ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากทรัสตีด้วยความระมัดระวังและซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ที่ดีที่สุดของผู้ถือหน่วยทรัสต์โดยรวม และเป็นไปตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนข้อผูกพันที่ได้ให้ไว้เพิ่มเติมในเอกสารที่เปิดเผยแก่ผู้ลงทุน (ถ้ามี) ทั้งนี้ ต้องไม่มีข้อจํากัดความรับผิดของผู้จัดการกองทรัสต์ในกรณีที่ไม่ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว (3)( เหตุในการเปลี่ยนแปลงผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องกําหนดไว้อย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถดํารงเงินกองทุนตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการ ให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐาน การปฏิบัติงาน (ข) สํานักงาน ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบเป็นผู้จัดการกองทรัสต์หรือสั่งพักการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์เป็นเวลาเกินกว่าเก้าสิบวัน ทั้งนี้ ตามประกาศ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ ในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐาน การปฏิบัติงาน (ค) ผู้จัดการกองทรัสต์สิ้นสภาพนิติบุคคล (4) ข้อกําหนดอื่นเพื่อรองรับอํานาจหน้าที่ของผู้จัดการกองทรัสต์ให้สอดคล้องกับสาระและรายการตามที่กําหนดในประกาศนี้ และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการให้ความเห็นชอบผู้จัดการกองทรัสต์ของทรัสต์เพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (5)( ข้อกําหนดเกี่ยวกับความรับผิดในค่าปรับหรือค่าเสียหายใด ๆ อันเนื่องมาจาก การดูแลจัดการกองทรัสต์ของผู้จัดการกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (ก) ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องรับผิดชอบในค่าปรับหรือค่าเสียหายที่เกิดแก่ตนเอง อันเนื่องมาจากการที่ผู้จัดการกองทรัสต์กระทําผิดหน้าที่ของตนตามนัยมาตรา 33/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 โดยผู้จัดการกองทรัสต์จะนําทรัพย์สินของกองทรัสต์มาชําระค่าปรับหรือชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าวไม่ได้ (ข) ผู้จัดการกองทรัสต์ต้องรับผิดชอบในค่าปรับหรือค่าเสียหายอื่นใดที่เกิดแก่กองทรัสต์อันเนื่องมาจากการที่ผู้จัดการกองทรัสต์กระทําผิดหน้าที่ของตนไม่ว่าด้วยประการใด ๆ โดยผู้จัดการกองทรัสต์จะนําทรัพย์สินของกองทรัสต์มาชําระค่าปรับหรือชดใช้ค่าเสียหายดังกล่าวไม่ได้ ข้อ 38 รายการเกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ต้องมีข้อความที่แสดงว่าการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาก่อตั้งทรัสต์ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับเจตนารมณ์ในการก่อตั้งกองทรัสต์ และบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน พ.ศ. 2550 ตลอดจนประกาศ กฎ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว ข้อ 39 รายการเกี่ยวกับการเลิกกองทรัสต์ ต้องมีสาระสําคัญอย่างน้อยที่แสดงว่า เมื่อปรากฏเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ ทรัสตีจะเลิกกองทรัสต์ (1) เมื่อมีการจําหน่ายทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐาน และผู้จัดการกองทรัสต์ไม่สามารถดําเนินการเพื่อให้กองทรัสต์ลงทุนในทรัพย์สินโครงสร้างพื้นฐานเป็นมูลค่ารวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของมูลค่าทรัพย์สินรวมของกองทรัสต์ ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าเจ็ดพันห้าร้อยล้านบาททั้งนี้ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่จําหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินกิจการโครงสร้างพื้นฐานดังกล่าว (2) เมื่อผู้ถือหน่วยทรัสต์มีมติให้เลิกกองทรัสต์ ข้อ 40 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558 (นายวรพล โสคติยานุรักษ์) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
690
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 46/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมที่เน้นลงทุนในตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงสูงเพื่อแก้ปัญหาสภาพคล่อง เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด 19
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 46/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม ที่เน้นลงทุนในตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงสูงเพื่อแก้ปัญหา สภาพคล่อง เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด 19 \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 109 วรรคหนึ่ง มาตรา 117 มาตรา 119 และมาตรา 124 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ผู้ลงทุนสถาบัน” หมายความว่า ผู้ลงทุนสถาบันตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่ แต่ไม่รวมถึงกองทุนส่วนบุคคลซึ่งบริษัทหลักทรัพย์รับจัดการเงินทุนของผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ “ผู้ลงทุนรายใหญ่” หมายความว่า ผู้ลงทุนรายใหญ่ตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามผู้ลงทุนสถาบัน ผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษและผู้ลงทุนรายใหญ่ “ตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงสูง” หมายความว่า ตราสารหนี้ที่ไม่มีลักษณะพิเศษ (plain bond) ซึ่งได้รับอนุญาตให้เสนอขายตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ และได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของตราสารหรือผู้ออกอยู่ในอันดับที่ต่ํากว่าอันดับที่ลงทุนได้ (non-investment grade) หรือไม่ได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือ (unrated) “โครงการ” หมายความว่า โครงการจัดการกองทุนรวม “บริษัทจัดการ” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการกองทุนรวม “ประกาศเกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม” หมายความว่า ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดตั้งและจัดการของกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนสถาบัน หรือผู้ลงทุนรายใหญ่พิเศษ รวมถึงประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนดังกล่าว ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมที่ประสงค์จะเสนอขายเฉพาะต่อผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ โดยมีนโยบายการลงทุนในตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงสูง