docid
stringlengths 3
10
| title
stringlengths 1
182
| text
stringlengths 1
31.2k
|
---|---|---|
1001282#10 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Victory Cross decoration |
1001282#11 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | The Victory Cross decoration () is established in two grades: |
1001282#12 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Decoration of Honour for Distinguished Service () |
1001282#13 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Distinguished Service Decoration |
1001282#14 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | The Distinguished Service Decoration () is conferred in separate versions for each of the Army (), Navy (), Air Force () and Police Force (). The decoration is established in three classes: |
1001282#15 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | กางเขนกิตติคุณการบิน |
1001282#16 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | กางเขนกิตติคุณการบิน () is established in five classes: |
1001282#17 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | กางเขน 2 ศตวรรษ กองทัพบกชิลี
The Cross of the Army Bicentenary () was established by President of the Republic of Chile, Sebastián Piñera Echenique, in 2010 to commemorate the bicentenary of the Chilean Army (which was established on 2 December 1810). It is conferred by the Commander-in-Chief of the Army to recognise representatives of organisations that have significantly supported the endeavours of the Army. The decoration has been established in two grades:
Notable recipients of the Grand Cross of the Army Bicentenary include President Piñera and the Virgin of Carmen () at the Metropolitan Cathedral of Santiago. Notable Chilean recipients of the Cross of the Army Bicentenary include the Commander-in-Chief of the Navy, Admiral Edmundo Gonzalez, the Commander-in-Chief of the Air Force, Air Force General Jorge Rojas Avila, the Director General of the Carabineros, General Manager Gustavo González Jure, and the Director General of Investigations Police, Marcos Antonio Vásquez Meza. |
1001282#18 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | เหรียญกิตติคุณการฑูต |
1001282#19 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | The Medal of Diplomatic Merit () was established to recognise selected officials of the foreign service branch of the Chilean Ministry of Foreign Affairs, for long and meritorious service on behalf of Chile. |
1001282#20 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Medal of Functionary Merit |
1001282#21 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | The Medal of Functionary Merit () was established to recognise selected officials (functionaries) of the Management and Professional branches of the Chilean Ministry of Foreign Affairs of Chile, for long and meritorious service on behalf of Chile. |
1001282#22 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Military Works Corps Star of Honour and Merit () |
1001282#23 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Decoration for Great Military Merit of the Chilean Air Force () |
1001282#24 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Military Star () |
