Book
int64
1
45
Page
int64
1
842
LineNumber
int64
1
54
Text
stringlengths
1
133
1
1
1
พระวินัยปิฎก
1
1
2
เล่ม ๑
1
1
3
มหาวิภังค์ ปฐมภาค
1
1
4
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
1
1
5
เวรัญชกัณฑ์
1
1
6
เรื่องเวรัญชพราหมณ์
1
1
7
[๑] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ควงไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์
1
1
8
สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป เวรัญชพราหมณ์
1
1
9
ได้สดับข่าวถนัดแน่ว่า ท่านผู้เจริญ พระสมณะโคดมศากยบุตร ทรงผนวชจากศากยตระกูล
1
1
10
ประทับอยู่ ณ บริเวณต้นไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์สิงสถิต เขตเมืองเวรัญชา พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์
1
1
11
หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป ก็แลพระกิตติศัพท์อันงามของท่านพระโคดมพระองค์นั้น ขจรไปแล้ว
1
1
12
อย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคองค์นั้น ทรงเป็นพระอรหันต์แม้เพราะเหตุนี้ ทรงตรัสรู้เองโดยชอบ
1
1
13
แม้เพราะเหตุนี้ ทรงบรรลุวิชชาและจรณะแม้เพราะเหตุนี้ เสด็จไปดีแม้เพราะเหตุนี้ ทรงทราบ
1
1
14
โลกแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่าแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็น
1
1
15
ศาสดาของเทพและมนุษย์ทั้งหลายแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพุทธะแม้เพราะเหตุนี้ ทรงเป็นพระ
1
1
16
ผู้มีพระภาคแม้เพราะเหตุนี้ พระองค์ทรงทำโลกนี้พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลกให้แจ้งชัด
1
1
17
ด้วยพระปัญญาอันยิ่งของพระองค์เอง แล้วทรงสอนหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะพราหมณ์ เทพ
1
1
18
และมนุษย์ ให้รู้ ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศ
1
1
19
พรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ์บริสุทธิ์ อนึ่ง การเห็นพระอรหันต์ทั้งหลายเห็น
1
1
20
ปานนั้น เป็นความดี.
1
2
1
เวรัญชพราหมณ์กล่าวตู่พระพุทธเจ้า
1
2
2
[๒] หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์ได้ไปในพุทธสำนัก ครั้นถึงแล้วได้ทูลปราศรัยกับ
1
2
3
พระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็นที่บันเทิงเป็นที่ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ
1
2
4
ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เวรัญชพราหมณ์นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้ทูลคำนี้แด่พระผู้มีพระภาค
1
2
5
ว่า ท่านพระโคดม ข้าพเจ้าได้ทราบมาว่า พระสมณะโคดม ไม่ไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่
1
2
6
ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะ ข้อที่ข้าพเจ้าทราบมานี้
1
2
7
นั้นเป็นเช่นนั้นจริง อันการที่ท่านพระโคดมไม่ไหว้ ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ผู้
1
2
8
ล่วงกาล ผ่านวัยมาโดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะนี้นั้น ไม่สมควรเลย.
1
2
9
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรพราหมณ์ ในโลก ทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ใน
1
2
10
หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณะ พราหมณ์ เทพ และมนุษย์ เราไม่เล็งเห็นบุคคลที่เราควรไหว้ ควร
1
2
11
ลุกรับ หรือควรเชื้อเชิญด้วยอาสนะ เพราะว่า ตถาคตพึงไหว้ พึงลุกรับ หรือพึงเชื้อเชิญ
1
2
12
บุคคลใดด้วยอาสนะ แม้ศีรษะของบุคคลนั้นก็จะพึงขาดตกไป.
1
2
13
ว. ท่านพระโคดมมีปกติไม่ไยดี.
1
2
14
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมมีปกติไม่ไยดี
1
2
15
ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะความไยดีในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคต
1
2
16
ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
1
2
17
ต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมมีปกติไม่ไยดี ดังนี้ชื่อว่า
1
2
18
กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
1
2
19
ว. ท่านพระโคดมไม่มีสมบัติ.
1
2
20
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่มีสมบัติ ดังนี้
1
2
21
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะสมบัติ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ เหล่านั้น ตถาคตละได้แล้ว
1
2
22
ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็น
1
2
23
ธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่มีสมบัติ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่
1
2
24
ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
1
2
25
ว. ท่านพระโคดมกล่าวการไม่ทำ.
1
2
26
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการไม่ทำ
1
2
27
ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวการไม่ทำกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรากล่าวการ
1
3
1
ไม่ทำสิ่งที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวการ
1
3
2
ไม่ทำ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
1
3
3
ว. ท่านพระโคดมกล่าวความขาดสูญ.
1
3
4
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมกล่าวความขาดสูญ
1
3
5
ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวความขาดสูญแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ เรากล่าวความ
1
3
6
ขาดสูญแห่งสภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดม
1
3
7
กล่าวความขาดสูญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
1
3
8
ว. ท่านพระโคดมช่างรังเกียจ.
1
3
9
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างรังเกียจ ดังนี้
1
3
10
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรารังเกียจกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรารังเกียจความถึงพร้อมแห่ง
1
3
11
สภาพที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างรังเกียจ
1
3
12
ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
1
3
13
ว. ท่านพระโคดมช่างกำจัด.
1
3
14
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างกำจัด ดังนี้
1
3
15
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำจัด ราคะ โทสะ โมหะ แสดงธรรมเพื่อกำจัดสภาพ
1
3
16
ที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่างนี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างกำจัด ดังนี้ ชื่อว่า
1
3
17
กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
1
3
18
ว. ท่านพระโคดมช่างเผาผลาญ.
1
3
19
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ ดังนี้
1
3
20
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะเรากล่าวธรรมที่เป็นบาปอกุศล คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่า
1
3
21
เป็นธรรมที่ควรเผาผลาญ ธรรมที่เป็นบาปอกุศลซึ่งควรเผาผลาญ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดราก
1
3
22
ขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา
1
3
23
เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนช่างเผาผลาญ พราหมณ์ ธรรมทั้งหลายที่เป็นบาปอกุศล ซึ่งควรเผาผลาญ
1
3
24
ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง
1
3
25
มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมช่างเผาผลาญ
1
3
26
ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
1
3
27
ว. ท่านพระโคดมไม่ผุดเกิด.
1
4
1
ภ. มีอยู่จริงๆ พราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่ผุดเกิด ดังนี้
1
4
2
ชื่อว่ากล่าวถูก เพราะการนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดราก
1
4
3
ขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา
1
4
4
เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคนไม่ผุดเกิด พราหมณ์ การนอนในครรภ์ต่อไป การเกิดในภพใหม่ ตถาคต
1
4
5
ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มีในภายหลัง มีไม่เกิดอีก
1
4
6
ต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณะโคดมไม่ผุดเกิด ดังนี้ ชื่อว่า
1
4
7
กล่าวถูก แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งกล่าว.
1
4
8
ทรงอุปมาด้วยลูกไก่
1
4
9
[๓] ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนฟองไก่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ ๑๒ ฟอง ฟองไก่
1
4
10
เหล่านั้น อันแม่ไก่พึงกกดีแล้ว อบดีแล้ว ฟักดีแล้ว บรรดาลูกไก่เหล่านั้น ลูกไก่ตัวใดทำลาย
1
4
11
กะเปาะฟอง ด้วยปลายเล็บเท้า หรือด้วยจะงอยปาก ออกมาได้โดยสวัสดีก่อนกว่าเขา ลูกไก่
1
4
12
ตัวนั้นควรเรียกว่ากระไร จะเรียกว่าพี่หรือน้อง.
1
4
13
ว. ท่านพระโคดม ควรเรียกว่าพี่ เพราะมันแก่กว่าเขา.
1
4
14
ทรงแสดงฌาน ๔ และวิชชา ๓
1
4
15
ภ. เราก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง
1
4
16
อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้
1
4
17
ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก
1
4
18
เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำรงมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่
1
4
19
กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง.
1
4
20
ปฐมฌาน
1
4
21
เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุปฐมฌาน มีวิตก
1
4
22
มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่.
1
4
23
ทุติยฌาน
1
4
24
เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก
1
4
25
ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิอยู่.
1
5
1
ตติยฌาน