ตามหลักเกณฑ์การลงทุนที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการลงทุนของกองทุน ข้อ ๓ ในการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมตามประกาศนี้ บริษัทจัดการต้องปฏิบัติตามประกาศเกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวม โดยอนุโลม เว้นแต่จะได้กําหนดไว้เป็นการเฉพาะในประกาศนี้ หรือประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียนที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศดังกล่าว ข้อ ๔ มิให้นําหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนและการใช้สิทธิเกี่ยวกับหน่วยลงทุนตามที่กําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมและหน้าที่ของบริษัทจัดการ มาใช้บังคับกับกองทุนรวมที่จัดตั้งตามประกาศนี้ ข้อ ๕ กองทุนรวมที่จะได้รับอนุมัติให้จัดตั้งตามประกาศนี้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) เป็นกองทุนรวมประเภทไม่รับซื้อคืนหน่วยลงทุน หรือกองทุนรวมประเภทรับซื้อคืนหน่วยลงทุนโดยอัตโนมัติ ตามที่ระบุไว้ในโครงการ (auto redemption) (2) ยื่นคําขอจดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวมต่อสํานักงานภายในวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2564 (3) ชื่อของกองทุนรวมต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (ก) ระบุข้อความ “กองทุนรวมที่เน้นลงทุนในตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงสูงเพื่อแก้ปัญหาสภาพคล่อง เนื่องจากสถานการณ์โรคโควิด 19” ไว้ในชื่อ (ข) ระบุข้อความ “ห้ามขายผู้ลงทุนรายย่อย” ไว้ในส่วนท้ายของชื่อ (4) เริ่มมีการลงทุนในตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงสูงภายใน 6 เดือนนับแต่วันที่จดทะเบียนกองทรัพย์สินเป็นกองทุนรวมในครั้งแรก ทั้งนี้ ไม่ให้นําอัตราส่วนการลงทุนตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการลงทุนของกองทุนมาใช้บังคับภายในระยะเวลา 6 เดือนดังกล่าว (5) ในกรณีที่จะลงทุนในตราสารหนี้ที่มีความเสี่ยงสูงที่ผู้ออกมีวัตถุประสงค์ในการนําเงินที่ได้จากการขายตราสารหนี้ไปไถ่ถอนตราสารหนี้เดิมก่อน บริษัทจัดการต้องจัดให้มีกลไกที่ทําให้มั่นใจได้ว่าผู้ออกตราสารหนี้จะนําเงินไปใช้ตามที่ระบุไว้ เช่น การนําเงินที่ใช้ในการชําระราคาตราสารหนี้ไปฝากในบัญชีดูแลผลประโยชน์ของคู่สัญญา โดยกําหนดเงื่อนไขในการสั่งจ่าย (escrow account) เป็นต้น ข้อ ๖ ให้บริษัทจัดการดําเนินการยกเลิกการเสนอขายหน่วยลงทุนของกองทุนรวมตามประกาศนี้ หากครบกําหนดระยะเวลาเสนอขายหน่วยลงทุนครั้งแรกของกองทุนรวมแล้ว ปรากฏว่ากองทุนรวมมีจํานวนผู้ถือหน่วยลงทุนไม่ถึง 10 ราย ข้อ ๗ ในกรณีที่กองทุนรวมตามประกาศนี้มีการเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติม และมีพฤติการณ์ว่าผู้ออกตราสารหนี้หรือลูกหนี้ตามสิทธิเรียกร้องจะไม่สามารถชําระหนี้ได้ บริษัทจัดการจะดําเนินการให้ผู้ถือหน่วยลงทุนทุกรายที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนผู้ถือหน่วยลงทุน ณ วันที่มีพฤติการณ์ว่าผู้ออกตราสารหนี้หรือลูกหนี้ตามสิทธิเรียกร้องจะไม่สามารถชําระหนี้ได้ เป็นผู้มีสิทธิในเงินได้สุทธิจากทรัพย์สินอื่นที่ได้จากการรับชําระหนี้ก็ได้ ทั้งนี้ ในการดําเนินการดังกล่าว บริษัทจัดการไม่ต้องนําตราสารหนี้หรือสิทธิเรียกร้องนั้นมารวมคํานวณมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนรวม ข้อ ๘ เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้ลงทุนให้ได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรมตามสิทธิที่พึงได้รับ และเพื่อให้มีมาตรฐานการดําเนินงานเป็นอย่างเดียวกัน ให้สํานักงานมีอํานาจประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในเรื่องดังต่อไปนี้ ให้บริษัทจัดการถือปฏิบัติได้ (1) การขายหรือรับซื้อคืนหน่วยลงทุน การเพิ่มหรือลดจํานวนหน่วยลงทุน การชําระเงินค่าขายคืนหน่วยลงทุน ตลอดจนเมื่อเกิดการคํานวณจํานวนหน่วยลงทุนหรือมูลค่าผิด (2) ค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากผู้ลงทุน (3) การควบหรือรวมกองทุนรวม (4) การรับชําระหนี้ด้วยหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินอื่นของกองทุนรวม (5) การดําเนินการให้กองทุนรวมดํารงสภาพคล่องและวิธีปฏิบัติในกรณีที่ไม่สามารถดํารงสภาพคล่องได้ตามที่กําหนด (6) ข้อกําหนดอื่นใดเกี่ยวกับการจัดการกองทุนรวมเพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองผู้ลงทุน หรือเพื่อให้มีมาตรฐานการดําเนินงานเป็นอย่างเดียวกัน ข้อ ๙ นอกจากที่ระบุไว้เป็นการเฉพาะแล้ว ให้สํานักงานมีอํานาจประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการ ในรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่กําหนดในประกาศนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจนในทางปฏิบัติ และเพื่อให้สํานักงานสามารถตรวจสอบการปฏิบัตินั้นได้ ข้อ ๑๐ ในกรณีที่มีปัญหาอันเนื่องมาจากการอนุโลมใช้ประกาศเกี่ยวกับการจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมตามประกาศนี้ ให้สํานักงานมีอํานาจกําหนดแนวทาง (guideline) ในรายละเอียดเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวได้ และเมื่อมีการปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าว ให้ถือว่าบริษัทจัดการได้ปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศนี้แล้ว ข้อ ๑๑ ในกรณีที่ปรากฏเหตุดังต่อไปนี้ ให้สํานักงานมีอํานาจเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมได้ (1) มีการแก้ไขเพิ่มเติมโครงการหรือข้อผูกพันระหว่างผู้ถือหน่วยลงทุนกับบริษัทจัดการที่ขัดหรือแย้งกับกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนประกาศ กฎ หรือคําสั่งที่ออกโดยอาศัยอํานาจแห่งกฎหมายดังกล่าว (2) มีผู้ถือหน่วยลงทุนของกองทุนรวมเป็นบุคคลอื่นใดที่มิใช่ผู้ลงทุนสถาบันหรือผู้ลงทุนรายใหญ่ตามที่ระบุไว้ในโครงการ ในกรณีที่สํานักงานสั่งเพิกถอนการอนุมัติให้จัดตั้งและจัดการกองทุนรวมตามวรรคหนึ่ง ให้บริษัทจัดการดําเนินการให้มีการเลิกกองทุนรวมทันที ข้อ ๑๒ เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนรวมเป็นไปตามนโยบายหรือหลักเกณฑ์ในการกํากับดูแลที่มีผลใช้บังคับในขณะนั้นหรือเพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองผู้ลงทุน ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ให้สํานักงานมีอํานาจสั่งการให้บริษัทจัดการกระทําการหรืองดเว้นกระทําการตามที่สํานักงานเห็นสมควรภายในระยะเวลาที่กําหนด (1) กองทุนรวมมีการจัดการที่มีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขตามที่ประกาศเกี่ยวข้องกําหนด แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการจัดการกองทุนรวมนั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติหรือหลักเกณฑ์ที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (2) การจัดการกองทุนรวมอาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้องกับตลาดทุน (3) การจัดการกองทุนรวมอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม (4) การจัดการกองทุนรวมอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุน หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน (5) การดําเนินการของกองทุนรวมไม่สอดคล้องกับโครงการที่ได้รับอนุมัติจากสํานักงาน อํานาจสั่งการตามวรรคหนึ่งให้รวมถึงการสั่งการในเรื่องดังนี้ (1) ชี้แจง หรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติม (2) แก้ไขลักษณะของกองทุนรวมให้ถูกต้อง (3) ระงับการเสนอขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติม ข้อ ๑๓ ประกาศนี้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
691
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทน. 57/2563 เรื่อง การยกเลิกประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจำกัดการถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมและหน้าที่ของบริษัทจัดการ
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 57/2563 เรื่อง การยกเลิกประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วย หลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนใน กองทุนรวมและหน้าที่ของบริษัทจัดการ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 117 และมาตรา 119 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ให้ยกเลิก (1) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 46/2556 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมและหน้าที่ของบริษัทจัดการ ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 (2) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 23/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมและหน้าที่ของบริษัทจัดการ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2557 (3) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 28/2557 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมและหน้าที่ของบริษัทจัดการ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2557 (4) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 78/2558 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมและหน้าที่ของบริษัทจัดการ (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 (5) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 11/2561 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมและหน้าที่ของบริษัทจัดการ (ฉบับที่ 5) ลงวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2561 (6) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทน. 13/2562 เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับข้อจํากัดการถือหน่วยลงทุนในกองทุนรวมและหน้าที่ของบริษัทจัดการ (ฉบับที่ 6) ลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2562 ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
692
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 63/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 63/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 140/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุน” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการเงินร่วมลงทุน “นิติบุคคลร่วมลงทุน” หมายความว่า บริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการประกอบธุรกิจเงินร่วมลงทุน “กิจการ” หมายความว่า วิสาหกิจขนาดกลางหรือวิสาหกิจขนาดย่อมที่มีมูลค่าสินทรัพย์ถาวรซึ่งไม่รวมที่ดินไม่เกิน 200 ล้านบาท และมีการจ้างแรงงานไม่เกิน 200 คน ข้อ ๒ ให้บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนจัดทํารายงานดังต่อไปนี้ ตามแบบที่สํานักงานประกาศกําหนด และจัดส่งให้สํานักงานภายใน 5เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี (1) รายงานการถือหุ้นของนิติบุคคลร่วมลงทุนในกิจการภายใต้การบริหารของบริษัทจัดการเงินร่วมลงทุน (2) รายงานการเพิ่มหรือลดเงินทุน และการลงทุน ของนิติบุคคลร่วมลงทุน (3) รายงานการรับรองมูลค่าสินทรัพย์ถาวรและการจ้างแรงงานของกิจการที่นิติบุคคลร่วมลงทุนได้ลงทุน ข้อ ๓ ให้บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนดําเนินการให้นิติบุคคลร่วมลงทุนจัดส่งงบการเงินของนิติบุคคลร่วมลงทุนสําหรับงวดการบัญชีประจําปีที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้วต่อสํานักงานภายใน 4 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี ข้อ ๔ บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนจะลงทุนในหรือมีไว้ซึ่งหุ้นของกิจการใดเพื่อนิติบุคคลร่วมลงทุนหนึ่ง ๆ เกิน 1 ใน 3 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกิจการมิได้ หากนิติบุคคลร่วมลงทุนดังกล่าวมีบุคคลใดบุคคลหนึ่งถือหุ้นเกิน 1 ใน 3 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของนิติบุคคลร่วมลงทุน และในขณะเดียวกันถือหุ้นในกิจการเกิน 1 ใน 3 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกิจการนั้น ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่ามีการถือหุ้นโดยบุคคลใด ๆ อันเป็นการฝ่าฝืนวรรคหนึ่งบริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนต้องดําเนินการแก้ไขให้ถูกต้องภายใน 60 วันนับแต่วันที่มีการถือหุ้นเกินอัตราส่วนดังกล่าว การนับจํานวนหุ้นที่บุคคลใดถือในนิติบุคคลร่วมลงทุนหรือในกิจการตามวรรคหนึ่งให้นับรวมจํานวนหุ้นของบุคคลที่เกี่ยวข้องตามที่สํานักงานประกาศกําหนดด้วย ข้อ ๕ ในกรณีที่บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และภายในระยะเวลาที่กําหนดตามข้อ 4 ให้การขึ้นทะเบียนนิติบุคคลร่วมลงทุนสิ้นสุดลงและให้บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนแจ้งต่อสํานักงานภายใน 15 วันนับแต่วันที่ครบระยะเวลาที่กําหนดตามข้อ 4 ข้อ ๖ ให้บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนแจ้งการเลิกนิติบุคคลร่วมลงทุนต่อสํานักงานภายใน 15 วันนับแต่วันที่จดทะเบียนเลิกนิติบุคคลร่วมลงทุนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ข้อ ๗ ให้บรรดาประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 22/2545 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน ลงวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดแห่งประกาศนี้ จนกว่าจะได้มีประกาศ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ ๘ ในกรณีที่มีประกาศฉบับอื่นใดอ้างอิงประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 22/2545 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน ลงวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2545 ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงประกาศฉบับนี้ ข้อ ๙ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