1001282#25 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Fiftieth Anniversary of the Chilean Air Force Commemorative Medal () |
1001282#26 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Service Medal of the Ministry of National Defense () |
1001282#27 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Service Medal of the Honourable Board of the Government () |
1001282#28 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | Mission Accomplished () |
1001282#29 | รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ชิลี | เหรียญ 18 กันยายน () |
1001313#0 | สนั่น ธรรมธิ | สนั่น ธรรมธิ เป็นนักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษด้านล้านนาคดี สังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตข้าราชการ นักการสื่อสารมวลชน บรรณาธิการ คอลัมนิสต์ วิทยากร และนักวิจัย |
1001313#1 | สนั่น ธรรมธิ | มัธยมศึกษา โรงเรียนธรรมราชศึกษา วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร เชียงใหม่ และโรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ กรุงเทพมหานคร., ชั้นอุดมศึกษา ปริญญาตรีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาโท คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
1001313#2 | สนั่น ธรรมธิ | ขณะที่เป็นนักศึกษาในคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้สมัครเป็นสมาชิกชมรมนาฏศิลป์และดนตรีไทย สโมสรนักศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยฝึกเล่นดนตรีพื้นเมือง และได้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าวงดนตรีพื้นบ้านล้านนาที่ชื่อว่าวง “ไกลบ้าน” ซึ่งเป็นการรวมตัวของนักศึกษาที่มาจากส่วนต่างๆในภาคเหนือ |
1001313#3 | สนั่น ธรรมธิ | ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้มีงานฉลองครบรอบ ๒๐ ปีของการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ได้เชิญ พ่อครูคำ กาไวย์ และพ่อครูวิเทพ กันธิมา ไปถ่ายทอดวิชาให้แก่นักศึกษาชมรมนาฏศิลป์และดนตรีไทย จึงได้มีโอกาสได้เรียนรู้เพิ่มเติมในด้านศิลปะพื้นบ้านนั้นๆ เมื่องานแสดงผ่านไปจึงมีความคิดว่าศิลปะการแสดงและเพลงพื้นบ้านล้านนาในภาคเหนือคงไม่มีเฉพาะที่ได้เรียนมาเท่านี้ คงยังมีส่วนที่ไม่ได้เผยแพร่อยู่อีกเป็นจำนวนมาก จึงได้ชักชวนพรรคพวกเสนอขออนุมัติโครงการสำรวจศิลปะพื้นบ้านภาคฤดูร้อนซึ่งได้รับอนุมัติและออกสำรวจได้เฉพาะที่จังหวัดเชียงรายเพราะมีเวลาจำกัด ถึงกระนั้นก็ตาม คณะนักศึกษาก็ได้เก็บข้อมูลจากหลายท้องที่ |
1001313#4 | สนั่น ธรรมธิ | ในปีต่อมา กลุ่มนักศึกษาต่างมีความคิดตรงกันว่าศิลปะพื้นบ้านล้านนายังมีอีกมากมายและไม่ได้หมายถึงการแสดงและดนตรีเท่านั้น หากแต่ยังมีประวัติศาสตร์ ประเพณี และวัฒนธรรม ภาษาและวิถีชีวิตที่ต้องศึกษาโดยผ่านกระบวนการทางวิชาการอย่างกว้างไกลและถ่องแท้ ลำพังจะมาทำกิจกรรมเฉพาะเล่นดนตรีแล้วไปแสดงตามงานต่างๆนั้น ดูจะเป็นกิจกรรมที่คับแคบและเกิดประโยชน์น้อยไป จึงเห็นสมควรจัดตั้งชมรมขึ้นใหม่เพื่อขยายขอบเขตของกิจกรรมให้กว้างออกและทำให้เป็นศูนย์กลางของการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมล้านนา ดังนั้นกลุ่มนักศึกษาจึงทำเรื่องขออนุมัติจากมหาวิทยาลัยจนได้รับการอนุมัติให้จัดตั้งชมรมใหม่ขึ้นคือ “ชมรมพื้นบ้านล้านนา” สังกัดสโมสรนักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