Multi-File CSV Dataset

คำอธิบาย

พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับสยามรัฏฐ จำนวน 45 เล่ม

ชุดข้อมูลนี้ประกอบด้วยไฟล์ CSV หลายไฟล์

  • 01/010001.csv: เล่ม 1 หน้า 1
  • 01/010002.csv: เล่ม 1 หน้า 2
  • ...
  • 02/020001.csv: เล่ม 2 หน้า 1

คำอธิบายของแต่ละเล่ม

  • เล่ม 1 (754 หน้า): พระวินัยปิฎก เล่ม ๑ มหาวิภังค์ ปฐมภาค
  • เล่ม 2 (717 หน้า): พระวินัยปิฎก เล่ม ๒ มหาวิภังค์ ทุติภาค
  • เล่ม 3 (328 หน้า): พระวินัยปิฎก เล่ม ๓ ภิกขุณี วิภังค์
  • เล่ม 4 (304 หน้า): พระวินัยปิฎก เล่ม ๔ มหาวรรคภาค ๑
  • เล่ม 5 (278 หน้า): พระวินัยปิฎก เล่ม ๕ มหาวรรคภาค ๒
  • เล่ม 6 (328 หน้า): พระวินัยปิฎก เล่ม ๖ จุลวรรคภาค ๑
  • เล่ม 7 (279 หน้า): พระวินัยปิฎก เล่ม ๗ จุลวรรคภาค ๒
  • เล่ม 8 (517 หน้า): พระวินัยปิฎก เล่ม ๘ ปริวาร
  • เล่ม 9 (383 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑ ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
  • เล่ม 10 (261 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค
  • เล่ม 11 (288 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๓ ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค
  • เล่ม 12 (430 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
  • เล่ม 13 (518 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์
  • เล่ม 14 (413 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์
  • เล่ม 15 (289 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๗ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
  • เล่ม 16 (288 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๘ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค
  • เล่ม 17 (310 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๙ สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
  • เล่ม 18 (402 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๐ สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
  • เล่ม 19 (469 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
  • เล่ม 20 (290 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๒ อังคุตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาท
  • เล่ม 21 (240 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๓ อังคุตรนิกาย จตุกกนิบาต
  • เล่ม 22 (407 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๔ อังคุตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
  • เล่ม 23 (379 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๕ อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
  • เล่ม 24 (333 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๖ อังคุตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต
  • เล่ม 25 (418 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ-ธรรมบท-อุทาน-อิตอวุตตก-สุตตนิบาต
  • เล่ม 26 (447 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๘ ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถระ-เถรีคาถา
  • เล่ม 27 (462 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๑๙ ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
  • เล่ม 28 (318 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๐ ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒
  • เล่ม 29 (494 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ ขุททกนิกาย มหานิทเทส
  • เล่ม 30 (331 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๒ ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
  • เล่ม 31 (364 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๓ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค
  • เล่ม 32 (428 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๔ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑
  • เล่ม 33 (408 หน้า): พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๕ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ พุทธวงศ์-จริยาปิฎก
  • เล่ม 34 (339 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๑ ธรรมสังคณีปกรณ์
  • เล่ม 35 (532 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๒ วิภังคปกรณ์
  • เล่ม 36 (188 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๓ ธาตุกถา-ปุคคลปัญญัติปกรณ์
  • เล่ม 37 (842 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๔ กถาวัตถปกรณ์
  • เล่ม 38 (731 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๕ ยมกปกรณ์ ภาค ๑
  • เล่ม 39 (525 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๖ ยมกปกรณ์ ภาค ๒
  • เล่ม 40 (818 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
  • เล่ม 41 (674 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๘ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒
  • เล่ม 42 (466 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๙ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๓
  • เล่ม 43 (574 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๑๐ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
  • เล่ม 44 (659 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๑๑ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๕
  • เล่ม 45 (474 หน้า): พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๑๒ ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๖

ตัวอย่างการใช้งาน

from datasets import load_dataset

# Specify the data files
data_files = {
    "010001": "01/010001.csv",
    "010002": "01/010002.csv"
}
dataset = load_dataset("uisp/tripitaka-siamrath", data_files=data_files)

print("Keys in loaded dataset:", dataset.keys())  # Should show keys for splits, like {'010001', '010002'}

# Convert a split to pandas for further processing
df_010001 = dataset['010001'].to_pandas()
print(df_010001.head())

df_010002 = dataset['010002'].to_pandas()
print(df_010002.head())

ตัวอย่างผลลัพธ์

   Book  Page  LineNumber                                               Text
0     1     1           1                                       พระวินัยปิฎก
1     1     1           2                                             เล่ม ๑
2     1     1           3                                  มหาวิภังค์ ปฐมภาค
3     1     1           4  ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ...
4     1     1           5                                        เวรัญชกัณฑ์
   Book  Page  LineNumber                                               Text
0     1     2           1                   เวรัญชพราหมณ์กล่าวตู่พระพุทธเจ้า
1     1     2           2  [๒] หลังจากนั้น เวรัญชพราหมณ์ได้ไปในพุทธสำนัก ...
2     1     2           3  พระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการทูลปราศรัยพอให้เป็น...
3     1     2           4  ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เวรัญชพราหมณ์นั่ง ณ ที่ควร...
4     1     2           5  ว่า ท่านพระโคดม ข้าพเจ้าได้ทราบมาว่า พระสมณะโค...

ขอขอบคุณ

http://www.learntripitaka.com/

สพพทานํ ธมมทานํ ชินาติ การให้ธรรมชนะการให้ทั้งปวง

Downloads last month
2,138