693
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 72/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 72/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 140/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นข้อ 5/1 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 63/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน ลงวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2563 “ข้อ 5/1 เพื่อให้มีการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องต้นให้แก่สํานักงานและผู้สอบบัญชีทราบถึงพฤติการณ์อันควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนได้กระทําความผิดตามที่กําหนดในมาตรา 89/25 บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนต้องจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อทําหน้าที่ดังกล่าวและต้องติดตามการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบด้วย เว้นแต่เป็นบริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนที่มิได้มีการเก็บรักษาทรัพย์สินของลูกค้าไว้ในความครอบครอง บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนดังกล่าวอาจจัดให้มีกลไกหรือการดําเนินการอื่นใดเพื่อทดแทนการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบก็ได้ ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทหลักทรัพย์ รวมทั้งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนดังกล่าว” ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
694
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 63/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน (ฉบับประมวล)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 63/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน (ฉบับประมวล) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 140/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ในประกาศนี้ “บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุน” หมายความว่า บริษัทหลักทรัพย์ที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการเงินร่วมลงทุน “นิติบุคคลร่วมลงทุน” หมายความว่า บริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยโดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการประกอบธุรกิจเงินร่วมลงทุน “กิจการ” หมายความว่า วิสาหกิจขนาดกลางหรือวิสาหกิจขนาดย่อมที่มีมูลค่าสินทรัพย์ถาวรซึ่งไม่รวมที่ดินไม่เกิน 200 ล้านบาท และมีการจ้างแรงงานไม่เกิน 200 คน ข้อ 2 ให้บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนจัดทํารายงานดังต่อไปนี้ ตามแบบที่สํานักงาน ประกาศกําหนด และจัดส่งให้สํานักงานภายใน 5 เดือนนับแต่วันสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชี (1) รายงานการถือหุ้นของนิติบุคคลร่วมลงทุนในกิจการภายใต้การบริหารของบริษัทจัดการเงินร่วมลงทุน (2) รายงานการเพิ่มหรือลดเงินทุน และการลงทุน ของนิติบุคคลร่วมลงทุน (3) รายงานการรับรองมูลค่าสินทรัพย์ถาวรและการจ้างแรงงานของกิจการ ที่นิติบุคคลร่วมลงทุนได้ลงทุน ข้อ 3( ยกเลิก ข้อ 4 บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนจะลงทุนในหรือมีไว้ซึ่งหุ้นของกิจการใดเพื่อนิติบุคคลร่วมลงทุนหนึ่ง ๆ เกิน 1 ใน 3 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกิจการมิได้ หากนิติบุคคลร่วมลงทุนดังกล่าวมีบุคคลใดบุคคลหนึ่งถือหุ้นเกิน 1 ใน 3 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของนิติบุคคลร่วมลงทุน และในขณะเดียวกันถือหุ้นในกิจการเกิน 1 ใน 3 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกิจการนั้น ในกรณีที่ปรากฏในภายหลังว่ามีการถือหุ้นโดยบุคคลใด ๆ อันเป็นการฝ่าฝืนวรรคหนึ่งบริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนต้องดําเนินการแก้ไขให้ถูกต้องภายใน 60 วันนับแต่วันที่มีการถือหุ้นเกินอัตราส่วนดังกล่าว การนับจํานวนหุ้นที่บุคคลใดถือในนิติบุคคลร่วมลงทุนหรือในกิจการตามวรรคหนึ่งให้นับรวมจํานวนหุ้นของบุคคลที่เกี่ยวข้องตามที่สํานักงานประกาศกําหนดด้วย ข้อ 5 ในกรณีที่บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และภายในระยะเวลาที่กําหนดตามข้อ 4 ให้การขึ้นทะเบียนนิติบุคคลร่วมลงทุนสิ้นสุดลงและให้บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนแจ้งต่อสํานักงานภายใน 15 วันนับแต่วันที่ครบระยะเวลาที่กําหนดตามข้อ 4 ข้อ 5/1( เพื่อให้มีการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องต้นให้แก่สํานักงานและผู้สอบบัญชีทราบถึงพฤติการณ์อันควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนได้กระทําความผิดตามที่กําหนดในมาตรา 89/25บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนต้องจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อทําหน้าที่ดังกล่าวและต้องติดตามการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบด้วย เว้นแต่เป็นบริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนที่มิได้มีการเก็บรักษาทรัพย์สินของลูกค้าไว้ในความครอบครอง บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนดังกล่าวอาจจัดให้มีกลไกหรือการดําเนินการอื่นใดเพื่อทดแทนการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบก็ได้ ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนปฏิบัติตามข้อกําหนดในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทหลักทรัพย์ รวมทั้งประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนดังกล่าว ข้อ 6 ให้บริษัทจัดการเงินร่วมลงทุนแจ้งการเลิกนิติบุคคลร่วมลงทุนต่อสํานักงานภายใน 15 วันนับแต่วันที่จดทะเบียนเลิกนิติบุคคลร่วมลงทุนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ข้อ 7 ให้บรรดาประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 22/2545 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน ลงวันที่28 มีนาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งใช้บังคับอยู่ก่อนวันที่ประกาศนี้ใช้บังคับ ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดแห่งประกาศนี้ จนกว่าจะได้มีประกาศ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ 8 ในกรณีที่มีประกาศฉบับอื่นใดอ้างอิงประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ กน. 22/2545 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจัดการเงินร่วมลงทุน ลงวันที่28 มีนาคม พ.ศ. 2545 ให้การอ้างอิงดังกล่าวหมายถึงการอ้างอิงประกาศฉบับนี้ ข้อ 9 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