1001313#5 | สนั่น ธรรมธิ | หลังจากนั้นจึงก่อตั้ง “ชมรมพื้นบ้านล้านนา” กลุ่มนักศึกษาก็จะแยกย้ายกันออกไปเรียนกับพ่อครูแม่ครูตามพื้นที่ต่างๆ ในช่วงปิดเทอม และนำองค์ความรู้กลับมาแลกเปลี่ยนเพื่อนสมาชิกด้วยกัน เช่น งานแรกได้ออกสำรวจท้องที่อำเภอสะเมิง ได้พบกับศิลปะการฟ้อนพื้นบ้านอย่างหนึ่ง “ฟ้อนเมืองก๋ายลาย” จึงได้นำมาเผยแพร่ ต่อมาฝึกฝนสมาชิกชมรมให้มีความชำนาญแล้วทดสอบฝีมือโดยการออกแข่งขันในงานประกวดการเล่นดนตรีตามงานต่างๆที่มีโอกาส และในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ นับเป็นครั้งแรกที่วงรุ่นใหม่จากกลุ่มนักศึกษา มช ได้แข่งขันกับวงดนตรีที่มากประสบการณ์และชาญสนาม ผลปรากฏว่าได้รับรางวัลชนะเลิศมาโดยตลอด ซึ่งการยิ่งชนะมากครั้งยิ่งทำให้เกิดความฮึกเหิมมากยิ่งขึ้น จนสามารถเอาชนะวง “ซอมพอหลวง” ซึ่งเป็นวงที่แข็งแกร่งที่สุดมาแต่อดีต วงนี้มีเจ้า “อุดม ณ เชียงใหม่” เป็นหัวหน้าวง ซึ่งท่านเล่นสะล้อเป็นเครื่องนำวง ด้วยฝีมือที่เป็นเลิศจึงได้รับการบันทึกเทปจำหน่ายเผยแพร่ในนาม “เอื้องล้านนา” อันลือลั่นจนเป็นที่รู้จักกว้างขวางมาจนถึงปัจจุบัน จากนั้นได้เสนอโครงการออกค่าย “วัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชีวิต”เพื่อให้สมาชิกได้มีโอกาสสัมผัสกับวัฒนธรรมพื้นบ้านและบำเพ็ญประโยชน์ไปด้วย โครงการนี้ได้จัดให้มีต่อเนื่องมาทุกปีการศึกษา |
1001313#6 | สนั่น ธรรมธิ | การค้นพบวิธีการอ่านเขียนตัวอักษร “ยุตตสาระ” ซึ่งเคยตายไปจากล้านนาแล้ว ได้ถูกรื้อฟื้น ซึ่งเป็นการนำตัวเลขมาเขียนแทนตัวอักษร และดัดแปลงรูปลักษณ์แปลกตา จนอาจยากที่จะถอดความหมายที่แท้จริงของข้อความ |
1001313#7 | สนั่น ธรรมธิ | บรรณาธิการจัดทำหนังสือ “วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา” ตามมติเห็นชอบของคณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ |
1001313#8 | สนั่น ธรรมธิ | บรรณาธิการ วารสารส้มป่อย สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ |
1001313#9 | สนั่น ธรรมธิ | บรรณาธิการ วารสารตัวเมือง ดอกคะยอม มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ |
1001313#10 | สนั่น ธรรมธิ | กองบรรณาธิการ สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ โดยการสนับสนุนของมูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ |
1001313#11 | สนั่น ธรรมธิ | กองบรรณาธิการ วารสารร่มพะยอม สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
1001313#12 | สนั่น ธรรมธิ | คอลัมนิสต์ "มรดกล้านนา" หนังสือพิมพ์ไทยนิวส์รายวัน |
1001313#13 | สนั่น ธรรมธิ | คอลัมนิสต์ "ลานคำ" หนังสือพิมพ์ไทยนิวส์รายวัน |
1001313#14 | สนั่น ธรรมธิ | คอลัมนิสต์ "ถ้อยคำสำนวนล้านนา" หนังสือพิมพ์ไทยนิวส์รายวัน |
1001313#15 | สนั่น ธรรมธิ | คอลัมนิสต์ “นาฏดุริยการล้านนา” หนังสือพิมพ์ไทยนิวส์รายวัน |
1001313#16 | สนั่น ธรรมธิ | คอลัมนิสต์ “สุภาษิตคำร่าว” หนังสือพิมพ์พลเมืองเหนือ |
1001313#17 | สนั่น ธรรมธิ | คอลัมนิสต์ “ล้านนา-คำเมือง” หนังสือพิมพ์มติชนสุดสัปดาห์ |
1001313#18 | สนั่น ธรรมธิ | บทความสารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ |
1001313#19 | สนั่น ธรรมธิ | บทความหนังสือพิมพ์สยามรัฐ |
1001313#20 | สนั่น ธรรมธิ | บทความในวารสารส้มป่อย สภาวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ |
1001313#21 | สนั่น ธรรมธิ | บทความในวารสารทองกวาว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
1001313#22 | สนั่น ธรรมธิ | บทความในวารสารร่มพะยอม สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
1001313#23 | สนั่น ธรรมธิ | บทความในวารสารปัญญา มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนาเชียงใหม่ |
1001313#24 | สนั่น ธรรมธิ | บทความใน facebook page “ล้านนาสาระ” |
1001313#25 | สนั่น ธรรมธิ | บทความใน facebook page “มรดกล้านนา สนั่น ธรรมธิ” |
1001313#26 | สนั่น ธรรมธิ | บทความใน facebook page “Sanan thammathi fanpage” |
1001313#27 | สนั่น ธรรมธิ | บทความใน facebook profile "สนั่น ธรรมธิ” |