695
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 73/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าระหว่างผู้ค้าหลักทรัพย์ การให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจหลักทรัพย์และกิจการการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 73/2563 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ ประเภทการเป็นนายหน้าระหว่างผู้ค้าหลักทรัพย์ การให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจหลักทรัพย์และ กิจการการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ โดยที่ได้มีการแก้ไขกฎกระทรวงเกี่ยวกับการให้ใบอนุญาตธุรกิจหลักทรัพย์ เพื่อปรับปรุงการอ้างอิงบทอาศัยอํานาจให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 จึงเป็นการสมควรปรับปรุงบทอาศัยอํานาจในการกําหนดหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ตามพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 140/1 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2562 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ของผู้ประกอบธุรกิจประเภทการให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจหลักทรัพย์ และกิจการการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ ให้ผู้ประกอบธุรกิจปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในประกาศดังต่อไปนี้ (1) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยมาตรฐานการประกอบธุรกิจ โครงสร้างการบริหารงาน ระบบงาน และการให้บริการของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (2) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการมอบหมายให้บุคคลอื่นเป็นผู้รับดําเนินการในงานที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจ (3) ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทหลักทรัพย์ ข้อ ๒ ในการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ของผู้ประกอบธุรกิจประเภทการเป็นนายหน้าระหว่างผู้ค้าหลักทรัพย์ ให้ผู้ประกอบธุรกิจปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจัดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทหลักทรัพย์ ข้อ ๓ ให้บรรดาประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ออกตามความในกฎกระทรวงว่าด้วยการอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าระหว่างผู้ค้าหลักทรัพย์ พ.ศ. 2555 กฎกระทรวงว่าด้วยการอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการให้สินเชื่อเพื่อธุรกิจหลักทรัพย์ พ.ศ. 2555 และกฎกระทรวงว่าด้วย การอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 รวมทั้งประกาศ คําสั่ง และหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศดังกล่าวซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันก่อนที่ประกาศนี้ใช้บังคับ หรือที่ยังมีผลใช้บังคับเนื่องจากบทเฉพาะกาลของประกาศดังกล่าว ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดแห่งประกาศนี้ จนกว่าจะได้มีประกาศ แนวทาง คําสั่ง หรือหนังสือเวียน ที่ออกหรือวางแนวปฏิบัติตามประกาศนี้ใช้บังคับ ข้อ ๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
696
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทธ. 74/2563 เรื่อง การกำหนดลักษณะของกฎเกณฑ์ของศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและสำนักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้าซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ไม่ต้องขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการกำกับตลาดทุน
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทธ. 74/2563 เรื่อง การกําหนดลักษณะของกฎเกณฑ์ของศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้าและสํานักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้าซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่ม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่ไม่ต้องขอความเห็นชอบ จากคณะกรรมการกํากับตลาดทุน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 63 วรรคสาม และมาตรา 89 วรรคหนึ่ง ประกอบกับมาตรา 63 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “ศูนย์ซื้อขายสัญญา” หมายความว่า ศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า “สํานักหักบัญชีสัญญา” หมายความว่า สํานักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ได้รับใบอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า “บริษัทในกลุ่มตลาดหลักทรัพย์” หมายความว่า บริษัทที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ถือหุ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทนั้น ข้อ ๒ ให้กฎเกณฑ์ของศูนย์ซื้อขายสัญญาและสํานักหักบัญชีสัญญา ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มตลาดหลักทรัพย์ มีผลใช้บังคับได้โดยไม่ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกํากับตลาดทุน หากเป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่กําหนดไว้โดยครบถ้วนดังต่อไปนี้ (1) เป็นการกําหนดหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ของศูนย์ซื้อขายสัญญาหรือสํานักหักบัญชีสัญญา ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มตลาดหลักทรัพย์ ที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังนี้ (ก) การกําหนดหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์เพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 หรือประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติดังกล่าว (ข) การกําหนดหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ โดยยังคงสาระสําคัญของกฎเกณฑ์ที่มีผลใช้บังคับอยู่ก่อนแล้ว ในลักษณะที่เป็นการจัดหมวดหมู่หรือเนื้อหา หรือแก้ไขความขาดตกบกพร่องของกฎเกณฑ์นั้น (2) ให้ศูนย์ซื้อขายสัญญาหรือสํานักหักบัญชีสัญญา ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มตลาดหลักทรัพย์จัดส่งร่างกฎเกณฑ์ตาม (1) ต่อสํานักงาน พร้อมรายงานผลการรับฟังความคิดเห็นของร่างกฎเกณฑ์ (ถ้ามี) เป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย 10 วันทําการ ก่อนวันที่ศูนย์ซื้อขายสัญญาหรือสํานักหักบัญชีสัญญา ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มตลาดหลักทรัพย์ประสงค์จะประกาศใช้กฎเกณฑ์ดังกล่าว ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2563 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
697
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 31/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม่
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 31/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ ส่งเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม่ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 35 มาตรา 40(11) มาตรา 41(3) และ (4) มาตรา 42(10) และมาตรา 43(3) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ข้อ ๒ ในประกาศนี้ “ตราสารหนี้” หมายความว่า ตราสารหนี้ที่ออกใหม่ดังต่อไปนี้ (1) หุ้นกู้ (2) พันธบัตร “ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน” (sustainability-linked bond) หมายความว่า หุ้นกู้หรือพันธบัตรที่มีข้อตกลงและเงื่อนไขในการกําหนดอัตราดอกเบี้ยโดยอ้างอิงกับผลความสําเร็จหรือผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืนของผู้ออกตราสาร “ตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืน” หมายความว่า ปัจจัยที่วัดผลความสําเร็จหรือผลการดําเนินการของผู้ออกตราสารในการจัดการด้านความยั่งยืนในประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมหรือสังคม ซึ่งสอดคล้องกับธุรกิจของผู้ออกตราสารและสามารถวัดผลในเชิงปริมาณได้ คําว่า “ผู้ลงทุนรายใหญ่” ให้มีความหมายเช่นเดียวกับบทนิยามของคําดังกล่าวที่กําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ว่าด้วยการกําหนดบทนิยามในประกาศเกี่ยวกับการออกและเสนอขายตราสารหนี้ทุกประเภท หมวด ๑ บททั่วไป \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ส่วน ๑ ขอบเขตการใช้บังคับ \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๓ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม่ในประเทศไทย ข้อ ๔ ในการจําหน่ายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ต่อประชาชนเป็นการทั่วไปตามประกาศนี้ผู้ได้รับอนุญาตมีหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการจําหน่ายตราสารหนี้และใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ์ที่ออกใหม่ของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ด้วย ข้อ ๕ เอกสารหรือหลักฐานที่ต้องยื่นต่อสํานักงานตามที่ประกาศนี้กําหนด ไม่ว่าก่อนหรือภายหลังได้รับอนุญาต ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่สํานักงานประกาศกําหนด ส่วน ๒ อํานาจของสํานักงาน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๖ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจไม่อนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ตามคําขออนุญาตได้ (1) ผู้ขออนุญาตหรือการเสนอขายตราสารหนี้มีลักษณะหรือรูปแบบเป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะได้รับอนุญาตตามประกาศนี้ แต่มีข้อเท็จจริงซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าความมุ่งหมายหรือเนื้อหาสาระที่แท้จริง (substance) ของการเสนอขายตราสารหนี้นั้นเข้าลักษณะเป็นการหลีกเลี่ยงบทบัญญัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือประกาศนี้ (2) การเสนอขายตราสารหนี้อาจขัดต่อนโยบายสาธารณะหรือนโยบายของรัฐ (3) การเสนอขายตราสารหนี้อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือต่อตลาดทุนไทยโดยรวม (4) การเสนอขายตราสารหนี้อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุนโดยรวม หรืออาจทําให้ผู้ลงทุนโดยรวมไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องหรือเพียงพอประกอบการตัดสินใจลงทุน ข้อ ๗ ในกรณีที่เข้าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจผ่อนผันไม่นําหลักเกณฑ์ตามประกาศนี้มาใช้พิจารณาคําขออนุญาต หรือไม่นําเงื่อนไขตามประกาศนี้มาใช้บังคับกับการเสนอขายตราสารหนี้ที่ได้รับอนุญาตได้ (1) มีข้อเท็จจริงที่ชัดเจนซึ่งทําให้พิจารณาได้ว่าหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผันให้ไม่มีนัยสําคัญสําหรับการพิจารณาอนุญาตในกรณีนั้น และประโยชน์ที่จะได้ไม่คุ้มค่ากับต้นทุนในการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขดังกล่าว (2) ผู้ขออนุญาตมีข้อจํากัดตามกฎหมายอื่นที่ทําให้ไม่สามารถปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน (3) ผู้ขออนุญาตมีมาตรการอื่นที่เพียงพอ และสามารถทดแทนการปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่จะผ่อนผัน การผ่อนผันตามวรรคหนึ่งให้คํานึงถึงความเหมาะสมและความเพียงพอของข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนและมาตรการคุ้มครองผู้ลงทุนเป็นสําคัญ ทั้งนี้ สํานักงานอาจกําหนดเงื่อนไขให้ผู้ขออนุญาตต้องปฏิบัติด้วยก็ได้ ข้อ ๘ ในกรณีที่ปรากฏต่อสํานักงานภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ว่าข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ที่สํานักงานนํามาพิจารณาเพื่ออนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นปรากฏต่อสํานักงานก่อนการอนุญาต สํานักงานอาจไม่อนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้นั้น ให้สํานักงานมีอํานาจดังต่อไปนี้ (1) สั่งให้ผู้ได้รับอนุญาต กรรมการ หรือผู้บริหารของผู้ได้รับอนุญาต ชี้แจงหรือเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมภายในระยะเวลาที่กําหนด และระงับการอนุญาตให้ออกตราสารหนี้หรือให้ผู้ได้รับอนุญาตระงับการเสนอขายตราสารหนี้ไว้ก่อนจนกว่าจะได้ชี้แจงหรือแก้ไขให้ถูกต้อง และหากผู้ได้รับอนุญาต กรรมการ หรือผู้บริหารของผู้ได้รับอนุญาต ไม่สามารถชี้แจงหรือดําเนินการแก้ไขให้ถูกต้องได้ภายในระยะเวลาที่กําหนด สํานักงานอาจสั่งเพิกถอนการอนุญาตตาม (2) ได้ (2) สั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ในส่วนที่ยังไม่ได้เสนอขายหรือยังไม่มีผู้จองซื้อ ในการสั่งการตามวรรคหนึ่งให้สํานักงานคํานึงถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ประกอบการพิจารณา (1) ความร้ายแรงของข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป (2) ผลกระทบต่อผู้ลงทุนที่จองซื้อตราสารหนี้นั้น ข้อ ๙ ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานที่เป็นเหตุอันควรสงสัยดังต่อไปนี้ สํานักงานอาจสั่งมิให้การอนุญาตสําหรับการเสนอขายตราสารหนี้ในวงจํากัดที่ได้รับอนุญาตมีผล สั่งระงับการเสนอขายตราสารหนี้ หรือสั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ได้ แล้วแต่กรณี (1) บริษัทที่จะเสนอขายตราสารหนี้มีข้อบกพร่องหรือมีความไม่เหมาะสมเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเงื่อนไขภายหลังการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ หรือจะไม่สามารถปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ (2) การเสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่มีลักษณะที่อาจเข้าข่ายเป็นการหลีกเลี่ยงกฎเกณฑ์ที่ออกภายใต้กฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน (3) การเสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ลงทุนหรืออาจทําให้ผู้ลงทุนไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือผู้ลงทุนอาจไม่ได้รับข้อมูลที่มีนัยสําคัญต่อการตัดสินใจลงทุน ข้อ ๑๐ ในระหว่างอายุโครงการที่ได้รับอนุญาต หากปรากฏข้อเท็จจริงต่อสํานักงานว่าผู้ได้รับอนุญาตไม่สามารถดํารงคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์การอนุญาต ปฏิบัติผิดเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาต หรือมีการเปิดเผยข้อมูลที่มีนัยสําคัญต่อประชาชนที่ไม่ครบถ้วนถูกต้อง ไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจของผู้ลงทุน สํานักงานอาจสั่งระงับการเสนอขายตราสารหนี้ไว้ก่อน หรือสั่งเพิกถอนการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ในลักษณะโครงการได้ หมวด ๒ การเสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ ข้อ ๑๑ ในการขออนุญาต การอนุญาต และเงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติภายหลังได้รับอนุญาตเสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม่ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับข้อกําหนดตามประกาศนี้ (1) กรณีผู้ออกและเสนอขายเป็นบริษัท ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเสนอขายตราสารหนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับหุ้นกู้ตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ (2) กรณีผู้ออกและเสนอขายเป็นหน่วยงานภาครัฐไทย ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเสนอขายตราสารหนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับหุ้นกู้และพันธบัตรตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายตราสารหนี้ของหน่วยงานภาครัฐไทย (3) กรณีผู้ออกและเสนอขายเป็นกิจการตามกฎหมายไทยหรือกิจการตามกฎหมายต่างประเทศ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเสนอขายตราสารหนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับหุ้นกู้หรือพันธบัตรตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายหุ้นกู้สกุลเงินตราต่างประเทศในประเทศไทยหรือตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการเสนอขายพันธบัตรสกุลเงินตราต่างประเทศในประเทศไทยของกิจการตามกฎหมายต่างประเทศ แล้วแต่กรณี (4) กรณีผู้ออกและเสนอขายเป็นกิจการต่างประเทศ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเสนอขายตราสารหนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับหุ้นกู้และพันธบัตรตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์การอนุญาตให้กิจการต่างประเทศเสนอขายตราสารหนี้ที่ออกใหม่ซึ่งเป็นสกุลเงินบาท ข้อ ๑๒ ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่จะได้รับอนุญาต ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (1) มีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยคงที่ โดยอัตราดังกล่าวอาจเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงในลักษณะขั้นบันไดตามเงื่อนไขที่กําหนดได้ ทั้งนี้ อัตราดอกเบี้ยที่เปลี่ยนแปลงลดลงต้องไม่ส่งผลให้การชําระดอกเบี้ยงวดใดงวดหนึ่งมีอัตราเท่ากับหรือน้อยกว่าศูนย์ (2) ไม่มีข้อตกลงใด ๆ ที่ทําให้ตราสารหนี้นั้นมีลักษณะทํานองเดียวกับหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝงตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วยการขออนุญาตและการอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง เว้นแต่เป็นตราสารหนี้ที่ผู้ออกมีสิทธิในการบังคับไถ่ถอนคืนก่อนกําหนด (callable) หรือผู้ถือมีสิทธิเรียกให้ผู้ออกชําระหนี้คืนก่อนกําหนด (puttable) โดยมีการกําหนดอัตราดอกเบี้ยไว้อย่างแน่นอน และไม่มีการกําหนดเงื่อนไขการจ่ายดอกเบี้ยที่อ้างอิงกับปัจจัยอ้างอิงอื่นเพิ่มเติม (3) ในกรณีที่ประสงค์จะเสนอขายต่อประชาชนเป็นการทั่วไปหรือต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ ผู้ขออนุญาตต้องจัดให้มีผู้ประเมินภายนอกที่เป็นอิสระ (external review provider) ซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 13 เพื่อทําหน้าที่ดังนี้ (ก) ให้ความเห็นหรือรับรองเกี่ยวกับการกําหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืนที่ผู้ขออนุญาตกําหนดขึ้นและใช้เป็นปัจจัยอ้างอิงในการออกตราสาร ซึ่งต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับมาตรฐานสําหรับตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล เช่นInternational Capital Market Association Sustainability-linked Bond Principles (ICMA SLBP) เป็นต้น (ข) ให้ความเห็นหรือรับรองเกี่ยวกับผลความสําเร็จและการดําเนินการตามตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืนภายหลังการออกตราสาร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ในข้อ 14 (4) ไม่มีลักษณะเป็นตราสารที่ซับซ้อน เช่น หุ้นกู้ด้อยสิทธิ หรือหุ้นกู้ที่ครบกําหนดไถ่ถอนเมื่อมีการเลิกบริษัท (perpetual bond) เป็นต้น ความในวรรคหนึ่ง (3) มิให้นํามาใช้บังคับกับกรณีที่ผู้ขออนุญาตยื่นคําขออนุญาตในลักษณะรายโครงการ โดยประสงค์จะเสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนภายใต้โครงการดังกล่าวแต่จะมีการออกและเสนอขายในอนาคต ทั้งนี้ ผู้ขออนุญาตต้องแสดงได้ว่าจะสามารถจัดให้มีผู้ประเมินภายนอกที่เป็นอิสระเพื่อทําหน้าที่ตามหลักเกณฑ์ในวรรคหนึ่ง (3) เมื่อจะมีการออกและเสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนในแต่ละครั้ง ข้อ ๑๓ ผู้ประเมินภายนอกที่เป็นอิสระตามข้อ 12 วรรคหนึ่ง (3) และวรรคสอง