1001313#28 | สนั่น ธรรมธิ | รายการ เล่าเรื่องล้านนา สถานี โทรทัศน์ NBT |
1001313#29 | สนั่น ธรรมธิ | รายการ มองเหมืองเหนือ สถานี โทรทัศน์ NBT |
1001313#30 | สนั่น ธรรมธิ | รายการ พันแสงรุ้ง สถานีโทรทัศน์ ไทยพีบีเอส |
1001313#31 | สนั่น ธรรมธิ | จัดรายการวิทยุ “มรดกล้านนา” สถานีเสียงสื่อสารมวลชน คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
1001313#32 | สนั่น ธรรมธิ | จัดรายการวิทยุ “ฮีตเก่าฮอยหลัง” สถานีวิทยุเสียงสามยอด FM ๑๐๕.๗๕ กองบังคับการปราบปราม สำนักงานตำรวจแห่งชาติ |
1001313#33 | สนั่น ธรรมธิ | จัดรายการวิทยุ “ล้านนาสาระ” กองทัพภาคที่ ๓ คลื่น ๑๐๗.๕ |
1001313#34 | สนั่น ธรรมธิ | จัดรายการวิทยุ “สวัสดีคนเมือง” กองทัพอากาศ คลื่น ๑๐๒.๕ |
1001313#35 | สนั่น ธรรมธิ | จัดรายการวิทยุ “รอบเวียงเชียงใหม่” สถานีวิทยุแห่งประเทศไทย คลื่น ๙๓.๒ |
1001313#36 | สนั่น ธรรมธิ | โคลงนพบุรีกำสรวล |
1001313#37 | สนั่น ธรรมธิ | อักษรพิเศษในภาษาล้านนา |
1001313#38 | สนั่น ธรรมธิ | ฟ้อนเชิง : อิทธิพลที่มีต่อฟ้อนล้านนา |
1001313#39 | สนั่น ธรรมธิ | มื้อจันทร์ – วันดี ของดีแห่งโบราณาจารย์ ล้านนา |
1001313#40 | สนั่น ธรรมธิ | โคลงนิราศระยะทางนครเชียงใหม่ |
1001313#41 | สนั่น ธรรมธิ | ยุตตสาระ หนึ่งในอักษรพิเศษในภาษาล้านนา |
1001313#42 | สนั่น ธรรมธิ | การทำนาโบราณล้านนา |
1001313#43 | สนั่น ธรรมธิ | ฟ้อนเชิง |
1001313#44 | สนั่น ธรรมธิ | รีตเก่า รอยหลัง |
1001313#45 | สนั่น ธรรมธิ | สุภาษิตคำคร่าว |
1001313#46 | สนั่น ธรรมธิ | โคลงดอยสุเทพ |
1001313#47 | สนั่น ธรรมธิ | โชค ลาง ของขลัง อารักษ์ |
1001313#48 | สนั่น ธรรมธิ | นาฏดุริยการล้านนา |
1001313#49 | สนั่น ธรรมธิ | พรหมชาติล้านนา |
1001313#50 | สนั่น ธรรมธิ | พิธีกรรมและความเชื่อ การปลูกเรือนล้านนา |
1001313#51 | สนั่น ธรรมธิ | สารัตถะล้านนา |
1001313#52 | สนั่น ธรรมธิ | การวิเคราะห์งาน แนวทางการพัฒนาคุณภาพงานบริการวิชาการด้านล้านนาคดีแก่สังคม |
1001313#53 | สนั่น ธรรมธิ | กำพร้าบัวทอง |
1001313#54 | สนั่น ธรรมธิ | คู่มือการปฏิบัติงานบริการวิชาการด้านล้านนาคดีแก่สังคม |
1001313#55 | สนั่น ธรรมธิ | มื้อจันทร์ – วันดี |
1001313#56 | สนั่น ธรรมธิ | โคลงเมืองเหนือ |
1001313#57 | สนั่น ธรรมธิ | ไม้เมืองเหนือ ความเชื่อโบราณ |
1001313#58 | สนั่น ธรรมธิ | โคลงร้อยกลอน |
1001313#59 | สนั่น ธรรมธิ | ฉันท์สัตตมหาฐาน |
1001313#60 | สนั่น ธรรมธิ | ปีใหม่ล้านนา |
1001313#61 | สนั่น ธรรมธิ | ร้อยสาระสรรพล้านนาคดี เล่ม ๑ |
1001313#62 | สนั่น ธรรมธิ | ร้อยสาระสรรพล้านนาคดี เล่ม ๒ |
1001313#63 | สนั่น ธรรมธิ | สัตว์เมืองเหนือ ความเชื่อโบราณ |
1001313#64 | สนั่น ธรรมธิ | คร่าวสร้อยระมิงค์เมือง |
1001313#65 | สนั่น ธรรมธิ | โคลงศาลาใจ |
1001313#66 | สนั่น ธรรมธิ | ประเพณี พิธีกรรม การทำนาโบราณล้านนา |
1001313#67 | สนั่น ธรรมธิ | ประเพณีสำคัญล้านนา |
1001313#68 | สนั่น ธรรมธิ | ร้อยสาระสรรพล้านนาคดี เล่ม ๓ |
1001313#69 | สนั่น ธรรมธิ | ร้อยสาระสรรพล้านนาคดี เล่ม ๔ |
1001313#70 | สนั่น ธรรมธิ | กินอ้อผะหญา |
1001313#71 | สนั่น ธรรมธิ | ตำราหมอดูล้านนา |
1001313#72 | สนั่น ธรรมธิ | ล้านนาพฤกษาคดี |
1001313#73 | สนั่น ธรรมธิ | ร้อยสาระสรรพล้านนาคดี เล่ม ๕ |
1001313#74 | สนั่น ธรรมธิ | ตำราการสร้าง พระพุทธรูปล้านนา |
1001313#75 | สนั่น ธรรมธิ | ผีในความเชื่อล้านนา |
1001313#76 | สนั่น ธรรมธิ | ร้อยสาระสรรพล้านนาคดี เล่ม ๕ |
1001313#77 | สนั่น ธรรมธิ | ถ้อยคำสำนวนล้านนา เล่ม ๑ |
1001313#78 | สนั่น ธรรมธิ | ถ้อยคำสำนวนล้านนา เล่ม ๒ |
1001313#79 | สนั่น ธรรมธิ | ดอกไม้ล้านนา : ศรัทธาและความหมาย |