ต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) มีประสบการณ์ในการประเมินตราสารหนี้ในกลุ่มความยั่งยืน เช่น ตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (green bond) ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (social bond) หรือตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (sustainability bond) เป็นต้น (2) ได้รับการรับรองจากหน่วยงานซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากลว่าสามารถให้บริการเป็นผู้ประเมินตราสารหนี้ในกลุ่มความยั่งยืน เช่น Climate Bonds Initiative (CBI) เป็นต้น ข้อ ๑๔ ภายหลังการเสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนต่อประชาชนเป็นการทั่วไปหรือต่อผู้ลงทุนรายใหญ่ ผู้ได้รับอนุญาตต้องจัดให้ผู้ประเมินภายนอกที่เป็นอิสระซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ 13 ดําเนินการให้ความเห็นหรือรับรองเกี่ยวกับผลความสําเร็จหรือผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืน ณ รอบปีประเมินผล ข้อ ๑๕ ให้ผู้ได้รับอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน รายงานข้อมูลดังต่อไปนี้ ต่อสํานักงาน และผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ (ถ้ามี) ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการที่กําหนดไว้บนเว็บไซต์ของสํานักงาน (1) ผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืน และผลการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยของตราสาร ณ รอบปีประเมินผล (2) การเปลี่ยนแปลงผู้ประเมินภายนอกที่เป็นอิสระ (ถ้ามี) ผู้มีอํานาจลงนาม - ประกาศ ณ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
698
ประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 55/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม่ (ฉบับที่ 2)
ประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 55/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ ส่งเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม่ (ฉบับที่ 2) \_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_\_ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 16/6 วรรคสอง (1) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการกํากับตลาดทุนออกประกาศไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของข้อ 2 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 31/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม่ ลงวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 2 ในประกาศนี้ “ตราสารหนี้” หมายความว่า ตราสารหนี้ที่ออกใหม่ดังต่อไปนี้ (1) หุ้นกู้ (2) พันธบัตร “ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน” (sustainability-linked bond) หมายความว่าหุ้นกู้หรือพันธบัตรที่มีข้อตกลงหรือเงื่อนไขในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่องดังต่อไปนี้ โดยอ้างอิงกับผลความสําเร็จหรือผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืนของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ (1) การปรับอัตราดอกเบี้ย (2) ภาระผูกพันในการดําเนินการใด ๆ ของผู้ออกตราสาร ซึ่งสอดรับกับเป้าหมายหรือกลยุทธ์ด้านความยั่งยืนของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ “ตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืน” หมายความว่า ปัจจัยที่วัดผลความสําเร็จหรือผลการดําเนินการของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ ในการจัดการด้านความยั่งยืนในประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมหรือสังคม ซึ่งสอดคล้องกับธุรกิจของผู้ออกตราสารหรือบริษัทในเครือ และสามารถวัดผลในเชิงปริมาณได้ “บริษัทในเครือ” หมายความว่า บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทย่อยในลําดับเดียวกัน หรือบริษัทร่วม ของผู้ออกตราสาร” ข้อ 2 ให้ยกเลิกความใน (ก) ของ (3) ในข้อ 12 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 31/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม่ ลงวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(ก) ให้ความเห็นหรือรับรองเกี่ยวกับกรอบและลักษณะการเสนอขายตราสาร(framework) ว่าเป็นไปตามมาตรฐานสําหรับตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล เช่น International Capital Market Association Sustainability-linked Bond Principles (ICMA SLBP) เป็นต้น” ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 13 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 31/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม่ ลงวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 13 ผู้ประเมินภายนอกที่เป็นอิสระตามข้อ 12 วรรคหนึ่ง (3) และวรรคสอง ต้องมีประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ หรือกลไก ในการดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) การประเมินหรือให้การรับรองที่เกี่ยวข้องกับตราสารหนี้ในกลุ่มความยั่งยืน เช่น ตราสารหนี้เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (green bond) ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (social bond) หรือตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (sustainability bond) เป็นต้น (2) การประเมินหรือให้การรับรองในด้านที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืน หรือการวัดผลความสําเร็จของตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืนซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับประเทศหรือระดับสากล” ข้อ 4 ให้ยกเลิกความใน (1) ของข้อ 15 แห่งประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ ทจ. 31/2564 เรื่อง การขออนุญาตและการอนุญาตให้เสนอขายตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืนที่ออกใหม่ ลงวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2564 และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(1) ผลความคืบหน้าหรือผลความสําเร็จตามตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืน และผลการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยหรือแนวทางการดําเนินการตามภาระผูกพัน แล้วแต่กรณี ของตราสาร ณ รอบปีประเมินผล” ข้อ 5 ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2564 (นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล) เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ประธานกรรมการ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน
699